180 likes | 288 Vues
MOC’s Master Strategies 2009-2011. Ministry of Commerce. Bangkok, August 2008. บทนำ. ในปี 25 51 สำนักงานปลัดกระทรวงพาณิชย์ ได้ดำเนินงานจัดทำแผนยุทธศาสตร์กระทรวงพาณิชย์ระยะกลางสำหรับปี 2552 ถึง 2554 เพื่อให้แผนยุทธศาสตร์เป็นไปในทิศทางเดียวกันกับนโยบายของกระทรวงฯ
E N D
MOC’s Master Strategies 2009-2011 Ministry of Commerce Bangkok, August 2008
บทนำ • ในปี 2551 สำนักงานปลัดกระทรวงพาณิชย์ ได้ดำเนินงานจัดทำแผนยุทธศาสตร์กระทรวงพาณิชย์ระยะกลางสำหรับปี 2552 ถึง 2554 เพื่อให้แผนยุทธศาสตร์เป็นไปในทิศทางเดียวกันกับนโยบายของกระทรวงฯ • คณะทำงานได้จัดทำแผนยุทธศาสตร์โดยทำการศึกษาวิเคราะห์จากข้อมูลภายในและภายนอก ซึ่งประกอบด้วย • แนวโน้มกระแสหลักของโลก (Mega Trend) และผลกระทบที่มีต่อประเทศไทย • มุมมองภายในกระทรวงฯ จากการสัมภาษณ์ผู้บริหารระดับสูง และแผนยุทธศาสตร์กระทรวงฯปี 2551 • แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 10 และแผนปฏิบัติราชการแผ่นดิน 4 ปี (ปี 2551-2554) • การเปรียบเทียบกับข้อมูลการดำเนินงานของกระทรวงพาณิชย์ในประเทศอื่นๆ • การสัมภาษณ์ผู้บริหารจากภาคเอกชน เช่น สภาอุตสาหกรรมฯ สภาหอการค้าไทย เครือเจริญโภคภัณฑ์ ฯลฯ • การจัดทำยุทธศาสตร์ของกระทรวงพาณิชย์ในครั้งนี้ สำนักงานปลัดกระทรวงพาณิชย์และบริษัทแมคคินซี่ แอนด์ คอมพานี ได้ร่วมกันเปิดรับมุมมองจากทั้งผู้ปฎิบัติ และผู้บริหาร รวมถึงข้อคิดเห็นจากผู้บริหารระดับสูงที่เข้าร่วมการสัมมนาเชิงปฏิบัติการทั้ง 2 ครั้ง เมื่อปลายเดือนมกราคม และกลางเดือนกุมภาพันธ์ 2551 และได้รับการเห็นชอบใช้เป็นยุทธศาสตร์กระทรวงฯ เมื่อวันที่ 27 มีนาคม 2551
บทสรุปสำหรับผู้บริหาร (1/3) • แผนยุทธศาสตร์กระทรวงพาณิชย์ระยะกลางสำหรับปี 2552-2554ได้ถูกจัดทำขึ้นเพื่อสนับสนุนวัตถุประสงค์ที่ชัดเจนของกระทรวงฯ โดยคำนึงถึงปัจจัยต่างๆดังนี้ • วัตถุประสงค์ของกระทรวงฯ 5 ประการได้แก่ • (1) ส่งเสริมการส่งออก • (2) ส่งเสริมธุรกิจไทยสู่สากล • (3) สร้างความแข็งแกร่งให้ตลาดภายในประเทศ • (4) มุ่งเน้นการค้าเสรีและเป็นธรรมให้เกิดประโยชน์ต่อผู้บริโภคและผู้ผลิต • (5) สนับสนุนการกระจายความเสี่ยงทางการตลาดและเสริมสร้างให้เกษตรกรมีรายได้เพิ่มขึ้น • การวางแผนยุทธศาสตร์กระทรวงพาณิชย์ยังได้จัดทำขึ้นโดยอาศัยแนวทางหลักที่สำคัญ 6 ประการ คือ • (1) พาณิชย์เป็นทัพหน้าทางการค้า • (2) เชื่อมโยงการค้าในประเทศสู่สากล • (3) มุ่งเน้นการเสริมสร้างความแข็งแกร่งให้ประเทศ • (4) มุ่งพัฒนาเศรษฐกิจการค้าให้เติบโตอย่างมีเสถียรภาพและยั่งยืนด้วยอุปสงค์ภายในประเทศ • (5) มุ่งพัฒนานโยบายการแข่งขันทางการค้าให้เกิดผล เสริมสร้างประสิทธิภาพทางการพาณิชย์ • (6) เน้นแนวทางการมองตลาดภายในประเทศเป็นตลาดประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน
บทสรุปสำหรับผู้บริหาร (2/3) • โดยกำหนดยุทธศาสตร์ 8 ข้อ (MOC’s Master Strategies) ที่สนับสนุนวัตถุประสงค์ของกระทรวงพาณิชย์ • (1) ขับเคลื่อนเศรษฐกิจด้วยธุรกิจบริการ • (2) ผลิตสินค้าและบริการตามความต้องการของตลาด • (3) พัฒนาธุรกิจอย่างครบวงจร • (4) ส่งเสริมธุรกิจไทยสู่สากล มุ่งสร้าง Supply Chain และ Value Creation • (5) พัฒนาและเสริมสร้างตลาดภายในประเทศให้มีการแข่งขันที่เสรีและเป็นธรรม • (6) มุ่งพัฒนาตลาดสินค้าการเกษตรและเพิ่มมูลค่าทางการค้า • (7) ใช้ข้อตกลงการค้าให้เกิดประโยชน์สูงสุด และเป็นการเพิ่มทางเลือก • พัฒนาระบบโลจิสติกส์การค้าให้มีประสิทธิภาพสูงสุด • ในภายหลัง ท่านปลัดกระทรวงพาณิชย์มีดำริให้จัดพิมพ์แผนพับยุทธศาสตร์ดังกล่าวเผยแพร่ในวันครบรอบ 88 ปี • การสถาปนากระทรวงพาณิชย์ซึ่งได้มีการเพิ่มประเด็นยุทธศาสตร์ให้ครอบคลุมภารกิจงานทุกด้านของกระทรวง อีก 3 ยุทธศาสตร์ ดังนี้ • เสริมสร้างองค์ความรู้ด้านทรัพย์สินทางปัญญาเพื่อขยายธุรกิจและโอกาสทางการตลาดทั้งในประเทศและต่างประเทศ • เพิ่มโอกาสการเข้าสู่ตลาดและบูรณาการเครือข่ายธุรกิจเข้าสู่ทุกภูมิภาคในต่างประเทศ • คุ้มครองผู้บริโภคให้ได้รับความเป็นธรรมทั้งด้านราคา และปริมาณอย่างครบถ้วนและเพียงพอ
MOC’s Master Strategies 2009-2011 ที่มา: งานครบรอบ 88 ปีการสถาปนากระทรวงพาณิชย์
บทสรุปสำหรับผู้บริหาร (3/3) • นอกจากนี้ ยังได้กำหนดปัจจัยขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ เพื่อให้การดำเนินงานเป็นไปอย่างราบรื่น และมีประสิทธิภาพ โดยการสนับสนุนการบริหารจัดการยุทธศาสตร์ในภาพรวม ทั้งในด้านการพัฒนากฎหมาย/กฎระเบียบที่เกี่ยวข้อง การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานในด้านต่างๆ รวมทั้งการพัฒนาทักษะ ขีดความสามารถของบุคลากร และระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ • รายละเอียดประเด็นยุทธศาสตร์ 8 ข้อ ซึ่งครอบคลุมยุทธศาสตร์ที่เพิ่มเติมด้วยแล้ว มีดังนี้
5 2 6 3 7 8 4 • การบริหารจัดการยุทธศาสตร์ ธรรมาภิบาล/โครงสร้างองค์กร การติดตามประเมินผล การบูรณาการ การประสานงาน • การพัฒนาบุคลากรและเทคโนโลยีสารสนเทศ • กฎหมายและกฎระเบียบต่างๆ • ความร่วมมือใกล้ชิดระหว่างภาครัฐและภาคเอกชน แผนยุทธศาสตร์กระทรวงพาณิชย์ปี 2552-2554 Excellent MoC 1. ส่งเสริมการส่งออก 2. ส่งเสริมธุรกิจไทยสู่สากล 3. สร้างความแข็งแกร่งให้ตลาดภายในประเทศ 4. มุ่งเน้นการค้าเสรีและเป็นธรรมให้เกิดประโยชน์ต่อผู้บริโภคและผู้ผลิต 5. สนับสนุนการกระจายความเสี่ยงทางการตลาดและเสริมสร้างให้เกษตรกรมีรายได้เพิ่มขึ้น วัตถุประสงค์ • พาณิชย์เป็นทัพหน้าทางการค้า • เชื่อมโยงการค้าในประเทศสู่สากล • มุ่งเน้นการเสริมสร้างความแข็งแกร่งให้ประเทศ • มุ่งพัฒนาเศรษฐกิจการค้าให้เติบโตอย่างมีเสถียรภาพและยั่งยืนด้วยอุปสงค์ภายในประเทศ • มุ่งพัฒนานโยบายการแข่งขันทางการค้าให้เกิดผล เสริมสร้างประสิทธิภาพทางการพาณิชย์ • เน้นแนวทางการมองตลาดภายในประเทศเป็นตลาดประชาคมแศรษฐกิจอาเซียน แนวทาง 1 ยุทธศาสตร์หลัก ใช้ข้อตกลงทางการค้าให้เกิดประโยชน์สูงสุด และเป็นการเพิ่มทางเลือก ขับเคลื่อนเศรษฐกิจด้วยธุรกิจบริการ ผลิตสินค้าและบริการตามความต้องการของตลาด พัฒนาธุรกิจ อย่างครบวงจร