1 / 42

การอนุรักษ์พลังงานของเครื่องปรับอากาศที่ควบคุมด้วยระบบ VRF(Variable Refrigerant Flow) และระบบ VAV(Variable Air Volume

การอนุรักษ์พลังงานของเครื่องปรับอากาศที่ควบคุมด้วยระบบ VRF(Variable Refrigerant Flow) และระบบ VAV(Variable Air Volume). ดร. วีระพล โมนยะกุล ผู้อำนวยการโครงการวิจัยและพัฒนาเครื่องปรับอากาศที่ควบคุมด้วยอินเวอร์เตอร์เพื่อการอนุรักษ์พลังงาน. หัวข้อที่บรรยาย.

jaron
Télécharger la présentation

การอนุรักษ์พลังงานของเครื่องปรับอากาศที่ควบคุมด้วยระบบ VRF(Variable Refrigerant Flow) และระบบ VAV(Variable Air Volume

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การอนุรักษ์พลังงานของเครื่องปรับอากาศที่ควบคุมด้วยระบบ VRF(Variable Refrigerant Flow) และระบบ VAV(Variable Air Volume) ดร. วีระพล โมนยะกุล ผู้อำนวยการโครงการวิจัยและพัฒนาเครื่องปรับอากาศที่ควบคุมด้วยอินเวอร์เตอร์เพื่อการอนุรักษ์พลังงาน

  2. หัวข้อที่บรรยาย • การประหยัดพลังงานของเครื่องปรับอากาศที่ควบคุมด้วยอินเวอร์เตอร์ • ระบบของ refrigerant flow • ระบบของ Air flow control • ความสบายที่เพิ่มขี้นจากการใช้เครื่องปรับอากาศที่ควบคุมด้วยอินเวอร์เตอร์ • การควบคุมอุณหภูมิ • การควบคุมความชื้น

  3. ที่มาและเหตุผลของการพัฒนาที่มาและเหตุผลของการพัฒนา • เพื่อการประหยัดพลังงานไฟฟ้า • ความสามารถประหยัดค่าไฟได้ประมาณ 30% • เพื่อความสบายที่เพิ่มขี้น • ความสามารถควบคุมอุณหภูมิให้อยู่ในช่วง +/- 0.2 องศา • ความสามารถควบคุมความชื้นได้เหมาะสม

  4. ความจำเป็นของการใช้พลังงานอย่างมีประสิทธิภาพความจำเป็นของการใช้พลังงานอย่างมีประสิทธิภาพ การใช้พลังงานไฟฟ้าของประเทศไทย 16,000 MW 30%ถูกใช้โดยเครื่องปรับอากาศ 4,800 MW 60%เป็นเครื่องปรับอากาศขนาดเล็ก หากประหยัดได้ 30% คิดเป็น 864 MW คิดเป็นเงินประหยัดได้ต่อปี 7,568 ล้านบาท (864,000 x 8 x 365 kWh x 3.-/kWh) 4,000,000 units x 1.5 kW => 6,000 MW x 0.3 x 50%=> 900 MW

  5. เทคโนโลยีคอมเพรสเซอร์ของเครื่องปรับอากาศเทคโนโลยีคอมเพรสเซอร์ของเครื่องปรับอากาศ • 3 phase induction motor(high frequency) • Brushless DC motor (BLDC) • 3 &1 phase induction motor (low Frequency)

  6. 90% for partial load

  7. Power = Torque x Speed

  8. Capacity and power input curves for an air conditioning compressor Condensing temp at 115 F Evaporating temp at 30 F Capacity 118,000 Btu at 12 kW EER = 9.8 Btu/W Evaporating temp at 50 F Capacity 175,000 Btu at 13.8 kW EER = 12.68 Btu/w

  9. Capacity and power input curves for an air conditioning compressor Evaporating temp at 45 F Condensing temp at 145 F Capacity 128,000 Btu at 16 kW EER = 8 Btu/W Condensing temp at 115 F Capacity 160,000 Btu at 13.3 kW EER = 12.03 Btu/w

  10. P-h diagram

  11. Calorimeter room

  12. การสร้างสัญญาณ Pulse width modulation, PWM

  13. อุณหภูมิที่มีการเปลี่ยนแปรในห้องปรับอากาศอุณหภูมิที่มีการเปลี่ยนแปรในห้องปรับอากาศ

  14. Single phase induction motor (permanent split phase capacitor motor)

  15. ข้อกำหนดกฎเกณฑ์ฮาร์มอนิกโดย คณะกรรมการปรับปรุงความเชื่อถือได้ของระบบไฟฟ้า • การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย • การไฟฟ้านครหลวง • การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค

  16. Power Factor Correction (PFC) Rectifier

  17. Current and voltage waveform

  18. Harmonic spectrum

  19. Passive filter

  20. Current and voltage waveform

  21. Harmonic spectrum

  22. Variable Air Volume

  23. Classical feedback control

  24. END ดร.วีระพล โมนยะกุล E-mail V_monyakul@yahoo.com Mobile: 081-8133453

More Related