1 / 34

รายงานประจำปี 2546

รายงานประจำปี 2546. ผลการดำเนินงาน โครงการพัฒนาอัจฉริยภาพทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีสำหรับเด็กและเยาวชน. สรุปจำนวนผู้สมัครเข้าร่วมโครงการ ปี 2541-2547. ส่วนที่ 1 การส่งเสริมและพัฒนาเด็กและเยาวชนผู้มีความสามารถพิเศษ ทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (อยู่ในโครงการเป็นรายปี).

lulu
Télécharger la présentation

รายงานประจำปี 2546

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. รายงานประจำปี 2546 ผลการดำเนินงานโครงการพัฒนาอัจฉริยภาพทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีสำหรับเด็กและเยาวชน

  2. สรุปจำนวนผู้สมัครเข้าร่วมโครงการ ปี 2541-2547

  3. ส่วนที่ 1 การส่งเสริมและพัฒนาเด็กและเยาวชนผู้มีความสามารถพิเศษ ทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (อยู่ในโครงการเป็นรายปี) • n จัดค่ายวิทยาศาสตร์ จำนวน 12 ครั้ง โดยแบ่งเป็น มัธยมศึกษา • ตอนต้น 7 ครั้ง และมัธยมศึกษาตอนปลาย/ปริญญาตรี จำนวน 5 ครั้ง • n สนับสนุนการทำโครงงานวิทยาศาสตร์ จำนวน 164 โครงงาน • โดยเป็นโครงงานรุ่นที่ 5 จำนวน 80 โครงงาน และโครงงานรุ่นที่ 6 • จำนวน 84 โครงงาน และอยู่ในระหว่างการดำเนินการสนับสนุน • โครงงาน รุ่นที่ 7 จำนวน 103 โครงงาน • n จัดสัมมนา บรรยายพิเศษ และอภิปราย จำนวน 19 ครั้ง

  4. ส่วนที่ 2 การส่งเสริมและพัฒนาเด็กและเยาวชนผู้มีอัจฉริยภาพ ทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (อยู่ในโครงการระยะยาว) n การคัดเลือกและสนับสนุนเด็กและเยาวชนผู้มีอัจฉริยภาพฯ จำนวน 76 คน n การส่งเสริมการทำวิจัยระดับโรงเรียนและมหาวิทยาลัย จำนวน 48 โครงการ n การส่งเสริมให้เด็กและเยาวชนมีศักยภาพทางวิทยาศาสตร์มากขึ้น n จัดกิจกรรมค่ายอบรมเยาวชนในโครงการฯ ระยะยาว ครั้งที่ 4 ระหว่างวันที่ 10-14 พฤษภาคม 2547 ณ อุทยานวิทยาศาสตร์ประเทศไทย และฟาร์มโชคชัย จังหวัดนครราชสีมา มีผู้เข้าร่วมกิจกรรม จำนวน 52 คน

  5. ส่วนที่ 3 กิจกรรมอื่นๆ n จัดกิจกรรมเด็กที่มีความสามารถพิเศษ เข้าพบนายกรัฐมนตรี 2 ครั้ง n สนับสนุนผู้แทนเยาชนในโครงการฯ จำนวน 12 คน ไปดูงาน“Bangalore Bio 2004” ที่เมืองบังกาลอร์ ประเทศอินเดีย ระหว่างวันที่ 9-12 กรกฎาคม 2547 n จัดประชุมเชิงปฏิบัติการ 4 ครั้ง n จัดนิทรรศการ จำนวน 8 ครั้ง n การจัดทำหนังสือ และเอกสารการส่งเสริมเยาวชนทางวิทยาศาสตร์ จำนวน 7 เรื่อง n ร่วมกับ กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี กระทรวงศึกษาธิการ สถาบันวิจัย วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยี องค์การพิพิธภัณฑ์วิทยาศาสตร์แห่งชาติ สำนักเลขาธิการนายกรัฐมนตรี และสำนักงานคณะกรรมการข้าราชการและพลเรือน จัดกิจกรรมค่ายวิทยาศาสตร์ภายใน ประเทศไทย ระหว่างวันที่ 15-18 กรกฎาคม 2547