ส่งเสริมธุรกิจไทยสู่สากล มุ่งสร้าง Supply Chain และ Value Creation พัฒนาและเสริมสร้างตลาดในประเทศให้มีประสิทธิภาพ เสรี และเป็นธรรม มุ่งพัฒนาตลาดสินค้าเกษตรและเพิ่มมูลค่าทางการค้า พัฒนาระบบ โลจิสติกส์การค้าให้มีประสิทธิภาพสูงสุด เป้าหมาย ในปี 2554 เกิดการรวมกลุ่มของผู้ให้บริการ โลจิสติกส์ไทยที่มีประสิทธิภาพ ชั้นนำ ธุรกิจบริการเป็นตัวขับเคลื่อนหลักของเศรษฐกิจไทย เป็นผู้นำในภูมิภาคด้านการผลิตสินค้า/บริการตาม Demand Trend ศูนย์กลางการพัฒนา SMEs/สินค้า OTOP แบบครบวงจร ประสบความสำเร็จกับแนวความคิดThailand Inc. ตลาดในประเทศมีโครงสร้างที่แข็งเกร่งเพื่อรองรับการเปิดเสรีทางการค้า ร่วมผลักดันให้เกษตรกรมีความเป็นอยู่ที่ดีขึ้น การบริหารจัดการข้อตกลงทางการค้าของไทยได้ระดับสากล ตัวขับเคลื่อน (Enablers) ที่มา: คณะทำงาน
ประเด็นยุทธศาสตร์กระทรวง 8 ข้อ แผนยุทธศาสตร์ รายละเอียด เร่งผลักดันให้ภาคธุรกิจบริการเติบโต และสามารถตอบสนองต่ออุปสงค์ทั้งในและต่างประเทศ โดยใช้ความเป็นไทย (Thainess) เป็นจุดแข็งในธุรกิจสุขภาพ/ความงาม และ ใช้ความคิดสร้างสรรค์และทักษะความเชื่ยวชาญเป็นจุดแข็งในธุรกิจ Digital Content ขับเคลื่อนเศรษฐกิจด้วยธุรกิจบริการ 1 วิเคราะห์หาความต้องการ (Trend) ของตลาดทั้งในและต่างประเทศ และสนับสนุนผู้ผลิตให้สร้างมูลค่าเพิ่มให้สินค้าและผลิตสินค้าตาม Trend นั้นๆ เช่น อาหารฮาลาล อาหารสำเร็จรูป พืชสมุนไพร/วิตามิน เครื่องประดับ/อัญมณี สิ่งทอ และแฟชั่น ผลิตสินค้าและบริการตามความต้องการของตลาด 2 โดยเริ่มตั้งแต่ การสร้างความพร้อมในการเริ่มต้นประกอบธุรกิจ การเพิ่มศักยภาพด้านการออกแบบและการตลาด การใช้ตราสินค้าและทรัพย์สินทางปัญญาเชิงพาณิชย์ ตลอดจนการช่วยให้เข้าถึงแหล่งเงินทุน และการสร้างเครือข่ายการค้าต่างๆ พัฒนาธุรกิจอย่างครบวงจร 3 สนับสนุนให้ผู้ประกอบการที่มีศักยภาพในระดับนานาชาติรวมกลุ่มกันออกไปประกอบธุรกิจในต่างประเทศ โดยกระทรวงฯ จะสนับสนุนด้านนโยบาย กฎระเบียบทางการค้า การใช้ทรัพย์สินทางปัญญา และการอำนวยความสะดวกทางการค้าต่างๆ ส่งเสริมธุรกิจไทยสู่สากล มุ่งสร้าง Supply Chain และ Value Creation 4 พัฒนาและเสริมสร้างตลาดในประเทศให้มีประสิทธิภาพ เสรี และเป็นธรรม สนับสนุนการพัฒนาโครงสร้างตลาดภายในประเทศให้มีประสิทธิภาพ มีการค้าที่เสรีและเป็นธรรม และมีระบบคุ้มครองผู้บริโภคที่ดี เพื่อเตรียมพร้อมต่อการเปิดเสรีทางการค้าในอนาคต 5 ปรับปรุงโครงสร้างตลาด การพัฒนาระบบห่วงโซ่อุปทาน สร้างมูลค่าเพิ่มให้สินค้า เสริมสร้างศักยภาพและเพิ่มขีดความสามารถในทำการธุรกิจของเกษตรกรอย่างยั่งยืน เพื่อยกระดับราคาสินค้าเกษตร มุ่งพัฒนาตลาดสินค้าเกษตรและเพิ่มมูลค่าทางการค้า 6 ใช้ข้อตกลงทางการค้าให้เกิดประโยชน์สูงสุด และเป็นการเพิ่มทางเลือก ติดตาม/ประเมินผล การใช้ประโยชน์จากข้อตกลงทางการค้าต่างๆที่มีเพื่อหาช่องทางให้ไทยได้ประโยชน์สูงสุด อาทิ ข้อตกลงประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน JTEPA และเขตการค้าเสรีต่างๆ 7 พัฒนาสิ่งอำนวยความสะดวกทางการค้า สนับสนุนการพัฒนาภาคธุรกิจโลจิสติกส์ของไทยแบบครบวงจร มุ่งเน้นการปรับปรุงระบบห่วงโซ่อุปทานโดยเฉพาะในสินค้าเกษตรเพื่อเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขัน พัฒนาระบบโลจิสติกส์การค้าให้มีประสิทธิภาพสูงสุด 8 ที่มา: Strategic thrust prioritization workshop 31st Jan 2008
