1 / 52

ผลการดำเนินงานวัณโรคปี 2552 โรงพยาบาลอุดรธานี นางสาวช่อกมล รัตนสุรังค์

ผลการดำเนินงานวัณโรคปี 2552 โรงพยาบาลอุดรธานี นางสาวช่อกมล รัตนสุรังค์. Case Finding Activities ต . ค . 51 – ก.ค. 52. Case notification of PTB New SS positive. Case notification of PTB SS positive 1 ตุลาคม 2551 – 30 มิถุนายน 2552. ผลงาน TB/HIV ต.ค. 51 – พ.ค. 5 2.

taline
Télécharger la présentation

ผลการดำเนินงานวัณโรคปี 2552 โรงพยาบาลอุดรธานี นางสาวช่อกมล รัตนสุรังค์

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. ผลการดำเนินงานวัณโรคปี 2552 โรงพยาบาลอุดรธานี นางสาวช่อกมล รัตนสุรังค์

  2. Case Finding Activities ต.ค. 51 – ก.ค. 52

  3. Case notification of PTB New SS positive

  4. Case notification of PTB SS positive1ตุลาคม 2551 – 30 มิถุนายน 2552

  5. ผลงาน TB/HIV ต.ค.51 – พ.ค. 52

  6. Treatment outcomes of new smear positive TB patients ต.ค. 50 – ธ.ค.50

  7. Treatment outcomes of new smear positive TB patients ม.ค. 51– มี.ค.51

  8. Treatment outcomes of new smear positive TB patients เม.ย. 51– มิ.ย.51

  9. Case notification ผู้ป่วยวัณโรคดื้อยา ปี 2552 ที่รักษาด้วยระบบยา CAT 4

  10. นโยบายการเร่งรัดงานวัณโรคของไทยนโยบายการเร่งรัดงานวัณโรคของไทย นายแพทย์ปราชญ์ บุญยวงศ์วิโรจน์ปลัดกระทรวงสาธารณสุข

  11. นโยบายการเร่งรัดงานวัณโรคของไทยนโยบายการเร่งรัดงานวัณโรคของไทย ประเด็นที่ 1 การกำหนดผู้รับผิดชอบที่ชัดเจน ประเด็นที่ 2 การรับผู้ป่วยวัณโรคปอดระยะแพร่เชื้อรายใหม่ ไว้ รักษาเป็นผู้ป่วยใน ประเด็นที่ 3 การพัฒนาระบบการให้บริการผู้ป่วยวัณโรค ประเด็นที่ 4 การค้นหาผู้ป่วยวัณโรคเชิงรุกในกลุ่มเสี่ยง ประเด็นที่ 5 การรณรงค์ประชาสัมพันธ์ให้ประชาชนทั่วไปรู้เรื่องวัณ โรคและผู้มีอาการสงสัยมาตรวจวินิจฉัย รวมทั้งความ ร่วมมือในการรักษา

  12. นโยบายการเร่งรัดงานวัณโรคนโยบายการเร่งรัดงานวัณโรค ประเด็นที่ 1 การกำหนดผู้รับผิดชอบที่ชัดเจน โรงพยาบาลอุดรธานีจัดให้มี Mr. TB เป็นผู้รับผิดชอบเฉพาะงานวัณโรคเพื่ออำนวยการกำกับติดตามการดำเนินงานวัณโรคของโรงพยาบาลอุดรธานี ตามแนวทางการดำเนินงานวัณโรคแห่งชาติ ตามคำสั่งเลขที่ 814/2551 ลว. 29 กันยายน 2551 แต่งตั้งให้ • Mr. TB : นพ. เกรียงศักดิ์ เกษมสุพัฒน์ • Hospital TB Co-ordinator : นางสาวช่อกมล รัตนสุรังค์