  6. แผนผังกิจกรรมการดำเนินกิจกรรมโครงการแผนผังกิจกรรมการดำเนินกิจกรรมโครงการ

  7. การคัดเลือกและส่งเสริมผู้มีความสามารถพิเศษการคัดเลือกและส่งเสริมผู้มีความสามารถพิเศษ Talented& Gifted child

  8. ตัวอย่างกิจกรรมค่ายวิทยาศาสตร์ ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น กิจกรรม รายละเอียด วันที่ 10-14 พ.ค.47 สถานที่ : มจธ. และหอดูดาวเกิดแก้ว จ.กาญจนบุรี รุ่นที่ 7 ครั้งที่ 1 กิจกรรมนาโนเทคโนโลยี การทดลอง ด้านเทคโนโลยีชีวภาพ การทดลอง เรื่อง “Bouncing Ball” การทดลองการตก ของวัตถุ การปรึกษาโครงงานวิทยาศาสตร์ และกิจกรรมด้านดาราศาสตร์ “การสร้าง แบบจำลองวงโคจรของดาวศุกร์และ วงโคจรของโลก” กิจกรรมดูดาว และการ สร้างกล้องดูดวงอาทิตย์

  9. ตัวอย่างกิจกรรมค่ายวิทยาศาสตร์ ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น วันที่ 31 ก.ค.-2 ส.ค. 47 สถานที่ : มจธ. วิทยาเขตบางขุนเทียน รุ่นที่ 7 ค่ายย่อยครั้งที่ 1 กิจกรรม รายละเอียด การฟังบรรยายเรื่อง DNA RNA และ Protein กิจกรรมการทดลอง การสกัด DNA จากเซลล์หลากหลายชนิด DNA fingerprint และการตัดต่อ DNA

  10. ตัวอย่างกิจกรรมค่ายวิทยาศาสตร์ ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น วันที่ 29 มี.ค. – 3 เม.ย. 47 สถานที่ : ม.บูรพา จ.ชลบุรี รุ่นที่ 6 ครั้งที่ 3 กิจกรรม รายละเอียด กิจกรรมเฉยโฉมหาดบางแสน นำเสนอโครงงานวิทยาศาสตร์ กิจกรรมชมการทำอาหารทะเแห้ง,ฟาร์มหอยนางรม ณ หมู่บ้านชาวประมงวิทยากรในท้องถิ่น กิจกรรม การทดลอง OTOP ปลาแห้ง กิจกรรม การทดลองในสถานที่จริงป่าชายเลนปฏิบัติการสะเทินน้ำสะเทินบก ณ ป่าชายเลน เมืองใหม่ จังหวัดชลบุรี

  11. ตัวอย่างกิจกรรมค่ายวิทยาศาสตร์ ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น วันที่ 6 – 11 ต.ค. 46 สถานที่ : มจธ. และ ม.เทคโนโลยีสุรนารี จ.นครราชสีมา รุ่นที่ 6 ครั้งที่ 2 กิจกรรม รายละเอียด กิจกรรม “Creative Writing” ปรึกษาโครงงานวิทยาศาสตร์ กิจกรรมการทดลองเรื่องไฟบรรยายชีวิตกับแสงอาทิตย์ กิจกรรมการทดลองเรื่องแสงสีกับ การสังเคราะห์แสงของพืช กิจกรรมการทดลองกังหัน เติมอากาศ กิจกรรมบรรยายและเยี่ยมชมจากวงจรชีวิตแมลง ถึงการผลิตผ้าไหม

  12. กิจกรรมค่ายวิทยาศาสตร์ ระดับมัธยมศึกษาตอนปลายและปริญญาตรี วันที่ 6 –15 พ.ค. 47 สถานที่ : อุทยานวิทยาศาสตร์ มศว. และ อพวช. รุ่นที่ 7 ครั้งที่ 1 กิจกรรม รายละเอียด กิจกรรมเยี่ยมชมอุทยานวิทยาศาสตร์ และแลกเปลี่ยนประสบการณ์กับเยาวชนในโครงการฯ ระยะยาว กิจกรรมจรวดขวดน้ำ และเยี่ยมชม อพวช. กิจกรรม Science show และการฝึกทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ กันนักวิทยาศาสตร์ นักวิจัยและนักเทคโนโลยีพี่เลี้ยง

