1 / 23

ดร.เณศรา สุขพานิช คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ nessara@econ.tu.ac.th

การลงทุนโดยตรงในต่างประเทศของบริษัท อัญ มณีและเครื่องประดับ ไทย : กรณีศึกษา บริษัท แพรนด้า จิวเวลรี่ จำกัด (มหาชน). ดร.เณศรา สุขพานิช คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ nessara@econ.tu.ac.th. ความสำคัญของงานศึกษา.

melvyn
Télécharger la présentation

ดร.เณศรา สุขพานิช คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ nessara@econ.tu.ac.th

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การลงทุนโดยตรงในต่างประเทศของบริษัทอัญมณีและเครื่องประดับไทย: กรณีศึกษา บริษัท แพรนด้า จิวเวลรี่ จำกัด (มหาชน) ดร.เณศรา สุขพานิช คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ nessara@econ.tu.ac.th

  2. ความสำคัญของงานศึกษา • FDI ของประเทศกำลังพัฒนาเพิ่มขึ้นมาก (Outward FDI stock เพิ่มขึ้นจาก 159 พันล้าน USD ในปี ค.ศ. 1991 เป็น 2,288 พันล้าน USD ในปี ค.ศ. 2007) • ลักษณะการลงทุน แรงจูงใจในการลงทุน และผลกระทบจากการไปลงทุนแตกต่างจากกรณี MNEs จากประเทศพัฒนาแล้วหรือไม่ • งานศึกษาในอดีตเกี่ยวกับ outward FDI ของไทยกระจุกตัวอยู่เพียงไม่กี่อุตสาหกรรม เช่น ในอุตสาหกรรมอาหาร อุตสาหกรรมอสังหาริมทรัพย์ และบริษัทที่เป็น conglomerate

  3. ทำไมต้องเป็นอุตสาหกรรมอัญมณีและเครื่องประดับทำไมต้องเป็นอุตสาหกรรมอัญมณีและเครื่องประดับ • เป็นอุตสาหกรรมที่สร้างรายได้ลำดับต้นๆ ให้กับประเทศเสมอมา • การลงทุนโดยตรงในต่างประเทศของบริษัทใหญ่ 6 บริษัทในอุตสาหกรรมมีอัตราการเติบโตสูง • ในปี ค.ศ. 2007 มูลค่าเงินลงทุนเท่ากับ 1,366 ล้านบาท (เพิ่มขึ้นจากปี ค.ศ. 2006 64%)

  4. วัตถุประสงค์ของงานศึกษาวัตถุประสงค์ของงานศึกษา • ศึกษาแนวโน้มการลงทุนโดยตรงของบริษัทไทยในต่างประเทศ (ช่วงปี ค.ศ. 1980 – 2007): การลงทุนในภาพรวม จำแนกตามประเทศ (ภูมิภาค) และ จำแนกตามประเภทธุรกิจ • ศึกษาการลงทุนโดยตรงในต่างประเทศของบริษัทอัญมณีและเครื่องประดับไทย: กรณีศึกษา บริษัทแพรนด้า จิวเวลรี่ จำกัด (ลักษณะ มูลเหตุจูงใจ และผลกระทบของการลงทุนต่อการดำเนินงานของบริษัทและต่ออุตสาหกรรมเป้าหมาย)

  5. Theoretical Literature Review • แนวคิดและทฤษฎีที่เกี่ยวกับเงื่อนไขการเกิดบรรษัทข้ามชาติ • Dunning’s OLI framework • FSA/CSAs framework ความได้เปรียบเฉพาะของบริษัท (Firm-specific advantages: FSAs) ความได้เปรียบจากประเทศ (Country-specific advantages: CSAs) • Dynamic FSAs/CSAs

  6. Theoretical Literature Review • แนวคิดและทฤษฎีที่เกี่ยวกับแรงจูงใจ (กลยุทธ์) การลงทุนโดยตรงในต่างประเทศ • Natural-resource seeking FDI • Market-seeking FDI • Efficiency-seeking FDI • Strategic-asset seeking FDI

  7. Theoretical Literature Review • แนวคิดและทฤษฎีที่ใช้ในการวิเคราะห์ผลกระทบจากการลงทุนโดยตรงในต่างประเทศ • ผลกระทบระดับหน่วยผลิต: ผลการดำเนินงานของบริษัท (เช่น ความสามารถในการทำกำไร) การผลิต การจ้างงาน และศักยภาพการแข่งขัน ของบริษัท • ผลกระทบระดับมหภาค: ผลกระทบระดับอุตสาหกรรม และระดับประเทศในภาพรวม

  8. Empirical Literature Review • งานศึกษาเกี่ยวกับปัจจัยที่มีผลต่อการลงทุนโดยตรงในต่างประเทศ • งานศึกษาเกี่ยวกับความสัมพันธ์ระหว่างระดับของการเป็นบรรษัทข้ามชาติ และผลการดำเนินงานของบริษัท • งานศึกษาเกี่ยวกับการลงทุนโดยตรงในต่างประเทศของ MNEs ไทย เช่น Wee (2007), Pananond (2007a) และ Pananond (2007b) เป็นต้น

  9. วิธีการศึกษา • ภาพรวมการลงทุนชองบริษัทไทยในต่างประเทศ: ข้อมูลทุติยภูมิ • การลงทุนโดยตรงในต่างประเทศของบริษัทแพรนด้า: ข้อมูลทุติยภูมิและปฐมภูมิ

