460 likes | 984 Vues
Knowledge Management for PEA. College of Arts, Media and Technology 29 June 2007. วัตถุประสงค์ของโครงการ. เพื่อสร้างกระบวนการบริหารจัดการความรู้ให้เกิดขึ้นอย่างเป็นรูปธรรม ในการไฟฟ้าส่วนภูมิภาค
E N D
Knowledge Management for PEA College of Arts, Media and Technology 29 June 2007
วัตถุประสงค์ของโครงการวัตถุประสงค์ของโครงการ • เพื่อสร้างกระบวนการบริหารจัดการความรู้ให้เกิดขึ้นอย่างเป็นรูปธรรม ในการไฟฟ้าส่วนภูมิภาค • เพื่อพัฒนาบุคลากรส่วนหนึ่งของการไฟฟ้าส่วนภูมิภาคให้มีความรู้และทักษะเกี่ยวกับทั้งการจัดการความรู้ การเป็นวิศวกรจัดการความรู้ (Knowledge Engineers) เพื่อรองรับการสร้างระบบบริหารจัดการความรู้ของการไฟฟ้าส่วนภูมิภาคในอนาคต • เพื่อให้ผู้บริหารการไฟฟ้าส่วนภูมิภาคเกิดความเข้าใจและเห็นภาพร่วมกันอย่างชัดเจนเกี่ยวกับกระบวนการระบบบริหารจัดการความรู้ในทางปฏิบัติจริง พร้อมให้การสนับสนุน • เพื่อให้พนักงานในการไฟฟ้าส่วนภูมิภาคเกิดความเข้าใจและสามารถดำเนินการตามกรอบการปฏิบัติของการจัดการความรู้ได้ • เพื่อให้เกิดการขยายผลนำกระบวนการบริหารจัดการความรู้ นำไปใช้ในการจัดการความรู้ ในแต่ละสายงานและทุกหน่วยธุรกิจของ กฟภ.
ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ • เกิดคณะทำงานวิศวกรรมการจัดการความรู้ (Knowledge Engineers) ของกฟภ. มีความรู้ และมีประสบการณ์จริงในการจัดทำระบบจัดการความรู้ • การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค มีระบบจัดการความรู้นำร่อง ที่สามารถนำมาใช้ในการทำงาน เพื่อแก้ปัญหา และสนับสนุนการตัดสินใจ • คณะผู้บริหารการไฟฟ้าส่วนภูมิภาคสามารถใช้ระบบการจัดการความรู้และผลผลิตที่ได้จากโครงการนำร่อง อาทิ Knowledge Mapsและ Knowledge Modelพร้อมทั้ง ระบบเอกสารอ้างอิง (Repository Knowledge)เพื่อใช้ในกระบวนการทำงานที่มีการร่วมมือกันหลายฝ่าย เพื่อการแก้ปัญหา และการตัดสินใจ ได้อย่างมีประสิทธิภาพ และสามารถใช้เป็นแนวทางในการจัดทำ KM แต่ละสายงาน และหน่วยธุรกิจอื่นต่อไป • พนักงานทุกระดับของการไฟฟ้าส่วนภูมิภาคสามารถใช้ระบบการจัดการความรู้และผลผลิตที่ได้จากโครงการนำร่อง อาทิ Knowledge Mapsและ Knowledge Modelพร้อมทั้ง ระบบเอกสารอ้างอิง (Repository Knowledge)เพื่อใช้ในกระบวนการทำงานที่มีการร่วมมือกันหลายฝ่าย เพื่อการแก้ปัญหา และการตัดสินใจ ได้อย่างมีประสิทธิภาพ และสามารถใช้เป็นแนวทางในการจัดทำ KM แต่ละสายงาน และหน่วยธุรกิจอื่นต่อไป