46 เป็นผู้นำในการประสานงานกับสถาบันที่ให้การสนับสนุนแก่ธุรกิจบริการ พัฒนาศักยภาพและขีดความสามารถของผู้ให้บริการ สร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้ออำนวยต่อการส่งเสริมธุรกิจบริการ ส่งเสริมชื่อเสียงเป็นเลิศของธุรกิจบริการไทยในระดับนานาชาติ ขับเคลื่อนเศรษฐกิจด้วยธุรกิจบริการ 1 รายละเอียด 1A • เป็นผู้นำในการผลักดันธุรกิจบริการที่สำคัญ โดยมีการจัดลำดับความสำคัญของประเภทธุรกิจบริการอย่างมีระบบชัดเจน รวมทั้งเป็นผู้ประสานงานกับหน่วยงานอื่นที่เกี่ยวข้อง และนำนโยบายไปใช้ในทางปฏิบัติ อาทิ การพัฒนาระบบการรวบรวมข้อมูล/สถิติ ของภาคธุรกิจการบริการ 1B • พัฒนาระบบที่มีประสิทธิภาพในการเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันของธุรกิจบริการ รวมถึงด้านทรัพย์สินทางปัญญา ในธุรกิจบริการสาขาที่มีความสำคัญ รวมทั้งประสานงานกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องทั้งในและต่างประเทศเพื่อเตรียมความพร้อมของบุคลากรในภาคธุรกิจบริการ 1C • สร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้ออำนวยต่อการส่งเสริมภาคธุรกิจบริการ ทั้งเรื่องกฎหมาย กฎระเบียบ การเจรจาทางการค้า และจัดให้มีโครงสร้างพื้นฐานต่างๆ 1D • ประชาสัมพันธ์/เผยแพร่องค์ความรู้เรื่องการบริการที่เป็นเลิศของไทยให้กับผู้ที่มีศักยภาพจะเป็นผู้ให้บริการและผู้ใช้บริการทั้งในและต่างประเทศ ที่มา:คณะทำงาน
รายละเอียด 2B สร้างมูลค่าเพิ่มจากการพัฒนาสินค้าและการวางแผนการตลาด ผลิตสินค้าและบริการตามความต้องการของตลาด 2 2A • ให้ความสำคัญกับการหา Trend ใหม่ของตลาดทั้งในและต่างประเทศ ในสินค้าที่ไทยมีศักยภาพในการผลิต รวมทั้งสร้างความสมดุลระหว่างตลาดใหม่ ตลาดเก่า และตลาดภายในประเทศ เพื่อเป็นการกระจายความเสี่ยง • พัฒนาฐานข้อมูลในเรื่อง Supply/Demand Trend ของภายในกระทรวงฯ ให้สามารถเชื่อมโยงกันได้อย่างมีประสิทธิภาพตั้งแต่หน่วยงานในภูมิภาคจนถึงสำนักงานในต่างประเทศ ศึกษา วิเคราะห์และกำหนด Trend สินค้าจากความต้องการของตลาดทั้งในและต่างประเทศ • เสาะหาและให้การส่งเสริมผู้ประกอบการหรือผู้ผลิตที่มีศักยภาพสำหรับ Trend ใหม่ๆของตลาด • ให้การสนับสนุนแบบครบวงจรในการผลิตสินค้าและการตลาด ทั้งการออกแบบ การพัฒนาสินค้า บรรจุภัณฑ์ และการสร้างตราสินค้า ให้กับผู้ประกอบการที่มีศักยภาพและคุณภาพสินค้าที่ดีมากเป็นพื้นฐาน • เพิ่มการใช้ประโยชน์จากทรัพย์สินทางปัญญาให้มากขึ้น รวมถึงใช้ การใช้ประโยชน์เชิงพาณิชย์และการป้องกันการละเมิดทรัพย์สินทางปัญญา • วางแผนเพื่อให้เกิดความสมดุลของอุปสงค์และอุปทานในวัตถุดิบและปัจจัยการผลิต 2C เพิ่มคุณภาพและยกระดับมาตรฐานสินค้า • ส่งเสริมและกระตุ้นผู้ประกอบการของไทยให้นำเอามาตรฐานที่เป็นสากลในการผลิตสินค้ามาใช้ • สร้างความร่วมมือกับหน่วยงานต่างๆในการเพิ่มขีดความสามารถในการทดสอบมาตรฐานสินค้า และเพิ่มความน่าเชื่อถือในหมู่ผู้บริโภค เช่นคุณภาพในการตรวจสอบ การออกใบประกาศนียบัตรรับรอง และความสามารถในการทดสอบคุณภาพของหน่วยงานภาครัฐ ที่มา: คณะทำงาน