  13. กิจกรรมค่ายวิทยาศาสตร์ ระดับมัธยมศึกษาตอนปลายและปริญญาตรี วันที่ 18 – 21 มี.ค. 47 สถานที่ : มศว.ประสานมิตร และศูนย์การศึกษา ธรรมชาติอ่าวคุ้งกระเบน จันทบุรี กิจกรรม รายละเอียด อธิบายรูปแบบการนำเสนอผลงานโครงงานวิทยาศาสตร์ นำเสนอโครงงานวิทยาศาสตร์ ทัศนศึกษาศูนย์ศึกษาการพัฒนาอ่าวคุ้งกระเบนอันเนื่องมาจากพระราชดำริ จ.จันทบุรี ทัศนศึกษาป่าชายเลนของกรมป่าไม้ ดูการเลี้ยงปลาในกระชัง การทำปุ๋ยหมักและอื่นๆของกรมประมง ศึกษาชีวิตสิ่งมีชีวิตยามค่ำคืน ฟังบรรยายสรุปเรื่องกิจกรรมของสถานีประมงบ้านเพ จ.ระยอง

  14. กิจกรรมค่ายวิทยาศาสตร์ ระดับมัธยมศึกษาตอนปลายและปริญญาตรี วันที่ 12 – 23 มี.ค. 46 สถานที่ : อุทยานวิทยาศาสตร์ประเทศไทย / มศว. /อพวช. และห้องปฏิบัตการ นักวิทยาศาสตร์และนักเทคโนโลยีพี่เลี้ยง กิจกรรม รายละเอียด ชมมัลติมีเดีย “The Greatest Dream of Thai Young Scientists” จัดแรลลี่เสาะหาคลังมหาสมบัติคามรู้ในอุทยานวิทยาศาสตร์ฯ ฝึกทักษะทางวิทยาศาสตร์ ณ ห้องปฏิบัติการวิจัยของนักวิทยาศาสตร์พี่เลี้ยง กิจกรรม Science show กิจกรรม Science walk rally สัมมนาฝึกทักษะทางวิทยาศาสตร์

  15. กิจกรรมค่ายวิทยาศาสตร์ ระดับมัธยมศึกษาตอนปลายและปริญญาตรี วันที่ 27 มี.ค. – 30 มี.ค. 47 สถานที่ : มศว. และ จ.เพชรบุรี รุ่นที่ 6 ครั้งที่ 3 กิจกรรม รายละเอียด นำเสนอโครงงานวิทยาศาสตร์ ศึกษาดูงาน ณ ศูนย์ศึกษาการพัฒนาห้วยทรายอันเนื่องมาจากพระราชดำริ ทัศนศึกษางานวิชาการเกษตรและแปลงงานสาธิตต่างๆ งานชลประทานอ่างเก็บน้ำห้วยตะแปด โครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืช เขาเสวยกะปิ โครงการอนุรักษ์ดินและน้ำอันเนื่องมาจากพระราชดำริ

  16. โครงงานวิทยาศาสตร์ (ระยะสั้น) • ในช่วงธันวาคม 2545 – กรกฏาคม 2547 ได้มีการส่งเสริม การทำโครงงานวิทยาศาสตร์สำหรับเด็กและเยาวชนที่มีความสามารถพิเศษ 2 รุ่น ได้แก่ รุ่นที่ 5 จำนวน 80 โครงงาน และ รุ่นที่ 6 จำนวน 84 โครงงาน และอยู่ในระหว่างการดำเนินการสนับสนุน รุ่นที่ 7 จำนวน 103 โครงงานดังรายละเอียดต่อไปนี้