ตัวอย่างกรอบการดำเนินงานตัวอย่างกรอบการดำเนินงาน • การสร้างความรู้ความเข้าใจเรื่อง KM ให้กับบุคลากร • การจัดทำ Pre-Audit เป็นแบบสอบถามความคิดเห็น เพื่อประกอบการตัดสินใจเลือกหัวข้อเรื่องที่จะนำมาดำเนินการเป็นโครงการนำร่องของผู้บริหาร • จัดอบรมสัมมนาให้กับผู้บริหารระดับสูง เพื่อให้ตระหนักถึงความสำคัญ (Awareness) ของการจัดการความรู้ และให้ผู้บริหารระดับสูงสรุปวิสัยทัศน์และกลยุทธ์ของ KM และทำการเลือกหัวข้อความรู้ที่จะนำมาดำเนินการในโครงการนำร่อง (Knowledge Audit) โดยเลือกความรู้ที่มีความสำคัญต่อภารกิจ (Strategic Knowledge) • จัดอบรมสัมมนาให้กับ ผู้บริหารระดับกลาง เพื่อทำให้ตระหนักถึงความสำคัญและเห็นถึงประโยชน์ของการจัดการความรู้ และสร้างความเข้าใจร่วมกับผู้เข้ารับการอบรมถึงหัวข้อความรู้ที่ได้มีการเลือกจากผู้บริหารระดับสูงเพื่อมาดำเนินการในโครงการนำร่อง • จัดให้มีการอบรมสัมมนาเชิงปฏิบัติการ เพื่อสร้างความรู้ความเข้าใจในกระบวนการจัดการความรู้ รวมทั้งพัฒนาบุคลากรส่วนหนึ่งของการไฟฟ้าส่วนภูมิภาคให้สามารถเป็นกลไกสนับสนุนกระบวนการบริหารจัดการความรู้ในระดับของคณะทำงานวิศวกรจัดการความรู้ (Knowledge Engineers)
สร้างกระบวนการจับความรู้(Knowledge Capture)การวิเคราะห์ความรู้(Knowledge Analysis)และการสังเคราะห์ความรู้โดยสร้างKnowledge Mappingร่วมกันเพื่อใช้เป็นเครื่องมือในการจัดความรู้และนำไปสู่กระบวนการใช้ความรู้เพื่อแก้ปัญหาหรือในการสนับสนุนการตัดสินใจของผู้บริหาร • สร้างระบบจัดการความรู้(Knowledge ManagementSystem)โดยใช้Microsoft Share Pointsเพื่อเป็นศูนย์กลางสำหรับการปันและเผยแพร่ความรู้ในกลุ่มนักปฏิบัติ CoP (Community of Practice)ซึ่งประกอบด้วยreader contributor/expert system-administratorและknowledge-engineer • จัดทำประมวลปัญหาอุปสรรคในการดำเนินการฯและสรุปปัจจัยแห่งความสำเร็จการจัดการความรู้(Key Success Factor)เพื่อการขยายผลสู่ทุกสายงานอื่นต่อไปตลอดจนแนะนำโครงสร้างของหน่วยงานด้านKMที่เหมาะสมในอนาคต
PEA Knowledge Audit College of Arts, Media and Technology 10 November 2006
Visionและ Missionขององค์กร • Vision/Mission • กฟภ. เป็นองค์กรชั้นนำในภูมิภาคอาเชียนด้านธุรกิจการให้บริการพลังงานไฟฟ้า อย่างมีประสิทธิภาพ ปลอดภัย เชื่อถือได้ สร้างความพึงพอใจสูงสุด แก่ลูกค้าทั่วประเทศ” • Threat ? • คู่แข่ง และ Distributed Generation(DG) • ลูกค้าต้องการประสิทธิภาพสูงขึ้น Qualityที่สูงขึ้น • นโยบายของรัฐบาล สนับสนุนให้มีการแข่งขัน ทำให้เกิด Retailers • โครงสร้างของอุตสาหกรรมไฟฟ้าในอนาคต • รัฐบาล ไม่ค้ำประกันเงินกู้ ไม่สามารถลงทุนเพื่อตอบสนองกับDemandที่เพิ่งขึ้น • โครงสร้างของค่าไฟฟ้ายังไม่เหมาะสม • Networkที่ไม่เหมาะสมกับการกระจายของลูกค้า • Strategy ? • Spin offบางกิจกรรมที่แข่งกันในตลาดได้ เช่น ธุรกิจวิศวกรรมก่อสร้าง DG (Potential) • Increase Quality of Supply and Services (Core Business) • เน้นการใช้ New Technologyมาเพิ่มประสิทธิภาพ • Key Drivers ? • Improve Quality of Supply and Services • reliability • networks • SAP • DMS/EMS/SCADA • KM/LO ?