  13. นโยบายการเร่งรัดงานวัณโรค (ต่อ) โรงพยาบาลอุดรธานีมีคำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการพัฒนาคุณภาพการ ดูแลรักษาผู้ป่วยวัณโรคและโรคเอดส์ คำสั่งเลขที่ 814/2551 ลว. 29 กันยายน 2551 ประกอบไปด้วย ประธาน :นายแพทย์เกรียงศักดิ์ เกษมสุพัฒน์ หัวหน้าภาคอายุรกรรม กรรมการ : แพทย์ พยาบาล เภสัชกร นักเทคนิกการแพทย์ และ เจ้าหน้าที่อื่นๆจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง

  14. คณะกรรมการพัฒนาคุณภาพการดูแลรักษาผู้ป่วยวัณโรคและโรคเอดส์คณะกรรมการพัฒนาคุณภาพการดูแลรักษาผู้ป่วยวัณโรคและโรคเอดส์ กำหนดให้มีการประชุม 1 ครั้ง/เดือนเพื่อกำกับดูแล ประสาน และจัดระบบบริการวัณโรคและการประเมินผลการดำเนินงานให้เป็นไปตามมาตรฐานสากลการดูแลรักษาวัณโรค มีการประชุมทุกเดือน

  15. จากการประชุมของคณะกรรมการพัฒนาคุณภาพการดูแลรักษาผู้ป่วยวัณโรคและโรคเอดส์จากการประชุมของคณะกรรมการพัฒนาคุณภาพการดูแลรักษาผู้ป่วยวัณโรคและโรคเอดส์ ได้กำหนดแผนที่ยุทธศาสตร์ของการดำเนินงานวัณโรค โดยการพัฒนาคุณภาพการดำเนินงานนั้นมีเป้าหมายให้ประชาชนที่ป่วยด้วยวัณโรคได้รับการตรวจรักษาอย่างรวดเร็วตามสูตรยามาตรฐานของ NTP และชุมชนมีส่วนร่วมในการป้องกันวัณโรค

  16. นโยบายการเร่งรัดงานวัณโรค (ต่อ) ประเด็นที่ 2 การรับผู้ป่วยวัณโรคปอดระยะแพร่เชื้อรายใหม่ ไว้ รักษาเป็นผู้ป่วยใน • จะรับไว้เป็นผู้ป่วยในเมื่อมี Medical indication ทุกราย มีห้องแยกโรค 4 ห้อง

  17. นโยบายการเร่งรัดงานวัณโรค (ต่อ) • ผู้ป่วยวัณโรคที่ไม่มี Medical indication และปฏิเสธการ admit จะใช้กลวิธี Admission@home โดยทีมดูแลออกดูแลระบบ Dots ผู้ป่วย M+ ทุกรายวันเว้นวัน ในระยะ 2 สัปดาห์แรก พร้อมกับค้นหาผู้สัมผัสร่วมบ้าน

  18. นโยบายการเร่งรัดงานวัณโรค (ต่อ) Admission@home กิจกรรม 1. ประชุมเครือข่ายเจ้าหน้าที่สาธารณสุขจากสถานีอนามัยและศูนย์สุขภาพชุมชน รวม 33 แห่ง เพื่อชี้แจงนโยบายและแนวทางการดำเนินงาน( 9 ธ.ค.51)

  19. นโยบายการเร่งรัดงานวัณโรค (ต่อ) Admission@home กิจกรรม 2. ติดตามเยี่ยมบ้านผู้ป่วยวัณโรคโดย ซักถามอาการวัณโรค อาการข้างเคียงของยา และ แนะนำการปฏิบัติตนเมื่อเกิดอาการแพ้ยา ให้สุขศึกษาเรื่องโรค และการรับประทานยาที่ ถูกต้อง และส่งต่อเพื่อพบแพทย์ในรายที่มีปัญหาการแพ้ยา

  20. นโยบายการเร่งรัดงานวัณโรค (ต่อ) Admission@home กิจกรรม 2. ติดตามเยี่ยมบ้านผู้ป่วยวัณโรค - ค้นหาวัณโรคในผู้สัมผัสร่วมบ้านผู้ป่วยตามแบบคัดกรอง (สปสช.) - ประเมินสิ่งแวดล้อมบ้านผู้ป่วยและให้คำแนะนำปรับปรุงแก้ไข - ลงบันทึกในสมุดประจำตัวผู้ป่วยวัณโรคและแบบฟอร์มการเยี่ยมบ้าน แบบประเมินความพึงพอใจของ PT แบบคัดกรองผู้สัมผัสร่วมบ้าน แบบแผนที่บ้าน PT แบบบันทึกอาการ PT

