1 / 53

Digestive System

Digestive System. Feed and Feeding. กระบวนการย่อยอาหาร ( digestion). แบ่งได้เป็น 3 ประเภทด้วยกัน คือ การย่อยโดยวิธีกล ( mechanical digestion) ได  แก  การเคี้ยวอาหารในปาก การบดอาหารในส่วนของกระเพาะบด ( gizzard) ของสัตว์ปีก

konala
Télécharger la présentation

Digestive System

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. Digestive System Feed and Feeding

  2. กระบวนการย่อยอาหาร (digestion) แบ่งได้เป็น 3 ประเภทด้วยกัน คือ • การย่อยโดยวิธีกล (mechanical digestion)ไดแก การเคี้ยวอาหารในปาก การบดอาหารในส่วนของกระเพาะบด (gizzard) ของสัตว์ปีก • การย่อยโดยวิธีเคมี (chemical digestion) เป็นการย่อยอาหารโดยอาศัยเอ็นไซม์จากส่วนต่างๆ ของอวัยวะย่อยอาหาร และอวัยวะที่เกี่ยวข้อง • การย่อยโดยจุลินทรีย์ (microbial digestion) โดยเอนไซม์จากจุลินทรียที่อาศัยอยู่ในส่วนของกระเพาะรูเมนและลำไส้ใหญ่

  3. 1. สัตว์กระเพาะเดี่ยว ไดแก สัตว์กินเนื้อ (carnivorous) เช่น เสือ สิงโต เป็นต้น สัตว์กินพืช (herbivorous) เช่น ช้าง กระต่าย เป็นต้น และสัตว์ที่กินเนื้อและเมล็ดธัญพืช (omnivorous) เช่น สุกร สัตว์ปีก เป็นต้น • 2. สัตว์กระเพาะรวม เป็นสัตว์ที่ท่อทางเดินอาหารมีการพัฒนามาก เพื่อให้เหมาะสมกับอาหารที่กินคืออาหารที่มีเยื่อใยสูง ไดแก โค กระบือ แพะ และ แกะ เป็นต้น

  4. ท่อทางเดินอาหาร ท่อทางเดินอาหาร ในสัตว์แต่ละชนิดประกอบด้วย • ปาก (mouth) • คอหอย (pharynx) • หลอดอาหาร (esophagus) • กระเพาะอาหาร (stomach) • ลำไส้เล็ก (small intestine) • ลำไส้ใหญ่ (large intestine)

  5. สัตว์ปีก (Avian) • 1. ปาก (Mouth) • 2. คอหอย (Pharynx) • 3. หลอดอาหาร (Esophagus) • 4. ถุงพักอาหาร (Crop) • 5. กระเพาะอาหาร (Proventiculus) • 6. กึ๋น (Gizzard) • 8. ลำไส้ใหญ่ (Colon) • 9. ทวาหนัก (Anus)

  6. สัตว์เคี้ยวเอื้อง (Ruminants) • 1. ปาก (Mouth) • 2. คอหอย (Pharynx) • 3. หลอดอาหาร (Esophagus) • 4. รูเมน (rumen) • 5. เรติคูลัม (reticulum) • 6. โอมาซัม (omasum) • 7. กระเพาะจริง (abomasum) • 7. ลำไส้เล็ก (Intestine) ทำหน้าที่ย่อยทางเคมี และดูดซึมสารอาหาร • 8. ลำไส้ใหญ่ (Colon) ทำหน้าที่กำจัดกากอาหารออกนอกร่างกาย • 9. ทวารหนัก (Anus) เป็นช่องเปิดปลายสุดของลำไส้ใหญ่ ทำหน้าที่ขับถ่ายกากอาหาร

  7. ปาก (Mouth) • ปากประกอบด้วย • ริมฝีปาก (lips) • ลิ้น (tongue) • ฟน (teeth) • เพดานปาก • ตอมน้ำลาย (salivary glands)

  8. ปากและฟัน (Mouth and Teeth)