ผลจากแบบสอบถาม *** หมายเหตุ: ดูแบบสอบถามจาก MS Word
กิจกรรมจัดการความรู้ในองค์กรกิจกรรมจัดการความรู้ในองค์กร • การสัมมนาระดมความคิดประสบการณ์ • การฝึกอบรม • การจัดทำสื่อการเรียนรู้Web Site ต่างๆ • การประชุม • การไปดูงาน • Web board • การสร้างคู่มือประกอบการทำงาน • การสร้างกฎระเบียบในการปฎิบัติงาน • การรับทราบหนังสือเวียนและระบบสารบรรณ • การใช้Intranet • การประสานงาน • การจัดทำระบบISO, QC และการบรรยายความรู้
ปัญหาในการดำเนินธุรกิจที่ต้องใช้ความรู้ประสบการณ์พิเศษปัญหาในการดำเนินธุรกิจที่ต้องใช้ความรู้ประสบการณ์พิเศษ • ขาดบุคลากรผู้มีความเชี่ยวชาญเฉพาะด้าน • ขาดเครื่องมือ เครื่องจักรกลที่ทันสมัย • วิศวกรรมไฟฟ้าแรงสูง • การสื่อสารโทรคมนาคม และ เทคโนโลยีสารสนเทศ • ด้านการวิเคราะห์ตลาดและกลยุทธ์ต่างๆที่จะนำมาบูรณาการ • ด้านคุณภาพระบบไฟฟ้า • ด้านการเงินและเศรษฐศาสตร์ • การจัดการทรัพยากรมนุษย์ • การจัดการบริหารพัสดุ • การบริหารการผลิต • ขาดการพัฒนาให้ทันสมัย • ความเชี่ยวชาญทางด้านธุรกิจไม่ทันกับความก้าวหน้าของภาคเอกชน • การประสานงาน • ความรู้ด้านตลาดเงิน ตลาดทุน • ไม่มีการเก็บรวบรวมความรู้และการเข้าถึงความรู้ได้ยาก • ความรู้ด้านระบบ Hydraulic Neumatic Electrictronic Control • การวางกลยุทธแบบ EVA • ระบบ Logistic and Supply Chain Management • การป้องกันระบบไฟฟ้า • กฎระเบียบที่มากมาย
ความรู้วิกฤติที่มีผลต่อความสำเร็จขององค์กรในอีก 5 ปีข้างหน้า • Information Technology • วิศวกรรมการสื่อสาร • ความรู้ของคู่แข่งขัน • การพิจารณาทำ Software สำเร็จรูปมาใช้งาน • ความรู้ด้านการจัดการผลิต • การตัดสินใจที่ยึดลูกค้ามากกว่ากฎระเบียบ • ความรู้ทางด้านการตลาดและการแข่งขัน • การบริหารองค์กร • การแก้ปัญหาร่วมกันและกลมเกลียวกัน • การพัฒนาองค์กรให้คิดนอกกรอบ • ความรู้ด้านคุณภาพไฟฟ้า • ความรู้ด้านการบริหารเครือข่าย • การพัฒนาธุรกิจใหม่ • การบริหารการเปลี่ยนแปลง • ความรู้ด้านเศรษฐศาสตร์ • ความรู้ด้านการเงิน การคลัง • ความรู้ด้านการวางแผนระบบไฟฟ้า
ความรู้ในองค์กรที่ ลูกค้า ผู้สนับสนุนงบประมาณหรือผู้ลงทุนคาดหวังสูง • ความรู้ด้านการบริการที่รวดเร็วและมีคุณภาพ • วิศวกรรมไฟฟ้าแรงสูง • วิศวกรรมสื่อสาร • ด้านคุณภาพระบบไฟฟ้า • ความรู้ด้านวิศวกรรม • Project Management • การสร้างมูลค่าเพิ่มให้กับองค์กร • การพัฒนาทางด้านธุรกิจและการตลาด • ความรู้ทางด้านการเงินที่มีความถูกต้องและแม่นยำ • ความรู้ด้านการลงทุนในตราสารการเงินประเภทต่างๆ • ความรู้ด้านสาธารณสุข สุขภาพอนามัย • การบริหารงบประมาณ และ ต้นทุน • การบริการจัดหาพลังไฟฟ้าที่เพียงพอ • การพัฒนาคุณภาพการบริการและความมั่นคงในระบบจำหน่าย • การประสานงานกับประชาชนและหน่วยงานรัฐบาลในท้องถิ่น • ความรู้ทางด้านวิศวกรรมโยธา • ด้านเศรษฐกิจการคลัง • การพัฒนาระบบผลิตและจำหน่ายไฟฟ้า • การพัฒนาอุปกรณ์ที่ใช้ในระบบไฟฟ้า