  21. นโยบายการเร่งรัดงานวัณโรค (ต่อ) ประเด็นที่ 3 การพัฒนาระบบการให้บริการผู้ป่วยวัณโรค • Fast Track OPDมีจุดคัดกรองผู้ป่วยที่มีอาการไอเรื้อรัง จะได้รับ Mask และใบค้นบัตรด่วนแนบกับใบส่งเอ๊กซ์เรย์

  22. นโยบายการเร่งรัดงานวัณโรค (ต่อ) การพัฒนาระบบการให้บริการผู้ป่วยวัณโรค • Fast Track (ต่อ) ห้องบัตร ค้นOPD card และใบสั่งยาให้ทันทีที่ ช่อง 1

  23. นโยบายการเร่งรัดงานวัณโรค (ต่อ) การพัฒนาระบบการให้บริการผู้ป่วยวัณโรค • Fast Track (ต่อ) เอ็กซ์เรย์ ส่งเอ็กซ์เรย์ทันทีที่ ห้อง 5

  24. นโยบายการเร่งรัดงานวัณโรค (ต่อ) การพัฒนาระบบการให้บริการผู้ป่วยวัณโรค • Fast Track (ต่อ) OPDผู้ป่วยนำ OPD card และ Filmติดต่อเจ้าหน้าที่และเข้าพบแพทย์ได้ทันที

  25. นโยบายการเร่งรัดงานวัณโรค (ต่อ) การพัฒนาระบบการให้บริการผู้ป่วยวัณโรค • Fast Track (ต่อ) คลินิกวัณโรค รับผู้ป่วยวัณโรคขึ้นทะเบียนและจ่ายยา

  26. นโยบายการเร่งรัดงานวัณโรค (ต่อ) การพัฒนาระบบการให้บริการผู้ป่วยวัณโรค • คลินิกวัณโรค ให้บริการทุกวันศุกร์ เวลา 13.00 – 16.00 น. แต่เปิดขึ้นทะเบียนผู้ป่วยวัณโรครายใหม่ทุกวันเว้นวันหยุดราชการ

  27. นโยบายการเร่งรัดงานวัณโรค (ต่อ) การพัฒนาระบบการให้บริการผู้ป่วยวัณโรค • คลินิกวัณโรค ให้บริการ One Stop Service - OPD Card และใบสั่งยา : เจ้าหน้าที่ค้นบัตรมาคอย - ยา : เภสัชกรจัดยาเป็น Daily packet และจ่ายยาที่คลินิกวัณโรค

  28. นโยบายการเร่งรัดงานวัณโรค (ต่อ) การพัฒนาระบบการให้บริการผู้ป่วยวัณโรค • คลินิกวัณโรค - การให้คำปรึกษาเพื่อเจาะเลือดตรวจหาเชื้อ HIV โดยเจ้าหน้าที่คลินิกวัณโรค ให้คำปรึกษาและเจาะเลือด - ตัวอย่างส่งตรวจ เช่น เลือด ให้บริการเจาะเลือดที่คลินิกวัณโรคและ เจ้าหน้าที่นำส่งเลือดและเสมหะให้งานชันสูตร และรับผลการตรวจให้ผู้ป่วยวัณโรค

  29. นโยบายการเร่งรัดงานวัณโรค (ต่อ) ประเด็นที่ 4 การค้นหาผู้ป่วยวัณโรคเชิงรุกในกลุ่มเสี่ยง กลุ่มผู้ต้องขัง รณรงค์การค้นหาผู้ป่วยวัณโรคในเรือนจำกลางอุดรธานี ระหว่างวันที่ 21 -27 ตุลาคม 2551