  17. ตัวอย่างกิจกรรมบรรยายพิเศษตัวอย่างกิจกรรมบรรยายพิเศษ บรรยายพิเศษเรื่อง “Concept of Encyclopedia คุณหญิงกัลยา โสภณพนิช วันที่ 12 พ.ค. 2546 ณ อุทยานวิทยาศาสตร์ ประเทศไทย

  18. ตัวอย่างกิจกรรมบรรยายพิเศษตัวอย่างกิจกรรมบรรยายพิเศษ บรรยายพิเศษ เรื่อง “Interdisplinary and Dimension of Science & Technology Encyclopedia ดร.บัญชา บุญธนสมบัติ วันที่ 12 พ.ค. 2546 ณ อุทยานวิทยาศาสตร์ ประเทศไทย

  19. กิจกรรมบรรยายพิเศษ บรรยายพิเศษ เรื่อง “The Great Scientist and The Great Communication” ดร.ชัยวัฒน์ คุประตกุล วันที่ 13 พ.ค. 2546 ณ อุทยานวิทยาศาสตร์ ประเทศไทย

  20. กิจกรรมบรรยายพิเศษ บรรยายพิเศษ เรื่อง “การแหกกฎเดิม สู่งานริเริ่มใหม่ให้เป็นผล” คุณโชค บูลกุล วันที่ 27 ต.ค. 2546 ณ อุทยานวิทยาศาสตร์ ประเทศไทย

  21. การส่งเสริมและพัฒนาผู้มีอัจฉริยภาพการส่งเสริมและพัฒนาผู้มีอัจฉริยภาพ

  22. การคัดเลือกและส่งเสริมให้เด็กและเยาวชนมีศักยภาพทางวิทยาศาสตร์และผลงานการคัดเลือกและส่งเสริมให้เด็กและเยาวชนมีศักยภาพทางวิทยาศาสตร์และผลงาน • สาขาวิศวกรรมศาสตร์ • นายสุรัฐ ขวัญเมือง นักศึกษาปริญญาตรีปีที่ 4 คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ได้ทำงานวิจัยด้านหุ่นยนต์และระบบอัตโนมัติ ได้รับรางวัลชนะเลิศในการแข่งขันฟุตบอลหุ่นยนต์ชิงแชมป์ประเทศไทย ครั้งที่ 2 และได้เป็นตัวแทนประเทศไทยไปแข่งฟุตบอลหุ่นยนต์ชิงแชมป์โลก (Robo Cup 2004) ณ ประเทศโปรตุเกส • ในเดือนกรกฏาคม พ.ศ.2547

  23. การคัดเลือกและส่งเสริมให้เด็กและเยาวชนมีศักยภาพทางวิทยาศาสตร์และผลงานการคัดเลือกและส่งเสริมให้เด็กและเยาวชนมีศักยภาพทางวิทยาศาสตร์และผลงาน สาขาคอมพิวเตอร์ นายทวีธรรม ลิมปานุภาพ โครงงานเรื่อง “การเพิ่มความปลอดภัยของระบบผ่านด้วยการตรวจสอบจังหวะการพิมพ์” ได้รับรางวัลชนะเลิศและรองชนะเลิศในการประกวดการแข่งขันโครงงานวิทยาศาสตร์รุ่นเยาว์สาขาวิทยาการคอมพิวเตอร์ (YSC.CS) และวิศวกรรมศาสตร์ (YSC.EN) ประจำปี 2546 และได้รับการคัดเลือกเป็นตัวแทนไปประกวดโครงงานในงาน Intel International Science and Engineering Fair ( Intel ISEF 2004 ) ณ ประเทศสหรัฐอเมริกาในระหว่างวันที่ 9-15 พฤษภาคม พ.ศ. 2547 และได้รับรางวัล “Honorable Mention Award” ของ Association of Computing Machinery (ACM) นายณัฎฐ์ ปิยะปราโมทย์ โครงงานเรื่อง “การลดขนาดของไฟล์ภาพเคลื่อนไหวมุมกล้องนิ่งด้วยการประมวลผลและจดจำภาพเฉพาะบางส่วน ได้รับรางวัลรองชนะเลิศ ในการประกวดการแข่งขันโครงงานวิทยาศาสตร์รุ่นเยาว์สาขาวิทยาการคอมพิวเตอร์ (YSC.CS) และวิศวกรรมศาสตร์ (YSC.EN) ประจำปี 2546 และได้รับคัดเลือกเข้าร่วมสังเกตการณ์ในงาน Intel International Science and Engineering Fair ( Intel ISEF 2004 ) ณ ประเทศสหรัฐอเมริกาในระหว่างวันที่ 9-15 พฤษภาคม พ.ศ. 2547