Critical Tasksของ PEA • การพัฒนาคุณภาพไฟฟ้า • การวางแผนระบบไฟฟ้า • การบริการที่รวดเร็วและมีคุณภาพ • การจัดหาพลังไฟฟ้าที่เพียงพอ • การพัฒนาคุณภาพการบริการและความมั่นคงในระบบจำหน่าย • การประสานงานกับลูกค้า ประชาชน และ หน่วยงานรัฐบาลในท้องถิ่น • การพัฒนาระบบผลิตและจำหน่ายไฟฟ้า • การบำรุงรักษาอุปกรณ์ที่ใช้ในระบบไฟฟ้า • การพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศ การสื่อสาร และ โทรคมนาคม เช่น การพัฒนา Software สำเร็จรูปมาใช้เองภายในองค์กร • การป้องกันระบบไฟฟ้า • การบริหารเครือข่าย • การพัฒนาธุรกิจใหม่เสริมสร้างมูลค่าเพิ่มให้กับองค์กร • การวิเคราะห์ตลาดและกลยุทธ์ต่างๆ เช่น การวางกลยุทธ์แบบ EVA • Logistic and Supply Chain Management • การบริหารองค์กร และ การเปลี่ยนแปลงภายในองค์กร • การบริหารงบประมาณ การเงิน ต้นทุน และ เศรษฐกิจการคลัง • การลงทุนในตราสารการเงินประเภทต่างๆ • การบริหารจัดการโครงการอย่างมีประสิทธิภาพ (Project Management) • การบริหารพัสดุ • การจัดการทรัพยากรมนุษย์ • การพัฒนาความรู้ด้านวิศวกรรม ไฟฟ้าแรงสูงและวิศวกรรมโยธา
หัวข้อความรู้สำหรับโครงการนำร่องหัวข้อความรู้สำหรับโครงการนำร่อง • หัวข้อความรู้ 1: การบำรุงรักษาระบบและอุปกรณ์ที่ใช้ในระบบไฟฟ้า • หัวข้อความรู้ 2: การพัฒนาคุณภาพไฟฟ้า • หัวข้อความรู้ 3: การดำเนินงานด้านมิเตอร์ *** หมายเหตุ: ดูผลการทำ Pre-Knowledge Auditจาก MS Excel
PEA Knowledge Management Overview College of Arts, Media and Technology 16 November 2006
จัดอบรมผู้บริหารระดับผู้อำนวยการฝ่าย และผู้อำนวยการกอง • เพื่อให้ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการบริหารจัดการความรู้ • เพื่อให้ตระหนักถึงความสำคัญของการบริหารจัดการความรู้ • เพื่อสร้างความเข้าใจร่วมกันกับผู้เข้ารับการอบรมถึงหัวข้อความรู้ที่ได้มีการคัดเลือกจากผู้บริหารระดับสูง • เพื่อนำเสนอหัวข้อความรู้ 3 หัวข้อความรู้ สำหรับโครงการนำร่อง
Knowledge Engineering Training College of Arts, Media and Technology 8, 9, 10 and 15 January 2007