  30. นโยบายการเร่งรัดงานวัณโรค (ต่อ) การค้นหาผู้ป่วยวัณโรคเชิงรุกในกลุ่มเสี่ยง(ต่อ) กลุ่มผู้ติดเชื้อ เอช ไอ วี ดำเนินการคัดกรองวัณโรคในผู้ติดเชื้อ เอช ไอ วี ทุกราย กลุ่มประชาชนในพื้นที่เสี่ยง - ประเมินพื้นที่เสี่ยงหาอัตราชุกของวัณโรค พบพื้นที่มีความเสี่ยงสูง 3 แห่ง ได้แก่ ต.หนองนาคำ , ต.เชียงยืน และ เทศบาล 8 - ดำเนินการค้นหา โดยจัดอบรม อสม. และให้ อสม.ดำเนินการค้นหาในพื้นที่ของตนเอง

  31. นโยบายการเร่งรัดงานวัณโรค(ต่อ)นโยบายการเร่งรัดงานวัณโรค(ต่อ) การค้นหาผู้ป่วยวัณโรคเชิงรุกในกลุ่มเสี่ยง (ต่อ) กลุ่มผู้สัมผัสร่วมบ้าน ดำเนินการคัดกรองตามแบบฟอร์มการคัดกรองวัณโรค โดยเจ้าหน้าที่สาธารณสุขที่ PCU (ตามโครงการพัฒนาการดำเนินงานวัณโรค ปี 2552) กลุ่มผู้ป่วยโรคระบบทางเดินหายใจได้แก่ โรคหอบหืด และ COPD กลุ่มอาชีพเสี่ยงได้แก่ อาชีพขับรถรับจ้าง พนักงานเก็บขยะ พนักงานกวาดถนน พนักงานโรงฆ่าสัตว์ ดำเนินการในช่วงสัปดาห์วันวัณโรคโลก

  32. นโยบายการเร่งรัดงานวัณโรค(ต่อ)นโยบายการเร่งรัดงานวัณโรค(ต่อ) ประเด็นที่ 5 การรณรงค์ประชาสัมพันธ์ให้ประชาชนทั่วไปรู้เรื่องวัณ โรคและผู้มีอาการสงสัยมาตรวจวินิจฉัย รวมทั้งความร่วมมือในการ รักษา โดย - จัดทำคู่มือวัณโรคสำหรับประชาชน - จัดทำเอกสารแผ่นพับ - จัดทำ CD เรื่องวัณโรคแจกทุกสถานีอนามัย/ศสช. - นำความรู้เรื่องวัณโรคเข้าในหลักสูตรการประชุม อสม. - ประชาสัมพันธ์ผ่านเคเบิลประจำท้องถิ่นและทางวิทยุ - รณรงค์เรื่องหน้ากากอนามัย

  33. ผลการพัฒนาคุณภาพ

  34. Table on case detection – type of patients

  35. Sputum Conversion of NM+number (% of registered)

  36. Treatment Outcome of NM+number (% of registered)

  37. Percent of TB patients who tested HIV testing

  38. Percent of TB/HIV patients who get access to ART

  39. แผนการดำเนินงาน ปี 2552 1. โครงการพัฒนาการดำเนินงานวัณโรคโรงพยาบาลอุดรธานี (โครงการอนุมัติแล้ว กำลังดำเนินการ งบประมาณ 375,075 บาท ) กิจกรรมหลัก - การติดตามดูแลผู้ป่วยวัณโรคที่บ้าน กรณี admission@home - จัดประชุมคณะกรรมการพัฒนาคุณภาพการดูแลรักษาผู้ป่วย วัณโรค และโรคเอดส์ทุกเดือน เพื่อติดตามงานและวางแผน แก้ไขปัญหา - จัดอบรมให้ความรู้แก่เจ้าหน้าที่ สอ./ศสช. ทุกระดับ 100 %