  24. การคัดเลือกและส่งเสริมให้เด็กและเยาวชนมีศักยภาพทางวิทยาศาสตร์และผลงานการคัดเลือกและส่งเสริมให้เด็กและเยาวชนมีศักยภาพทางวิทยาศาสตร์และผลงาน สาขาคณิตศาสตร์ นายจารุพล สถิรพงษะสุทธิ และนายณัฐดนัย ปุณณะนิธิ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา ได้ทำโครงงานเรื่อง “คลื่นการเดินของกิ้งกือ” และได้รับรางวัลชนะเลิศในโครงงานวิทยาศาสตร์ ประจำปี 2546 ซึ่งจัดโดยสมาคมวิทยาศาสตร์แห่งประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ์ และเป็นตัวแทนประเทศไทย ไปแข่งขันโครงงานวิทยาศาสตร์ ในงาน Intel International Science and Engineering Fair ( Intel ISEF 2004 ) ณ ประเทศสหรัฐอเมริกาในระหว่างวันที่ 9-15 พฤษภาคม พ.ศ. 2547 และได้รับรางวัล First Award Of Sigma Xi The Scientific Research Society นายธนสิน นำไพศาล ได้รางวัลเหรียญทองสาขาคณิตศาสตร์ ในการแข่งขันโอลิมปิกวิชาการระดับนานาชาติ ประจำปี 2546 ณ กรุงโตเกียว ประเทศญี่ปุ่น ระหว่าง วันที่ 7-19 กรกฎาคม 2546 ซึ่งเป็นคนแรกของประเทศไทยที่ได้รับ รางวัลเหรียญทองในสาขานี้

  25. จัดกิจกรรมค่ายอบรมเยาวชนในโครงการฯ ระยะยาว ครั้งที่ 4 ระหว่างวันที่ 10-14 พฤษภาคม 2547 ณ อุทยานวิทยาศาสตร์ประเทศไทย และฟาร์มโชคชัย จังหวัดนครราชสีมา มีผู้เข้าร่วมกิจกรรม จำนวน 52 คน

  26. สนับสนุนผู้แทนเยาวชนในโครงการฯไปดูงานต่างประเทศ 1 ครั้ง นายกร ทัพพะรังสี รัฐมนตรีว่าการกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี และผู้บริหาร สวทช. นำตัวแทน นักศึกษาในโครงการพัฒนาอัจฉริยภาพทาง วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีสำหรับเด็กและเยาวชน จำนวน 12 คน ไปดูงาน “Bangalore Bio 2004” ที่เมืองบังกาลอร์ ประเทศอินเดีย รวมทั้งได้เข้าชม การทำงาน ของบริษัทอินโฟซิสบริษัทชั้นนำแห่งวงการซอฟต์แวร์โลก ตามคำเชิญของนายนารายันมูราติ ประธาน บริษัทอินโฟซิส ที่ปรึกษาด้าน ไอที ของ พ.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร นายกรัฐมนตรี

  27. จัดกิจกรรมค่ายวิทยาศาสตร์ภายในประเทศไทย ระหว่างวันที่ 15-18 กรกฎาคม 2547 ร่วมกับ กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี กระทรวงศึกษาธิการ สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี องค์การพิพิธภัณฑ์วิทยาศาสตร์แห่งชาติ สำนักเลขาธิการนายกรัฐมนตรี และสำนักงานคณะกรรมการข้าราชการและพลเรือน จัดกิจกรรมค่ายวิทยาศาสตร์ภายในประเทศไทย ระหว่างวันที่ 15-18 กรกฎาคม 2547 เพื่อคัดเลือกตัวแทนเยาวชนไทย จำนวน 10 คนเป็นตัวแทนเข้าร่วมกิจกรรมค่ายวิทยาศาสตร์ ณ ประเทศเกาหลีใต้ ในระหว่างวันที่ 16-26 สิงหาคม 2547 ต่อไป