  9. ฟน (Teeth) • สัตว์ชั้นสูงส่วนใหญ่มีฟันอยู่ 2 ชุด คือฟันน้ำนม และ ฟันแท้ • 1.ฟันน้ำนม (deciduous teeth) หมายถึงฟันชุดที่งอกขึ้นมาตั้งแต่แรกเกิดมีทั้งหมด 20 ซี่ และจะหลุดออกไปเมื่อมีฟันแท้ขึ้นมาแทนที่ • 2.ฟันแท้ (permanent teeth) หมายถึง ฟันชุดที่เจริญขึ้นมาแทนที่ฟันน้ำนมเมื่อสัตว์เจริญเติบโต มีทั้งหมด 32 ซี่ • โดยสัตว์ปีกจะไม่มีฟัน • โคจะไม่มีฟันหน้าบนและฟันเขี้ยว

  10. ลิ้น (Tongue) • มีตุ่มรับรส และทำหน้าที่คลุกเคล้าอาหารในช่องปาก • ลิ้นสามารถรับรสได้ 4 รส • รสหวาน อยู่บริเวณปลายลิ้น • รสเค็ม อยู่บริเวณปลายลิ้นและข้างลิ้น • รสเปรี้ยว อยู่บริเวณข้างลิ้น • รสขม อยู่บริเวณโคนลิ้น โดยสัตว์ปีกจะไม่มีตุ่มรับรสบนลิ้น

  11. ต่อมน้ำลาย (Salivary glands) • - Parotid gland เป็นต่อมน้ำลายข้างกกหู ซึ่งมีขนาดใหญ่สุด • - Submaxillary gland พบอยู่ใต้ต่อมน้ำลายข้างกกหู • - Sublingual gland พบอยู่ใต้ลิ้น เป็นต่อมน้ำลายขนาดเล็กสุด • - ในน้ำลายมีเอนไซม์ไทยาลินเปน ส่วนประกอบ ช่วยในการ่อยอาหารประเภทแปง

  12. ต่อมน้ำลาย (Salivary glands)

  13. คอหอย หรือ หลอดคอ (Pharynx) • คอหอยเป็นท่อเปิดร่วมระหว่างทางเดินหายใจและระบบทางเดินอาหาร • มีส่วนของ epiglottis ทำหน้าที่ปิดส่วนของระบบหายใจ (หลอดลม) • เมื่อสัตว์หายใจ epiglottis จะปิดช่องระหว่างลำคอกับหลอดอาหารทำให้อากาศที่หายใจผ่านช่องจมูกเข้าสู่หลอดลมไดสะดวก

  14. หลอดอาหาร (Esophagus) • เป็นท่อทางเดินอาหารที่เชื่อมต่อระหว่างคอหอยกับกระเพาะอาหาร ส่วนต้น (cardiac) • บริเวณรอยต่อระหว่างหลอดอาหารกับกระเพาะมีกล้ามเนื้อหูรูด (cardiac sphincter) ทำหน้าที่ควบคุมการเขาออกของอาหารสูกระเพาะ

  15. หลอดอาหาร (Esophagus)

  16. กระเพาะอาหาร (Stomach) • กระเพาะอาหารของสัตว์กระเพาะเดี่ยว

  17. กระเพาะอาหารสัตวกระเพาะเดี่ยวกระเพาะอาหารสัตวกระเพาะเดี่ยว • จะรับอาหารจากหลอดอาหาร และคลุกเคล้ากับน้ำย่อยจากกระเพาะให้เป็นของเหลวเรียกว่า chyme ก่อนที่เคลื่อนลงสู่ลำไส้เล็กส่วนต้น • สามารถแบ่งออกได้เป็น 3 สวน คือ • Cardiac Region • Fundus • Pylorus

  18. กระเพาะอาหารของสัตวเคี้ยวเอื้องกระเพาะอาหารของสัตวเคี้ยวเอื้อง แบ่งออกเป็น 4 สวน • กระเพาะรูเมน หรือ กระเพาะผ้าขี้ริ้ว (rumen) • กระเพาะรังผึ้ง (reticulum) • กระเพาะส่วนสามสิบกลีบ (omasum) • กระเพาะแท้ (abomasum)