  10. ภาพรวมการลงทุนของบริษัทไทยในต่างประเทศภาพรวมการลงทุนของบริษัทไทยในต่างประเทศ Outward FDI Flow (millions of US dollars), inflow and outflow

  11. การลงทุนโดยตรงของบริษัทอัญมณีและเครื่องประดับไทยรายใหญ่ 6 บริษัท การลงทุนในอุตสาหกรรมอัญมณีและเครื่องประดับ

  12. การลงทุนโดยตรงในต่างประเทศของบริษัท แพรนด้า จิวเวลรี่ จำกัด (มหาชน) • แพรนด้าก่อตั้งในปี 1973 • จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ปี 1990 • ปัจจุบันมีทุนจดทะเบียน 410 ล้านบาท • เป็นบริษัทผู้ผลิตและจัดจำหน่ายเครื่องประดับแท้เป็นหลัก และเป็นผู้นำด้านการส่งออกเครื่องประดับอัญมณีของไทย

  13. FSAs ของแพรนด้า • การพัฒนาผลิตภัณฑ์ • การพ้ฒนาตราสินค้า • การวิจัยและพัฒนา • การบริหารจัดการ โดยเฉพาะการกระจายความเสี่ยงด้านการผลิตและการจัดจำหน่าย • มี 7 โรงงานใน 4 ประเทศ คือ ไทย เวียดนาม อินโดนีเซีย และจีน • ยอดขายจาก อมริกาเหนือ ยุโรป เอเชีย ประมาณร้อยละ 40, 30, 30 ตามลำดับ • การจัดหาวัตถุดิบ

  14. ลักษณะและพฤติกรรมการลงทุนโดยตรงลักษณะและพฤติกรรมการลงทุนโดยตรง • เริ่มจากการขยายการจัดจำหน่ายไปยัง สหรัฐอเมริกา (1992) ฝรั่งเศส (1992) อังกฤษ (1994) • เริ่มขยายฐานการผลิตและจัดจำหน่ายไปยังประเทศ เวียดนาม (1995) อินโดนีเซีย (1995) จีน (2003) • ขยายฐานการจำหน่ายไปยังเยอรมนี (2005) และอินเดีย (2007)

  15. มูลเหตุจูงใจการลงทุน

  16. การวัดผลการดำเนินงาน • ROA = (กำไรสุทธิของบริษัทย่อย/สินทรัพย์รวมของบริษัทย่อย) * 100

  17. ผลการดำเนินงาน (ROA)

  18. ผลกระทบต่อการผลิต การจ้างงาน และศักยภาพการแข่งขันของแพรนด้า และอุตสาหกรรมอัญมณีและเครื่องประดับไทย

  19. ผลกระทบต่อการผลิตและการจ้างงานผลกระทบต่อการผลิตและการจ้างงาน • การลงทุนในประเทศที่เป็นแหล่งผลิตและจัดจำหน่าย • การย้ายฐานการผลิตบางส่วนไปเวียดนามอาจทำให้การผลิตสินค้าในไทยและการจ้างงานในไทยลดลงบ้าง (หากปัจจัยอื่นคงที่) • การขยายฐานการผลิตไปอินโดนีเซียและจีน มีวัตถุประสงค์ด้านการขยายตลาดเป็นหลัก จึงไม่น่าจะทำให้การผลิตและการจ้างงานในไทยเปลี่ยนแปลงมากนัก ยกเว้นว่าไทยอาจจะมีการผลิตสินค้าที่ใช้ฝีมือมากมากขึ้น

  20. ผลกระทบต่อการผลิตและการจ้างงานผลกระทบต่อการผลิตและการจ้างงาน • การลงทุนในประเทศที่เป็นแหล่งจัดจำหน่ายเพียงอย่างเดียว • น่าจะทำให้การผลิตและการจ้างงานในไทยเพิ่มขึ้น • ผู้ผลิตในห่วงโซ่อุปทานได้รับผลกระทบทางบวกทั้งในด้านการผลิตและการจ้างงาน • โดยรวมน่าจะเป็นผลดีต่อผู้ผลิตเครื่องประดับรายอื่น

  21. ผลกระทบต่อศักยภาพการแข่งขันผลกระทบต่อศักยภาพการแข่งขัน • การลงทุนในประเทศที่เป็นแหล่งผลิตและจัดจำหน่าย • ทำให้สามารถพัฒนาผลิตภัณฑ์ได้ตรงกับความต้องการของผู้บริโภคมากขึ้น • อาจเกิดการแบ่งงานในลักษณะที่ในไทยทำเครื่องประดับที่ละเอียดประณีต (ใช้ แรงงานมีฝีมือมาก)รวมถึงดูแลเรื่องการออกแบบ ในขณะที่ต่างประเทศทำงานที่ซับซ้อนน้อยกว่า(ใช้แรงงานที่มีฝีมือไม่มากนัก) • กดดันให้แรงงานไทยพัฒนาฝีมือ เกิดผลกระทบภายนอกเชิงบวกกับผู้ผลิตเครื่องประดับรายอื่น

  22. ผลกระทบต่อศักยภาพการแข่งขันผลกระทบต่อศักยภาพการแข่งขัน • การลงทุนในประเทศที่เป็นแหล่งจัดจำหน่ายเพียงอย่างเดียว • สินค้าจากไทยอาจได้รับการยอมรับจากต่างประเทศมากขึ้น • เกิดการพัฒนาอุตสาหกรรมที่เกี่ยวข้องในห่วงโซ่อุปทาน • เกิดผลกระทบภายนอกเชิงบวกกับผู้ผลิตเครื่องประดับรายอื่น

  23. THANK YOU

More Related