1 / 39

01402461 Plant Biochemistry

1. 01402461 Plant Biochemistry. ชีวเคมีของพืช ภาคปลาย 2555. 2. Textbook. Florence K. Gleason 2012 ร้าน PBFORBOOK เล่มละ 950 บาท. 3. Website. ชีวเคมี กำแพงแสน biochem.flas.kps.ku.ac.th. 4. 5 พ.ย. 55. แนะนำรายวิชา. 5. 12 พ.ย. 55. Primary Cell Walls ผนังเซลล์ปฐมภูมิ

jeb
Télécharger la présentation

01402461 Plant Biochemistry

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. 1 01402461Plant Biochemistry ชีวเคมีของพืช ภาคปลาย 2555

  2. 2 Textbook • Florence K. Gleason 2012 ร้าน PBFORBOOK เล่มละ 950 บาท

  3. 3 Website • ชีวเคมี กำแพงแสน biochem.flas.kps.ku.ac.th

  4. 4 5 พ.ย. 55 • แนะนำรายวิชา

  5. 5 12 พ.ย. 55 • Primary Cell Walls ผนังเซลล์ปฐมภูมิ • ผนังเซลล์เป็นลักษณะสำคัญของเซลล์พืช • ค้ำจุนสร้างความแข็งแรงให้เนื้อเยื่อ ท่อลำเลียง • ป้องกันการรุกรานของเชื้อโรค สัตว์กินพืช • สร้างจากสารที่ได้ในกระบวนการสังเคราะห์แสง • องค์ประกอบหลักเป็นเซลลูโลส

  6. 6 เซลลูโลส • เซลลูโลส คือ กลูโคสที่มาเชื่อมต่อกันด้วยพันธะ β-1,4 • สายเซลลูโลสประกอบกันเป็นเส้นใยย่อย fibril • ไฟบริล ฝังอยู่ใน matrix ของเฮมิเซลลูโลสกับเพคติน • พันธะไฮโดรเจนและพันธะไอออนิก ช่วยรักษาความแข็งแรงของผนังเซลล์

  7. 7 การสังเคราะห์เซลลูโลส • อาศัยเอนไซม์ cellulose synthase • ใช้ UDP-glucoseเป็น substrate • การสร้าง UDP-glucose ใช้ปฏิกิริยา 2 ชนิด คือsucrose synthaseและUDP-glucose pyrophosphorylase • นอกจากนี้เอนไซม์ invertase ก็ใช้สร้างกลูโคสได้ด้วย • Cellulose synthase สร้างมาจากยีน cesA

  8. 8 • Cellulose synthase ทำหน้าที่ขนส่งกลูโคสไปต่อกับปลายโมเลกุลของเซลลูโลสที่มีอยู่แล้ว • เอนไซม์ฝังตัวอยู่ในเยื่อหุ้มเซลล์ • การทำเอนไซม์ให้บริสุทธิ์ทำได้ยากเพราะไม่ค่อยละลายน้ำและมีโมเลกุลใหญ่ • ส่วนใหญ่จะศึกษากันในแบคทีเรีย เช่น Bacillusและ Acetobacter • เอนไซม์ประกอบด้วย กรดอะมิโนราว 1,100 หน่วย

  9. 9 Callose • แคลโลส • กลูโคสมาต่อกันด้วยพันธะ β-1,3 และมีกิ่งด้วย • ใช้เอนไซม์ที่สร้างจากยีน calS • พืชสร้างแคลโลสจากความเครียดและรอยแผล

  10. 10 Wall Matrix • ประกอบด้วย sugar polymers • สังเคราะห์โดยใช้เอนไซม์ glycosyltransferase ที่อยู่ในเมมเบรนของ ER หรือ Golgi apparatus • Matrix ประกอบด้วยสาร 2 กลุ่มคือ hemicelluloseกับ pectin

  11. 11 Hemicellulose • แยกออกมาจากผนังเซลล์ได้โดยใช้เบสแก่ • ประกอบด้วย xyloglucan กับ xylan • สร้างพันธะไฮโดรเจนกับไฟบริลได้ • ช่วยให้ไฟบริลยืดหยุ่นมากขึ้น ไม่จับกันแน่น

  12. 12 Pectin • แยกออกมาจากผนังเซลล์ได้โดยใช้ EDTA • ประกอบด้วย กรด galacturonic • มี 4 ชนิด • Homogalacturonan • Rhamnogalacturonan I • Rhamnogalacturonan II • Xylogalacturonans & apiogalacturonan