KE Training Outlines • Day 1 • Knowledge Management Overviewการบริหารจัดการความรู้เบื้องต้น • Case Study and Demonstrationตัวอย่างภายใน กฟผ. และที่อื่นๆ • Introduction to Knowledge Engineering วิศวกรรมความรู้เบื้องต้น • CommonKADS: Knowledge Analysis and Data Structuring • เตรียมหัวข้อความรู้สำหรับวันถัดมา • Day 2 • ทดลองเฝ้าสังเกตพฤติกรรมการคิด Task, Inference, Domain, Knowledge Base and Ontology • ทดลองวิเคราะห์ความรู้จากเอกสาร • Day 3 • ทดลองจับความรู้เกี่ยวกับการทำงานด้วยโครงสร้างแบบง่าย Input, Process, Output and Knowledge Base • Day 4 • ทดลองสร้างวาระสัมภาษณ์ Agenda
Knowledge Capture 1 College of Arts, Media and Technology January 2007
Knowledge Capture 1 • Scoping Meetingสัมภาษณ์เพื่อกำหนดขอบเขตกับผู้บริหารที่เกี่ยวข้อง • “การบำรุงรักษาสถานีไฟฟ้า” • Corrective Maintenance/Preventive Maintenance • Circuit Breaker/Protective Relay • Knowledge Capture Meetingสัมภาษณ์เพื่อจับความรู้ ประสบการณ์ผู้เชี่ยวชาญ • Case Study Meetingสัมภาษณ์เพื่อจับกรณีศึกษาและตรวจสอบความเพียงพอของความรู้ • Validation Meetingสัมภาษณ์เพื่อตรวจสอบความถูกต้อง *** หมายเหตุ: สามารถดูผลจากการสัมภาษณ์ได้จาก MS Word
รายชื่อผู้เชี่ยวชาญ หัวข้อความรู้ที่ 1 • Circuit Breaker • คุณ เจิดสิทธิ์ หิรัญ • คุณ ปกรณ์ วรานุสันติกูล • Protective Relay • คุณ กระแส ลัภนะยศ • คุณ นรินทร์ พงษ์ประพันธ์ • คุณ ทวีโชค เพชรเกษม
Knowledge Capture 2 College of Arts, Media and Technology March 2007
Knowledge Capture 2 • Scoping Meetingสัมภาษณ์เพื่อกำหนดขอบเขตกับผู้บริหารที่เกี่ยวข้อง • “การตรวจสอบการละเมิดมิเตอร์” • Knowledge Capture Meetingสัมภาษณ์เพื่อจับความรู้ ประสบการณ์ผู้เชี่ยวชาญ • Case Study Meetingสัมภาษณ์เพื่อจับกรณีศึกษาและตรวจสอบความเพียงพอของความรู้ • Validation Meetingสัมภาษณ์เพื่อตรวจสอบความถูกต้อง
Knowledge Capture 3 College of Arts, Media and Technology April 2007
Knowledge Capture 3 • Scoping Meetingสัมภาษณ์เพื่อกำหนดขอบเขตกับผู้บริหารที่เกี่ยวข้อง • “การวินิจฉัยปัญหาคุณภาพไฟฟ้า” • Knowledge Capture Meetingสัมภาษณ์เพื่อจับความรู้ ประสบการณ์ผู้เชี่ยวชาญ • Case Study Meetingสัมภาษณ์เพื่อจับกรณีศึกษาและตรวจสอบความเพียงพอของความรู้ • Validation Meetingสัมภาษณ์เพื่อตรวจสอบความถูกต้อง
Knowledge Management System College of Arts, Media and Technology February/March 2007
กลุ่ม Functionsของ Shared Pointที่นำมาใช้KM • Users & Security • Community • MySite • Public • Private