รายละเอียด 3 พัฒนาธุรกิจอย่างครบวงจร • ให้ความช่วยเหลือด้วยการสร้างแบบแผนและขั้นตอนในการเริ่มต้นประกอบธุรกิจ • ร่วมมือกับหน่วยงานทางวิชาการเพื่อให้ความรู้และให้คำปรึกษาในการเริ่มต้นประกอบธุรกิจ สร้างความพร้อมในการเริ่มต้นประกอบธุรกิจ 3A ตั้งต้น • เป็นตัวกลางเชื่อมระหว่าง SMEs และแหล่งเงินทุน (VCs, funds) • ให้ความช่วยเหลือในการแก้ปัญหาต่างๆเพื่อให้ได้มาซึ่งเงินลงทุน • ให้ความรู้แก่ผู้ประกอบการด้านการเงินและการบัญชีทั้งก่อนและหลังได้รับเงินทุน ช่วยเหลือด้านการหาแหล่งเงินทุน 3B • ให้ความช่วยเหลือด้านการพัฒนาคุณภาพของสินค้าและบริการ • ให้ความช่วยเหลือในการปฏิบัติ/ดำเนินงานให้สอดคล้องกับกฎกติกาสากล เพื่อให้สามารถทำสัญญากับบริษัทในต่างประเทศได้ ยกระดับคุณภาพของสินค้าและบริการ 3C พัฒนา • ส่งเสริม ความร่วมมือและความช่วยเหลือซึ่งกันและกัน ระหว่างผู้ประกอบการ SMEs • จัดทำ อำนวยความสะดวกและสร้างแบบแผนพื้นฐานให้ SMEs สามารถใช้ทรัพยากรการผลิตและทำงานร่วมกันเพื่อพัฒนาสินค้าใหม่ และแสวงหาโอกาสทางการตลาดร่วมกัน ส่งเสริมความร่วมระหว่าง SMEs 3D • เสรืมสร้างภาพลักษณ์ที่ดีของสินค้าและบริการไทยอย่างต่อเนื่อง • ส่งเสริมการสร้างตราสินค้า/การตลาด โดยจัดตั้งศูนย์บริการเบ็ดเสร็จด้านการตลาด • ส่งเสริมการเพิ่มมูลค่าสินค้า และการสร้างตราสินค้าโดยเน้นการออกแบบผลิตภัณฑ์ ส่งเสริมการสร้างตราสินค้าและการตลาด 3E การคุ้มครองและใช้ประโยชน์จากทรัพย์สินทางปัญญา • ให้ความรู้ผู้ประกอบการในเรื่องทรัพย์สินทางปัญญา และใช้ประโยชน์เชิงพาณิชย์ • ใช้ประโยชน์จากระบบคุ้มครองทรัพย์สินทางปัญญาเพื่อสร้างนวัตกรรมใหม่ๆ และสร้างความได้เปรียบในการแข่งขันทางการค้าให้กับ SMEs 3F ขยายและส่งออก • อำนวยความสะดวกให้ SMEs ได้ลงทุนและสร้างเครือข่ายในต่างประเทศ • อำนวยความสะดวกให้ SMEs หาตลาดในต่างประเทศ, และสร้างช่องทางในการดำเนินธุรกิจ การพัฒนาเครือข่ายในต่างประเทศ 3G ที่มา:คณะทำงาน
รายละเอียด ส่งเสริมธุรกิจไทยสู่สากล มุ่งสร้าง Supply Chain และ Value Creation 4 4A • ทำการคัดเลือกธุรกิจและโครงการที่จะได้รับการสนับสนุนจากกระทรวงฯในการไปสู่สากลอย่างเป็นระบบตามความสามารถของผู้ประกอบการ และตามความต้องการของตลาดสากล • ช่วยเหลือภาคธุรกิจที่ได้รับการคัดเลือกในการจัดตั้ง รวมกลุ่มผู้ประกอบการให้ภาคธุรกิจนั้นๆให้เข้มแข็ง กำหนดภาคธุรกิจที่จะให้ความสำคัญและส่งเสริม • ช่วยเหลือและอำนวยความสะดวกแก่ผู้ประกอบการรายใหญ่ในการเป็นผู้นำในการเข้าร่วมประมูลงานที่มีมูลค่าการลงทุนสูงในต่างประเทศ เพื่อเป็นแกนนำในการนำพาผู้ประกอบการรายย่อยในอุตสาหกรรม หรือธุรกิจบริการต่างๆไปพร้อมกัน • จัดงานโร้ดโชว์ที่มุ่งเน้นการส่งเสริมหน่วยธุรกิจที่ได้รับคัดเลือกในประเทศเป้าหมายสำคัญ 4B ประชาสัมพันธ์โครงการ Thailand Inc. 4C อำนวยความสะดวกในการส่งเสริมธุรกิจไทยสู่สากล • ให้บริการต่างๆเพื่อผู้ประกอบการในการไปลงทุนต่างประเทศ (โดยผ่าน เว็บไซท์ของกระทรวงฯ) • ประสานกับกระทรวง ผู้ประกอบการ/สมาคมต่างๆตามความเหมาะสม เพี่อร่วมกันลดโครงสร้างต้นทุนและพัฒนาบุคลากร • ประสานงานระดับรัฐบาลสู่รัฐบาล เช่น การค้า/ข้อตกลงเรื่องการลงทุน การจัดโร้ดโชว์ทางธุรกิจในประเทศสำคัญต่างๆ ที่มีความต้องการในการบริโภคสูงและการสร้างเครือข่ายกับภาครัฐ • ประสานกับหน่วยงานทางการเงินต่างๆ เพื่ออำนวยความสะดวกด้านเงินทุนเป็นพิเศษ เช่น EXIM Bank 4D สร้างองค์ความรู้ด้านทรัพย์สินทางปัญญา • ให้องค์ความรู้แก่ผู้ประกอบการไทยเกี่ยวกับเรื่องทรัพย์สินทางปัญญา การจดทะเบียน และข้อตกลง G2G ที่มีของไทย เพื่อหลีกเลี่ยง/ป้องกันการละเมิดทรัพย์สินทางปัญญาของผู้ประกอบการต่างประเทศ 4E • ให้ความรู้ภาคเอกชนอย่างต่อเนื่อง ถึงโอกาสการลงทุนในต่างประเทศ และแสวงหาผู้ประกอบการไทยที่มีศักยภาพในการดำเนินกิจการตามโอกาสและความต้องการนั้นๆ • จัดตั้ง ‘globalizing circle’ เพื่อที่จะส่งเสริม ผู้ประกอบการ 100 อันดับแรก ที่มีศักยภาพสูงในการร่วมออกสู่ตลาดสากลกับรัฐบาลโดยให้ความช่วยเหลือเรื่องเงินทุนและประเมินผลอยู่เสมอ • ประชาสัมพันธ์ตัวอย่างผู้ประกอบการที่ประสบความสำเร็จและให้ได้รับการส่งเสริมเป็นพิเศษจากรัฐ เพื่อ กระตุ้นผู้ประกอบการรายอื่นๆ ปรับเปลี่ยนทัศนคติของผู้ประกอบการให้ออกไปประกอบธุรกิจในต่างประเทศ ที่มา:คณะทำงาน
5 พัฒนาระบบที่มีประสิทธิภาพในการพัฒนาโครงสร้างตลาดและพฤติกรรมผู้ค้าที่เสรีและเป็นธรรม เสริมสร้างระบบการคุ้มครองผู้บริโภคให้เข้มแข็ง พัฒนาและเสริมสร้างตลาดในประเทศให้มีประสิทธิภาพ เสรี และเป็นธรรม รายละเอียด 5A • ปรับตัวบทกฎหมายและกฎข้อบังคับต่างๆมีประสิทธิภาพมากขึ้นเพื่อเป็นการส่งเสริมการแข่งขันในตลาด อาทิ พ.ร.บ. การแข่งขันทางการค้า • ส่งเสริมบรรษัทภิบาลและ CSR ในผู้ประกอบการ เช่น การให้คำปรึกษา ร่วมมือกับสมาคมธุรกิจต่างๆจัดตั้งมาตรฐานที่ควรมี • ติดตาม/วิเคราะห์ข้อมูลต่างๆ (ราคา ตลาด ห่วงโซ่มูลค่าสินค้า) เพื่อบ่งชี้ภาคธุรกิจที่มีแนวโน้มว่าจะมีโครงสร้างนำไปสู่พฤติกรรมการแข่งขันที่ไม่เป็นธรรมได้ • ศึกษาวิเคราะห์เชิงลึกและเตรียมความพร้อมสำหรับผลกระทบจากการเปิดการค้าเสรี (เช่น การร่วมมือทางการค้าของประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน) ซึ่งอาจส่งผลกระทบต่อโครงสร้างตลาดาภายในประเทศ 5B • พัฒนาระบบตลาดที่มีประสิทธิภาพในการรักษาเสถียรภาพด้านราคาและอุปทาน ของสินค้าและบริการที่สำคัญ อาทิ การวิเคราะห์โครงสร้างตลาด การวิเคราะห์โครงสร้างราคาของสินค้าสำคัญ การปรับปรุงระบบตรวจสอบ และกำหนดแนวทางแก้ไข • ส่งเสริมให้ผู้บริโภคตระหนักถึงความสำคัญของการปกป้องสิทธิของตนเอง เช่น การประชาสัมพันธ์ข้อมูลในการรักษาสิทธิของผู้บริโภคอย่างแพร่หลาย ที่มา:คณะทำงาน