  19. Rumen • มีความจุประมาณ 80%ของกระเพาะทั้งหมด • อยู่ติดกับผนังด้านซ้ายของช่องท้อง • ผนังภายในประกอบด้วยแผ่นเล็กๆเรียกว่า Papillae • ทำหน้าที่คลุกเคล้าอาหารและดูดซึม VFA

  20. Reticulum • เป็นถุงขนาดเล็ก ผนังภายในมีลักษณะคล้ายรังผึ้ง • มีความจุประมาณ 5%ของกระเพาะทั้งหมด • อยู่ติดกับส่วนหน้าของกระเพาะรูเมน โดยมีผนังกันrumino-reticular fold ซึ่งปิดไม่สนิท

  21. Omasum • กระเพาะส่วนนี้อยู่ติดกับผิวบนส่วนหน้าของกระเพาะรูเมน • มีลักษณะเป็นรูปกลมและมีปริมาตรความจุประมาณ7-8%ของกระเพาะทั้งหมด • ลักษณะภายในมีลักษณะเป็นแผ่นซึ่งเรียกว่า laminae ซึ่งบนผิวของแผ่นเหล่านี้มีปุ่มอยู่ทั่วทั้งแผ่น • กระเพาะส่วนนี้ทำหน้าที่ดูดเอาของเหลวในอาหารกลับ

  22. Abomasum • กระเพาะจริงอยู่ติดด้านขวาของกระเพาะรูเมนและอยู่ติดกับพื้นล่างของช่องท้อง • ทางเปิดเชื่อมต่อจากกระเพาะ omasum • ภายในมีต่อมที่สามารถผลิตน้ำย่อยกระจายอยู่ตามเนื้อเยื่อเมือก • ส่วนปลายของกระเพาะเปิดเข้าสู่ลำไส้เล็กมีกล้ามเนื้อหูรูด (pyloric-orifice)

  23. ขบวนการเคี้ยวเอื้อง • Regurgitation= การขยอกอาหารจากกระเพาะหมักกลับไปที่ปาก • Swallowing = การกลืนกลับของเหลวลงที่ท้อง • Remastication = การเคี้ยวอาหารที่ขยอกออกมาให้ละเอียด • Reinsalivation= การเคี้ยวและการขับหลั่งน้ำลาย • Reswallowing = การกลืนอาหารกลับลงสู่กระเพาะหมัก

  24. ลําไสเล็ก (small intestine) ผนังของลำไส้เล็กจะมี microvilli ทำหน้าที่ช่วยในการดูดซึมโภชนะ ซึ่งลำไส้เล็กแบ่งออกเป็น 3 ส่วนคือ แบ่งเป็น 3 ส่วนคือ • ลำไส้เล็กส่วนต้น (duodenum) • เจจูนัม (Jejunum) • ไอเลียม (Ileum)

  25. ลำไส้ใหญ่ • ทำหน้าที่ดูดซึมน้ำและแรธาตุที่จำเป็นต่อร่างกาย • ถ้ามีเชื้อโรคเข้าสู่ลำไส้ใหญ่ จะทำให้ลำไส้ใหญ่ดูดน้ำกลับสู่เลือดไม่ได้ ทำให้เกิดโรคท้องเดิน (Diarrhea) • และถ้ากากอาหารอยู่ในลำไส้ใหญ่นานเกินไป จะถูกลำไส้ใหญ่ดูดน้ำออกมามาก ทำให้เกิดโรคท้องผูก (Constipation) • ลำไส้ใหญ่มีความยาวประมาณ 1.5 เมตร แบ่งได้เป็น 3 สวนคือ • สวนไสติ่ง( caecum) • โคลอน (Colon) • ไส้ตรง (Rectum)

  26. อวัยวะที่ชวยในการยอยอาหารอวัยวะที่ชวยในการยอยอาหาร ตับ (liver) • ผลิตน้ำดีเพื่อช่วยในการย่อยไขมันในส่วนลำไส้เล็ก • เกี่ยวข้องกับขบวนการเมตาโบลิซึมของโปรตีน คาร์โบไฮเดรต และไขมัน • ทำหน้าที่กำจัดสารพิษออกจากร่างกาย (detoxification) เช่น การเปลี่ยนรูปของแอลกอฮอล์ให้เป็นน้ำ และคาร์บอนไดออกไซด์ • ทำหน้าที่สร้างเกลือของกรดน้ำดี (bile salt)