  13. 13 Pectin • หน้าที่ของ pectin • เพิ่มความแข็งแรงของผนังเซลล์ • ควบคุมความพรุน (porosity) ของผนังเซลล์ • ควบคุมการผ่านเข้าออกของน้ำและสารโมเลกุลเล็ก • เชื่อมเซลล์เข้าด้วยกัน

  14. 14 Protein • เอนไซม์ • Kor (endo-1,4-β-glucanase) ทำให้ผนังเซลล์หลวมขึ้น • Peroxidase สร้าง cross-links ระหว่างคาร์โบไฮเดรตกับโปรตีนโครงสร้าง ทำให้ผนังเซลล์แข็งแรงขึ้น • Wall kinase ทำหน้าที่เกี่ยวกับ signal transduction เมื่อถูกเชื้อโรครุกราน

  15. 15 Protein • โปรตีนโครงสร้าง • Extensins สร้าง cross-link กับโปรตีนอื่น ๆ ของผนังเซลล์ เป็นด่านป้องกันเชื้อโรค • Expansins จับกับไฟบริล ทำให้ไม่เกิดพันธะ noncovalent ใน matrix ช่วยให้ผนังเซลล์หลวมขึ้น

  16. 16 12 พ.ย. 55 (ต่อ) • การสังเคราะห์แสง (light reaction) • สิ่งมีชีวิตกำเนิดขึ้นมา 3.5-3.0 พันล้านปีมาแล้ว • ออกซิเจนทำให้เกิดโอโซน ป้องกันรังสี UV • สิ่งมีชีวิตพวกแรก ๆ ใช้ H2S แทน H2O เป็นตัวให้อิเล็กตรอน ได้ผลิตภัณฑ์เป็นกำมะถัน • การทดลองของ Ruben กับ Kamen โดยใช้ 18O พิสูจน์ว่า O2มาจากน้ำ

  17. 17 Photosynthetic Pigments • Chlorophyll a • ประกอบด้วย tetrapyrrole ring มี Mg เป็นอะตอมกลาง • มี phytol side-chain ซึ่งเป็นส่วน hydrophobic ทำให้คลอโรฟิลล์ไม่ค่อยละลายน้ำ

  18. 18 Photosynthetic Pigments • Chlorophyll b • พบมากใน angiosperms มีหมู่ aldehyde แทนหมู่ methyl • ช่วยเสริมการดูดแสงกับ chlorophyll a ทำให้มีช่วงที่ดูดแสงได้กว้างขึ้น (แต่ก็ยังดูดช่วงสีเขียวไม่ได้)

  19. 19 Accessory Pigments • Lycopene และ β-carotene • เป็นพวก carotenoids ประกอบด้วย 40-C • ดูดกลืนแสงในช่วงสีม่วงน้ำเงิน • ช่วยเสริมการดูดกลืนแสงและป้องกันองค์ประกอบสังเคราะห์แสงจากการทำลายของรังสีที่มากเกินไป (ป้องกัน photo-oxidative damage)

  20. 20 Origin of the Z-Scheme • Emerson Enhancement • พิสูจน์ว่า มี Photosystem 2 ชุด เสริมการทำงานกัน เพราะเมื่อฉายแสงในช่วงความยาวคลื่น 2 ความยาวคลื่น คือ 680 และ 700 nm พร้อมกัน จะทำให้อัตราการสังเคราะห์แสงสูงกว่าผลรวมของอัตราที่เกิดจากการฉายแสงทีละความยาวคลื่นมาก

  21. 21 Photosynthesis inhibitors • Paraquat • ยับยั้งการขนส่งอิเล็กตรอนจาก PSI โดยรับอิเล็กตรอนจาก PSI และยับยั้งการรีดิวซ์ ferredoxin กับ NADP • นอกจากนี้ยังขนส่งอิเล็กตรอนไปยังออกซิเจน ทำให้เกิด superoxide และ hydroxyl radicals ทำลายเมมเบรน

  22. 22 19 พ.ย. 55 • Carbon Dioxide Fixation • กระบวนการสังเคราะห์แสงประกอบด้วย ปฏิกิริยา redox 2 ปฏิกิริยา คือ light reactionกับ dark reaction • Light reaction เปลี่ยนพลังงานแสงเป็นพลังงานเคมี ในรูปของ NADPH และ ATP • Dark reaction เป็นการรีดิวซ์ CO2เป็นคาร์โบไฮเดรต โดยใช้พลังงานใน NADPH และ ATP