  40. แผนการดำเนินงาน ปี 2552(ต่อ) 2. โครงการตรวจคัดกรองวัณโรคในพื้นที่ที่มีความชุกของโรคสูง 3 ตำบล คือ ตำบลหนองนาคำ ตำบลเชียงยืนและ เขตพื้นที่เทศบาล 8 (โครงการผ่านแล้ว กำลังดำเนินการ ใช้งบประมาณ 108,000บาท) กิจกรรมหลัก - จัดอบรม อสม. ในพื้นที่ - อสม. ดำเนินการตรวจคัดกรองตามแบบคัดกรอง 3. แผนปรับปรุงสถานที่ คลินิกวัณโรค ( ผ่านการพิจารณางบประมาณแล้ว ตั้งงบประมาณไว้ 900,000)

  41. แผนการดำเนินงาน ปี 2552 ( ต่อ ) 4. แผนพัฒนางานคลินิกวัณโรค เป็น One Stop Service (กำลัง พัฒนาระบบการให้บริการ) 5. แผนการปรับช่องทางด่วนสำหรับผู้ป่วยวัณโรค ( ดำเนินการแล้ว ) 6. จัดประชุมให้ความรู้แก่เจ้าหน้าที่ทุกระดับในโรงพยาบาลด้านการ เฝ้าระวังป้องกันเชื้อวัณโรค ( บรรจุไว้ในแผนงานปีงบฯ 52 ของ IC แล้ว งบประมาณ 40,000 ) 7. แผนปรับปรุงห้องชันสูตร (ผ่านการพิจารณางบประมาณแล้ว งบประมาณ 400,000 ) 8. จัดซื้อเครื่องตรวจเสมหะ (ผ่านการอนุมัติแล้ว งบประมาณ 400000 บาท )

  42. แผนการดำเนินงาน ปี 2552 ( ต่อ ) 9. แผนปรับปรุงสถานที่เก็บเสมหะที่หอผู้ป่วยอายุรกรรม ( ผ่านการพิจารณางบประมาณแล้ว งบประมาณ 200,000 ) 10. รณรงค์ควบคุมวัณโรค วันวัณโรคโลก 24 มี.ค. 52 11. แผนการรณรงค์ประชาสัมพันธ์ผ่านสื่อท้องถิ่น เช่น เคเบิล วิทยุ (ดำเนินการแล้ว) 12. อบรม อสม. เชี่ยวชาญ เรื่องวัณโรค ครอบคลุมทั้งอำเภอเมือง (ดำเนินการเสร็จสิ้นแล้ว)

  43. แผนการดำเนินงานปี 2552 (ต่อ) 13. นิเทศและติดตามประเมินผลเครือข่ายการดำเนินงานวัณโรค (สอ./ศสช.) ปีละ 2 ครั้ง (กำลังดำเนินการ เริ่ม 10 ก.พ. – 3 มี.ค.52 )และนำผลการประเมินมาเป็นส่วนหนึ่งในการพิจารณาความดีความชอบ 14. โครงการศึกษาวิจัย 1 เรื่อง (กำลังดำเนินการ) รวมงบประมาณที่ใช้ทั้งสิ้น 2,423,075 บาท

  44. เป้าหมายที่คาดหวัง • ประชาชนอำเภอเมืองอุดรธานีที่ป่วยด้วยวัณโรคได้รับการวินิจฉัยโดยเร็วและได้รับการรักษาด้วยสูตรยามาตรฐานของ NTP ทุกราย • ผู้ป่วยในระยะแพร่เชื้อได้รับการดูแลรักษาอย่างใกล้ชิด • เจ้าหน้าที่ทำงานอย่างมีความสุข

  45. ความภาคภูมิใจ รางวัลดีเด่นด้านการดำเนินงานควบคุมวัณโรค เขตตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุขที่ 10 และ 12 ประจำปี 2551

  46. ปัญหา/อุปสรรค • การคีย์ข้อมูลส่ง สปสช. • แนวทางการแก้ไข คีย์ข้อมูลนอกเวลา • จำนวนผู้ป่วยวัณโรคมีจำนวนมาก ไม่สามารถ • ให้บริการได้ภายในเวลาที่มีคลินิก • แนวทางการแก้ไข ขยายวันให้บริการผู้ป่วยวัณโรค

More Related