  27. ตับออน (pancreas) ทำหน้าที่ผลิตน้ำย่อยสำหรับย่อยโปรตีน คาร์โบไฮเดรต หรือ ไขมัน โดยมีท่อเปิด (pancreatic duct) เข้าสู่ลำไส้เล็กส่วนต้น ซึ่งสารและเอนไซม์ที่สำคัญ ไดแก • โซเดียมไฮโดรเจนคาร์บอเนต (NaHCO3) • เอนไซม์อะไมเลส (Amylase) • เอนไซม์ไลเพส (pancreatic lipase) ทำงานได้ดีที่ pH 8.0

  28. สารและเอนไซม์จากตับอ่อนสารและเอนไซม์จากตับอ่อน • - ทริปซิโนเจน (Trypsinogen) เป็นสารเคมีที่ไม่พร้อมจะทำงาน ต้องอาศัยเอนไซม์เอนเทอโรไคเนส (Enterokinase) จากลำไส้เล็ก • - ไคโมทริปซิโนเจน (Cyhmotrypsinogen) • - โพรคาร์บอกซิเพปทิเดส (Procarboxypeptiddase) ทำหน้าที่ย่อยโปรตีนตรงปลายสุดด้านหมู่คาร์บอกซิลเท่านั้น

  29. ฮอร์โมนจากระบบทางเดินอาหารฮอร์โมนจากระบบทางเดินอาหาร • แกสตริน (Gastrin) • ซีครีติน (Secretin) • โคเลซีสโตไคนิน (Cholecystokinin;CCK) • เอนเทอโรแกสโตรน (Enterogastron)

  30. การย่อยอาหารในปาก • ในสัตว์กระเพาะเดี่ยวการย่อยอาหารในปากเกิดจากการย่อยโดยวิธีกลและวิธีเคมี • เมื่ออาหารถูกนำเขาปากอาหารจะถูกเคี้ยวทำให้มีขนาดเล็กลงมีการคลุกเคล้าอาหารผสมกับน้ำลายเพื่อให้ชิ้นอาหารอ่อนนุ่มและสะดวกในการกลืน • ในสัตว์บางชนิด เช่น สุกร สุนัข และม้า น้ำลายมี เอนไซม์อะไมเลส ทำหน้าที่ในการย่อยคาร์โบไฮเดรตในอาหารได้บางส่วน • ในสัตว์กระเพาะรวมน้ำลายจะไมมีเอนไซม์ย่อยคาร์โบไฮเดรต • ลูกสัตว์จะมีเอนไซม์ที่ใช่ย่อยไขมันในอาหาร คือ เอนไซม์ pregastric lipase ทำหน้าที่ย่อยไขมันในกลุ่มบิวทีริก ซึ่งเอนไซม์นี้จะหมดไปเมื่อลูกสัตว์หย่านม

  31. การย่อยอาหารในกระเพาะอาหารการย่อยอาหารในกระเพาะอาหาร • Cephalic Phase เป็นระยะรับกลิ่น รส หรือนึกถึงอาหาร เส้นประสาท Vagus จากสมองจะกระตุ้นให้กระเพาะเคลื่อนที่และการหลั่งสาร • Gastric Phase เป็นระยะที่ก้อนอาหาร (Bolus) เข้าสู่กระเพาะอาหาร และหลั่งฮอร์โมน Gastrin ไปกระตุ้นให้กระเพาะอาหารหลั่ง HCl ออกมารวมกับ Pepsinogen • Intestinal Phase เป็นระยะที่อาหาร (Chyme) ออกจากกระเพาะอาหารเข้าสู่ลำไส้เล็ก