6 มุ่งพัฒนาตลาดสินค้าเกษตรและเพิ่มมูลค่าทางการค้า รายละเอียด 6A • ปรับปรุงการวางแผนยุทธศาสตร์ในการผลิตสินค้าเกษตร เช่น สร้างอุปสงค์ให้สอดคล้องกับอุปทาน แบ่งเขตการเพาะปลูกให้เหมาะสม รวมถึงนโยบายการปลูกพืชพลังงานทดแทนโดยการร่วมมือกับองค์กรที่เกี่ยวข้อง เช่น กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ) • อำนวยความสะดวก / สร้างความแข็งแกร่งให้กับสหกรณ์การเกษตร เพื่อจัดหาวัตถุดิบที่ดีขึ้น ความพร้อมทางด้านการเงิน มีอำนาจในการต่อรองกับผู้ซื้อมากขึ้น • ส่งเสริมให้เกษตรกรมีความสามารถมากขึ้นในการวิเคราะห์และตัดสินใจให้ถูกต้องและเป็นประโยชน์ เมื่อได้รับทราบข้อมูลจากช่องทางต่างๆ อาทิ ราคาสินค้า แนวทางการผลิตที่ได้ผลดี รายงานสภาพอากาศ โดยผ่านโครงการให้คำปรึกษา ศูนย์การเรียนรู้ และตลาดกลางทางการเกษตร พัฒนาระบบการผลิตสินค้าเกษตร 6B เพิ่มมูลค่าให้กับสินค้าเกษตรแปรรูป • ส่งเสริมให้เกษตรกรและผู้ประกอบการผลิตสินค้าเกษตรและสินค้าเกษตรแปรรูปที่มีมูลค่าสูงขึ้น โดยการใช้ Trend ของตลาดให้เป็นประโยชน์ • จัดให้มีการสนับสนุนด้านการตลาดแบบครบวงจรเพื่อช่วยในการสร้างตราของสินค้าเกษตร และเกษตรแปรรูป ตลอดจนสนับสนุนการใช้ประโยชน์จากทรัพย์สินทางปัญญา ที่มา:คณะทำงาน
6 มุ่งพัฒนาตลาดสินค้าเกษตรและเพิ่มมูลค่าทางการค้า รายละเอียด 6C • ส่งเสริมผู้ส่งออกให้มีอำนาจในการเจรจาต่อรองในเวทีการค้าในระดับนานาชาติ โดยการกระตุ้นให้ผู้ส่งออกร่วมมือกันในการเพิ่มอำนาจต่อรองทางการตลาด • กำหนดมาตรการด้านการนำเข้า ที่สอดรับกับกฎระเบียบของ WTO เพื่อปกป้องสินค้าเกษตรบางตัวของไทย สร้างจุดยืนทางการค้าของไทยในระดับนานาชาติ 6D • หาจุดสมดุลที่เหมาะสมของมาตรการระหว่างด้านพัฒนากลไกตลาด กับด้านการแทรกแซงตลาดให้เหมาะสมเพื่อการพัฒนาตลาดที่ยั่งยืน • ปรับปรุงกลไกตลาดในปัจจุบันเพื่อให้ระบบเศรษฐกิจมีประสิทธิภาพมากขึ้น เช่น พัฒนาตลาดกลางทางการเกษตรให้มีประสิทธิภาพมากขึ้น การทำสัญญาทางการเกษตร การค้าแบบ E-Commerce • ส่งเสริม/พัฒนากลไกการแทรกแซงตลาดที่ทำให้ตลาดบิดเบือนน้อยที่สุด เพื่อให้ราคาสินค้าเกษตรมีเสถียรภาพ ปรับปรุงตลาดและสินค้าเกษตรและการจัดการด้านราคา 6E การจัดการระบบห่วงโซ่อุปทานอย่างมีประสิทธิภาพ • ปรับปรุงด้านการจัดการห่วงโซ่อุปทาน โดยเฉพาะอย่างยิ่งในเรื่องระบบโลจิสติกส์การค้าซึ่งไทยยังมีต้นทุนในเรื่องนี้สูงมาก ที่มา:คณะทำงาน
ใช้ข้อตกลงทางการค้าให้เกิดประโยชน์สูงสุด และเป็นการเพิ่มทางเลือก รายละเอียด 7 7A • รวบรวมข้อคิดเห็นจากหน่วยงานเอกชนและ NGO รวมทั้งทุกหน่วยงานภายในกระทรวงฯ ภายหลังการเจรจาทางการค้า • ติดตาม/อำนวยความสะดวกในการใช้ประโยชน์จากข้อตกลงทางการค้าที่มีอยู่ และประเมินผลการใช้ประโยชน์จากข้อตกลงทางการค้า และกำหนดมาตรการรองรับ การบริหารจัดการเพื่อให้ใช้ข้อตกลงทางการค้าภายหลังการเจรจาให้เกิดประโยชน์สูงสุด 7B • จัดทำฐานข้อมูลเพื่อให้ข้อมูลที่ครบถ้วนเกี่ยวกับการค้าโลกผ่านระบบที่ง่ายต่อการใช้งาน (one-stop-service) เช่น NTMs มาตรฐานทางการค้า กฎระเบียบต่างๆ และ พิกัดอัตราภาษีศุลกากร • ส่งเสริมและให้ความรู้แก่ผู้ประกอบการไทยเพื่อให้เข้าถึงและใช้ประโยชน์จาก one-stop service • ศึกษา/วิเคราะห์ข้อมูลเกี่ยวกับปัญหาทางการค้าที่อาจเกิดขึ้น/เกิดขึ้นแล้ว และหาแนวทางแก้ไข เผยแพร่เรื่องผลกระทบ ทั้งด้านที่เป็นผลประโยชน์ และด้านที่เป็นปัญหา จากการทำข้อตกลงทางการค้า และ การเปลี่ยนแปลงด้านกฎระเบียบต่างๆของการค้าต่างประเทศ อย่างรวดเร็วและมีประสิทธิภาพ การป้องกันและแก้ปัญหาทางการค้าเชิงรุก ที่มา: European commission; McKinsey analysis 16
รายละเอียด พัฒนาระบบโลจิสติกส์การค้าให้มีประสิทธิภาพสูงสุด 8 8A • ลดขั้นตอน เอกสาร และความซับซ้อนของการปฏิบัติงานด้านศุลกากรและการส่งออกเพื่อลดเวลาในการดำเนินการ • เพิ่มประสิทธิภาพในการตรวจสอบสินค้าโดยการพัฒนาอุปกรณ์และเครื่องมือต่างๆในการตรวจสอบให้พร้อมใช้งานและเข้าถึงได้โดยง่าย พัฒนาสิ่งอำนวยความสะดวกทางการค้า 8B • ให้ความรู้แก่ทุกหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในห่วงโซ่อุปทานในเรื่องการพัฒนาประสิทธิภาพ และอำนวยความสะดวกในการปฏิบัติงาน • พัฒนาประสิทธิภาพของกระบวนการในระบบห่วงโซ่อุปทานแบบ end-to-end โดยการตั้งเป้าไปที่สินค้าที่สำคัญๆ อาทิ ช่วยเหลือจัดการด้านการรวบรวมสินค้าให้ได้จำนวนมากเพื่อลดต้นทุนการขนส่ง หรือการจัดหาสินค้าให้รถขนส่งในเที่ยวกลับ การจัดตั้ง Agricultural Cargo Airlineเป็นต้น พัฒนาประสิทธิภาพของระบบห่วงโซ่อุปทาน 8C • สร้างสภาพแวดล้อมที่เหมาะสมเพื่อรองรับการเติบโตทางธุรกิจทางด้านโลจิสติกส์ อาทิ การจัดตั้งกองทุน การส่งเสริมและพัฒนาประสิทธิภาพ การสร้างเครือข่าย และการให้สิ่งจูงใจ • ส่งเสริมและให้ความรู้แก่ผู้ประกอบการให้ได้ใช้ประโยชน์จากระบบสาธารณูปโภคขั้นพื้นฐานที่มีอยู่ได้อย่างสูงสุด และวางกลยุทธ์ให้ไทยเป็นฐานของโลจิสติกส์ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ส่งเสริมธุรกิจโลจิสติกส์ ที่มา: ทีมวิจัย – แผนการพัฒนากลยุทธ์ด้านลอจิสติกส์ กระทรวงพาณิชย์
ผู้รับผิดชอบหลักในแต่ละประเด็นยุทธศาสตร์ผู้รับผิดชอบหลักในแต่ละประเด็นยุทธศาสตร์ ยุทธศาสตร์หลัก ผู้รับผิดชอบ ผู้สนับสนุน สอ. พค. / ทป. ขับเคลื่อนเศรษฐกิจด้วยธุรกิจบริการ 1 สอ. ทป. / คน. / คต. / สป. ผลิตสินค้าและบริการตามความต้องการของตลาด 2 พค. สอ. / ทป. / สป. พัฒนาธุรกิจอย่างครบวงจร 3 สอ. พค. / ทป. / คต. / จร. ส่งเสริมธุรกิจไทยสู่สากล มุ่งสร้าง Supply Chain และ Value Creation 4 คน. จร. / สป. พัฒนาและเสริมสร้างตลาดในประเทศให้มีประสิทธิภาพ เสรี และเป็นธรรม 5 คน. สอ. /คต. / จร. / สป. / ทป. มุ่งพัฒนาตลาดสินค้าเกษตรและเพิ่มมูลค่าทางการค้า 6 คต. สอ. / จร. / ทป. ใช้ข้อตกลงทางการค้าให้เกิดประโยชน์สูงสุด และเป็นการเพิ่มทางเลือก 7 สอ. พค. / คต. / คน. / สป. พัฒนาระบบโลจิสติกส์การค้าให้มีประสิทธิภาพสูงสุด 8 ที่มา: งานประชุมสัมนาเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การจัดลำดับความสำคัญของแผนยุทธศาสตร์กระทรวงพาณิชย์ (วันที่ 31 มกราคม พ.ศ. 2551)