User Roles and Responsibilities • KMS Administrator -> Administrator • Manager Experts -> Contributor • Knowledge Engineer -> Content Manager • Knowledge Workers -> Reader
Taxonomy Levels • Level 0 -> PEA = All CoP • Level 1 -> CoP • Level 2 -> Task • Level 3 -> Inference
Design Criteria • Knowledge • Information for Actions • The Whole Body of Data Information for Actions • Top Down Design • Top -> Bottom and Left -> Right • Often / Critical / Management
Area • Top for Decision • K-Map • Tasks/Issues (Level 0,1) • Middle for Communication/Collaboration • Event /News/ Survey /Announcement (Level 0,1) • Bottom for Knowledge Base • Forum/Document/Contacts/Portal
เผยแพร่นำเสนอระบบจัดการความรู้นำร่องเผยแพร่นำเสนอระบบจัดการความรู้นำร่อง • นำเสนอระบบจัดการความรู้นำร่อง • การไฟฟ้าเขตทั่วประเทศ 12 เขต • สำนักงานใหญ่ • ผลตอบรับ • บุคลากรเข้าใจการบริหารจัดการความรู้ตรงกัน • บุคลากรมีความกระตือรือร้น อยากเข้ามาดู และใช้งาน • แต่ก็มีความไม่มั่นใจในเรื่องของความต่อเนื่องของกิจกรรม นโยบาย และการสนับสนุนของผู้บริหารต่อไป
Lesson Learned • ความไม่สม่ำเสมอในการสนับสนุนการสร้างคณะวิศวกรความรู้ ซึ่งอาจเกิดจากการที่บุคคลกรมีภาระการทำงานประจำ และพิจารณาเห็นว่าการเข้าร่วมเพื่อรับการอบรมเป็นวิศวกรความรู้ไม่ให้ผลได้เสียกับงานประจำที่ทำ จึงทำให้ขาดแรงจูงใจในการเข้าร่วมการอบรม • การไม่สามารถปลีกตัวของผู้เชี่ยวชาญในการให้สัมภาษณ์เพื่อการจับความรู้อย่างต่อเนื่อง ซึ่งไม่สามารถลดระยะเวลาในกระบวนการจับความรู้ให้สั้นกระชับลงได้ • ข้อจำกัดในการรวบรวมเอกสารที่เกี่ยวข้องทั้งทางด้านความสามารถในการสืบค้น ระยะเวลาที่ใช้ในการได้มาของเอกสาร และอาจรวมถึงชั้นความลับของเอกสารด้วย • การมีบุคคลกรจำนวนจำกัดในการพัฒนาการบริหารจัดการความรู้ โดยที่บุคคลกรเหล่านี้จะมีภาระงานประจำอยู่แล้วด้วย ทำให้ไม่สามารถลดระยะเวลาในการดำเนินการได้ด้วย • การประชาสัมพันธ์อย่างต่อเนื่องถึง KMS อาจจะยังไม่เพียงพอในการไฟฟ้าส่วนภูมิภาค
Key Success Factor • ผู้บังคับบัญชาระดับสูงควรจะให้การส่งเสริมการบริหารจัดการความรู้อย่างเป็นรูปธรรมและต่อเนื่อง • การไฟฟ้าส่วนภูมิภาคจำเป็นต้องมีการจัดตั้งหน่วยงานเพื่อการบริหารจัดการความรู้ขึ้น โดยให้มีโครงสร้าง กำลังพล สายการบังคับบัญชา และงบประมาณที่ชัดเจน • ภารกิจของหน่วยงานเพื่อการบริหารจัดการความรู้จะต้องมีการดำเนินการอย่างต่อเนื่องเพื่อกระตุ้นให้เกิดการนำไปสู่องค์กรแห่งการเรียนรู้ • ผู้บังคับบัญชาในทุกระดับควรจะใช้ KMS ให้เป็นส่วนหนึ่งในการบริหารงานการไฟฟ้าส่วนภูมิภาค