  32. การย่อยอาหารในลำไสเล็กการย่อยอาหารในลำไสเล็ก • เป็นการย่อยโดยวิธีกลจากการบีบตัวของกล้ามเนื้อเรียบของลำไส้เล็ก • เป็นการย่อยโดยวิธีเคมีที่เกิดจากเอนไซม์ที่ผลิตจากเซลล์เยื่อบุของลำไส้เล็กและเอนไซม์จากตับอ่อน • โภชนะที่ถูกย่อยในลำไสเล็ก ไดแก โปรตีน คาร์โบไฮเดรต ไขมัน ไวตามิน และแรธาตุ

  33. เอนไซม์ในลําไสเล็ก • - Enterokinase ช่วยเปลี่ยน trypsinogen และ procarboxypeptidase ที่หลั่งจากตับอ่อนให้เป็น trypsin และ carboxypeptidase • - เอนไซม์ย่อยคาร์โบไฮเดรต ได้แก่ Amylase, Maltase, Sucrase, Lactase • - Peptidase มีหลายชนิด เช่น Aminopeptidase, Dipeptidase • - เอนไซม์ไลเพส ช่วยย่อยไขมันให้เป็นกรดไขมัน และกลีเซอรอล

  34. การดูดซึมโภชนะ • การดูดซึมแบบไม่ใช้พลังงาน (passive transport) ไดแก • osmosis • diffusion (การแพร) • facilitated diffusion (การแพรแบบมีตัวพา) • การดูดซึมแบบใช้พลังงาน (active transport) • pinocytosis • phagocytosis • active transport

  35. Endocytosis • มี 2 ชนิด คือ • Pinocytosis เป็นกลไกการขนส่งสารเข้าสู่เซลล์โดยการทำให้เยื่อหุ้มเซลล์เว้าเข้าไปในไซโตพลาสซึมจนกระทั่งโมเลกุลของสารนั้นหลุดเข้าไปในเซลล์ในลักษณะถุงเล็กๆ (vesicle) • Phagocytosisเป็นกลไกการขนส่งสารที่เป็นเซลล์ขนาดเล็กเข้าสู่เซลล์โดยการสร้างเท้าเทียมไปโอบหุ้ม จนกระทั่งโมเลกุลของสารนั้นหลุดเข้าไปในเซลล์ในลักษณะถุงเล็กๆ (vesicle)

  36. Osmosis • เป็นการดูดซึมโภชนะโดย โภชนะเคลื่อนที่ไปพรอมกับโมเลกุลของน้ำที่ละลายตัวอยู่ • โดยโภชนะเคลื่อนที่ผ่านผนังเซลล์เมมเบรนของเยื่อบุผิวของระบบทางเดินอาหาร ทางรูผนังเซลล์เยื่อบุทางเดินอาหาร (membrane pore) • เป็นการดูดซึมโดยไม่ใช้ATP

  37. Diffusion • Passive diffusion (การแพร) เป็นการดูดซึมสารโดยการเคลื่อนตัวจะเคลื่อนจากที่ๆมีความเข้มข้นสูงไปสูความเข้มข้นต่ำกว่า • Facilitated diffusion เป็นการขนส่งโภชนะโดยอาศัยตัวพาหรือตัวช่วยขนส่งสาร (carrier) เช่น โคเอนไซม์ต่าง ๆ (coenzyme)

  38. Active transport • เป็นขบวนการผ่านของโภชนะที่มีขนาดโมเลกุลใหญ่ที่ผนังเซลล์เมเบรนโดยใช้ ATP และตัวพา (carrier) • นอกจากนี้จะต้องใช้เอนไซมATPase ดวย • เป็นการขนส่งสารจากที่มีความเข้มข้นต่ำไปยังที่มีความเข้มข้นสูงกว่า • เช่น การดูดซึมน้ำตาลที่ผนังเยื่อบุลำไสเล็ก การดูดซึมกรดอะมิโน และการขนส่ง Na+ ออกจากเซลล์

  39. การดูดซึมคาร์โบไฮเดรตการดูดซึมคาร์โบไฮเดรต

  40. การดูดซึมโปรตีน

  41. การดูดซึมไขมัน

  42. Glycolysis pathway

  43. Glycolysis pathway

  44. Acetyl CoA Synthesis

More Related