  28. จัดกิจกรรมค่ายวิทยาศาสตร์ภายในประเทศไทย ระหว่างวันที่ 15-18 กรกฎาคม 2547 จากกิจกรรมดังกล่าว มีเยาวชนในโครงการฯ จำนวน 5 คน ได้รับคัดเลือกเป็นตัวแทนไปร่วมกิจกรรมค่ายวิทยาศาสตร์ ณ ประเทศเกาหลีใต้ ในระหว่างวันที่ 16-26 สิงหาคม 2547 ดังรายชื่อ 1.นายชานนทร์ ศรพิพัฒน์พงศ์ มัธยมศึกษาปีที่ 5 โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา 2.นายกิตติพงศ์ คำสุข มัธยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนจุฬาภรณราชวิทยาลัย ตรัง 3.ดช.ฐาปกรณ์ โตมีชัย มัธยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนบดินทรเดชา (สิงห์ สิงหเสนี) 2 4.ดญ.อติพร เทอดโยธิน มัธยมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ปทุมวัน 5.ดช.ชัชชนก ชูสวัสดิ์ มัธยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนสุราษฏร์ธานี

  29. ตัวอย่างนิทรรศการที่โครงการฯ เข้าร่วม เข้าร่วมจัดนิทรรศการในงาน TPA Robot Contest Thailand Championship 2004 ในระหว่างวันที่ 29-30 พฤษภาคม 2547 ณ อิมแพค เมืองทองธานี

  30. ตัวอย่างนิทรรศการที่โครงการฯ เข้าร่วม ร่วมจัดนิทรรศการในงานประชุมประจำปี สวทช. เรื่อง นาโนเทคโนโลยี ความท้าทายของประเทศไทย ระหว่างวันที่ 25- 30 มิถุนายน 2547 ณ อุทยานวิทยาศาสตร์ประเทศไทย จ.ปทุมธานี

  31. ครบรอบ 7 ปี โครงการพัฒนาอัจฉริยะภาพทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีสำหรับเด็กและเยาวชน โครงงานRobocup 2004 โดย นายสุรัฐ ขวัญเมือง โครงงาน การหาโครงสร้าง 3 มิติของเอนไซม์โดยวิธีผลึกเอ็กซเรย์ โดย นาวสาวดวงฤดี ธารลำลึก โครงงาน การทำลำโพงจากกระดาษฟลอยด์ โดย นายสิทธิพงษ์ มะโนธรรม โครงงาน เม็ดสีจากแบคทีเรียโบราณ-เม็ดสีต่อต้านอนุมูลอิสระ โดย นายทิฐิวัฒน์ เมชฌ

  32. กิจกรรมเด็กที่มีความสามารถพิเศษเข้าพบ ฯพณฯ นายกรัฐมนตรี จำนวน 2 ครั้ง - จัดกิจกรรมผู้แทนหน่วยงานและเยาวชนผู้มีความสามารถพิเศษ สาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เข้าพบ ฯพณฯ นายกรัฐมนตรี ในวันที่ 10 เมษายน 2546 ณ ตึกบัญชาการ 1 ทำเนียบรัฐบาล - จัดกิจกรรมผู้แทนหน่วยงานและเยาวชนผู้มีความสามารถพิเศษ สาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ภาษา ศิลปะ ดนตรี และกีฬา เข้าพบ ฯพณฯ นายกรัฐมนตรี ในวันจันทร์ที่ 3 พฤศจิกายน 2546 ณ ตึกสันติไมตรี หลังใน ทำเนียบรัฐบาล

  33. การจัดทำรายงานและหนังสือเผยแพร่ จำนวน 7 เล่ม

  34. จบการนำเสนอ

More Related