  23. 23 • การศึกษากระบวนการตรึง CO2ทำได้ยาก เพราะองค์ประกอบที่ละลายน้ำได้จะสูญหายไปถ้า Outer membrane เสียหาย • ส่วนมากงานวิจัยจะศึกษาในสาหร่ายเซลล์เดียว เช่น Chlorella sp. • M.Calvin, A. Benson, J. Bassham และทีมงานศึกษาโดยใช้ 14C พบว่าสารตัวแรกของกระบวนการ fixation คือ สารประกอบ 3 C “glyceric acid-3-phosphate”

  24. 24 • C-3 pathway มักจะเรียกว่า dark reaction เพราะไม่มีแสงเข้ามาเกี่ยวข้องโดยตรง • แต่ถ้าไม่มีแสง ก็จะมี NADPH กับ ATP ไม่เพียงพอสำหรับการตรึง CO2 • นอกจากนี้เอนไซม์ใน C-3 pathway ยังต้องการการกระตุ้นด้วยแสง และถ้าอยู่ในที่มืดสนิทจะทำงานได้ช้า • ดังนั้นการเรียกว่า dark reaction ทำให้เข้าใจผิด

  25. 25 C-3 cycle • C-3 cycle แบ่งออกเป็น 3 กระบวนการ • การเกิด carboxylation ของ ribulose-bis-phosphate (RuBP) ได้ 2 โมเลกุลของ glyceric acid-3-phosphate • การ reduction ของ glyceric acid-3-phosphate เป็น glyceraldehyde-3-phosphate (GAP) • การเกิด metabolism ของ GAP ต่อไป และกลับมาเป็น RuBP อีกครั้ง

  26. 26 Carboxylation • Rubisco • คือเอนไซม์ ribulose bisphosphate carboxylase ซึ่งจัดเป็นโปรตีนที่มีมากที่สุดในโลก • ประกอบด้วย L กับ S subunits • ยีนสำหรับ L อยู่ใน chloroplast genome ส่วน S อยู่ใน nuclear genome • มีการโคลนเข้าไปใน E.coliแต่ไม่ค่อยทำงาน

  27. 27 Structure of Rubisco • Structure of Rubisco • มีการศึกษาใน purple nonsulfur bacteria พบว่าประกอบด้วย L 2 subunits • ส่วนการศึกษาในพืช เช่น ผักปวยเล้ง (spinach) พบว่าเป็นแบบ L8S8 • กระบวนการ photorespiration เกิดขึ้นจาก Rubisco ไปจับกับ O2 ได้ด้วย ทำให้เกิดความสูญเสีย ลดประสิทธิภาพการสังเคราะห์แสง

  28. 28 Structure of Rubisco • Specificity Factor of Rubisco • Relative specificity factor หมายถึงสัดส่วนของประสิทธิภาพในการเร่งปฏิกิริยาของ Rubisco ในการทำหน้าที่เป็น carboxylase เทียบกับการทำหน้าที่เป็น oxygenase

  29. 29 CO2 Concentrating Mechanisms • C-4 Pathway • H. Hatch และ R. Slack ได้ทดลองในอ้อย พบว่าสารตัวแรกที่ติดฉลากด้วย 14C ที่เป็นผลิตภัณฑ์ในกระบวนการสังเคราะห์แสง มี 4 คาร์บอน แทนที่จะเป็น 3 คาร์บอน • พืช C4 ส่วนมากเป็นพวก monocots เช่นพวกหญ้า อ้อย ข้าวโพด

  30. 30 CO2 Concentrating Mechanisms • พืช C4 ไม่ค่อยมี chloroplast บริเวณ mesophyll cells • มี Kranz anatomy มองเห็นคล้ายพวงหรีดบริเวณ bundle sheath cells • ปัจจุบันมีความพยายามเปลี่ยนข้าวให้เป็นพืช C4 (อ่านเพิ่มเติมได้ใน Wikipedia)http://en.wikipedia.org/wiki/C4_carbon_fixation

  31. 31 26 พ.ย.55บทที่ 3 • บทที่ 3 การสะสมและการใช้ประโยชน์จากสารประกอบคาร์บอน • Light reaction ใช้พลังงานแสงอาทิตย์เปลี่ยนเป็นพลังงานเคมีในรูปของ ATP และ reduced cofactor • C-3 cycle ใช้พลังงานนี้ในการตรึง CO2ในบรรยากาศ ให้อยู่ในรูปของน้ำตาล

  32. 32 • น้ำตาลที่ได้ นำไปใช้เป็นตัวกลางในการสังเคราะห์สารอื่น ๆ ต่อไป โดยอยู่ภายในส่วน stroma ของคลอโรพลาสต์ • คาร์บอนที่มากเกินพอ ก็นำมาสังเคราะห์เป็นแป้งและเก็บสะสมไว้ในพลาสติด และนำออกมาใช้ประโยชน์ได้ • สารตัวกลางใน C-3 cycle ยังส่งออกไปสังเคราะห์น้ำตาลซูโครสในไซโตพลาซึม

  33. 33 แป้ง (starch) • เป็นโพลิเมอร์ของกลูโคส อยู่ภายในพลาสติด • ประกอบด้วย amylose กับ amylopectin • แป้งมีองค์ประกอบส่วนใหญ่เป็น amylopectin • การสังเคราะห์แป้งเกิดขึ้นในใบ ในส่วน stroma ของคลอโรพลาสต์ • สารตั้งต้นคือ F6P • ดูโครงสร้างของแป้งในภาพ 3.10

  34. 34 การสังเคราะห์ซูโครส • เกิดขึ้นในไซโทพลาซึม • ซูโครส เป็นน้ำตาลที่ใช้ขนส่งในพืชมากที่สุด • จัดเป็นน้ำตาลที่เฉื่อย และไม่ใช่น้ำตาลรีดิวซ์ • ถูกย่อยด้วย invertase กลับเป็น Glc และ Fru • ดู pathway การสังเคราะห์น้ำตาลซูโครสในภาพที่ 3.12

  35. 35 17 ธ.ค. 55 บทที่ 5 • บทที่ 5 N & S Metabolism • สารอนินทรีย์ที่พืชต้องการแบ่งออกเป็น macronutrient กับ micronutrient • Macronutrient: N P K S • Micronutrient: Cl B Fe etc. • สารที่มี N เป็นองค์ประกอบ เช่น กรดอะมิโน กรดนิวคลีอิก และโคแฟกเตอร์ต่าง ๆ เช่น NADP biotin

  36. 36 Nitrate Assimilation • Nitrate (NO3-) ละลายน้ำได้ดี และพืชนำไปใช้ได้ โดยเฉพาะในดินที่เป็นด่าง • Ammonia (NH4+) มักจะจับกับอนุภาคดินที่เป็นประจุลบ ทำให้นำไปใช้ได้ไม่ค่อยดี • การขนส่งไนเตรท ใช้วิธี active transport โดยมีโปรตีนสำหรับขนส่ง คือ HAT และ LAT • การขนส่งแอมโมเนียจากราก สามารถเก็บไว้ใน vacuole ได้ แต่ไม่ขนส่งไปที่ใบ

  37. 37 Nitrate Processing • การเปลี่ยนไนเตรทเป็นแอมโมเนียและกรดอะมิโน เกิดขึ้นในเนื้อเยื่อสังเคราะห์แสง • เอนไซม์ตัวแรกคือ nitrate reductase เปลี่ยนไนเตรทเป็นไนไตรท์ พบใน cytoplasm ของ mesophyll cell • ไนไตรท์ เป็นสารที่ไม่เสถียร และจะเปลี่ยนเป็นแอมโมเนียโดยใช้เอนไซม์ nitrite reductase

  38. 38 Nitrogen Fixation • เฉพาะ prokaryote เท่านั้นที่ตรึงไนโตรเจนได้ • ใช้เอนไซม์ nitrogenase • เอนไซม์ nitrogenase ต้องทำงานในสภาวะที่ไม่มีออกซิเจน • เป็นปฏิกิริยาเปลี่ยน N2เป็น NH3 โดยใช้พลังงานจาก ATP • Heterocysts ของ Nostoc ทำหน้าที่ตรึงไนโตรเจนโดยเฉพาะ

  39. 39 Sulfate Assimilation • ส่วนมากเกี่ยวข้องกับกรดอะมิโน Cys และ Met • การสังเคราะห์สารกลุ่ม Glucosinolate ตั้งต้นจากกรดอะมิโน Cys • Progoitrin สังเคราะห์จาก Brassica napusสายพันธุ์พื้นเมือง มีฤทธิ์ยับยั้งการดูดซึมไอโอดีน • Alliin พบในหอมและกระเทียม

More Related