1 / 35

ASEAN

“ ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ” : ประโยชน์ ผลกระทบและการปรับตัว. ASEAN. Ten Nations, One Community. หัวข้อการนำเสนอ. 1. ความเป็นมาของอาเซียน. 2. ประโยชน์จากการรวมกลุ่มเศรษฐกิจกับอาเซียน. 3. ความร่วมมือในอาเซียนที่ผ่านมา. 4. การจัดตั้งประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ( AEC).

milla
Télécharger la présentation

ASEAN

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. “ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน”“ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน” : ประโยชน์ ผลกระทบและการปรับตัว ASEAN Ten Nations, One Community

  2. หัวข้อการนำเสนอ 1. ความเป็นมาของอาเซียน 2. ประโยชน์จากการรวมกลุ่มเศรษฐกิจกับอาเซียน 3. ความร่วมมือในอาเซียนที่ผ่านมา 4. การจัดตั้งประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC) 5. ผลประโยชน์และโอกาส/ลู่ทางการค้าภายใต้ AEC 6. ผลกระทบและการปรับตัว

  3. AEC ความเป็นมาของอาเซียน

  4. ความเป็นมาของอาเซียน • อาเซียน - สมาคมประชาชาติแห่งเอเซียตะวันออกเฉียงใต้ (Association of Southeast Asian Nations: ASEAN) • ก่อตั้งเมื่อ 8 สิงหาคม 2510 ที่กรุงเทพฯ • ครบรอบ 40 ปีเมื่อ 2550

  5. ประเทศสมาชิกอาเซียน ASEAN และปีที่เข้าร่วม อาเซียน 6 ปี 2540 ปี 2540 สมาชิกใหม่ CLMV ปี 2510 ปี 2510 ปี 2538 ปี 2510 ปี 2510 ปี 2542 ปี 2527 ปี 2510

  6. AEC การรวมตัวกับอาเซียนที่ผ่านมาไทยได้ประโยชน์อะไร ?

  7. ไทยส่งออกไปอาเซียน ไทยนำเข้าจากอาเซียน ประโยชน์ที่ได้รับจากการรวมกลุ่มเศรษฐกิจกับอาเซียน การส่งออกไปอาเซียน และ การนำเข้าจากอาเซียน ขยายตัวมาโดยตลอด

  8. การค้าของไทยกับอาเซียนการค้าของไทยกับอาเซียน

  9. การค้าของไทยกับอาเซียนการค้าของไทยกับอาเซียน

  10. สินค้าสำคัญของการค้าไทย-อาเซียนสินค้าสำคัญของการค้าไทย-อาเซียน

  11. AEC อาเซียนได้ทำอะไรร่วมกันมาอย่างไร ?

  12. ความร่วมมือทางเศรษฐกิจของอาเซียนที่ผ่านมาความร่วมมือทางเศรษฐกิจของอาเซียนที่ผ่านมา 1. เขตการค้าเสรีอาเซียน (AFTA) • ลงนาม (โดย นรม.อานันท์ ปันยารชุน) ปี 2535 เริ่มใช้ 2536 2. กรอบความตกลงด้านการค้าบริการ (AFAS) • ลงนาม (โดย นรม.อำนวย วีรวรรณ) ปี 2538 เริ่มใช้ 2539 3.ความร่วมมือด้านอุตสาหกรรมของอาเซียน (AICO) • เริ่มใช้ ปี 2539 4.เขตการลงทุนอาเซียน (AIA) • ลงนาม (โดย นรม.ศุภชัย พานิชย์ภักดิ์) เริ่มใช้ ปี 2541

  13. AEC ก้าวสู่ “ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน”

  14. อาเซียน ชุมชนอาเซียน การจัดตั้งประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน • ผู้นำอาเซียนได้ประกาศแถลงการณ์ที่เมืองเซบู ฟิลิปปินส์ เมื่อ 13 มกราคม 2550 เพื่อเร่งรัดการจัดตั้ง “ ประชาคมอาเซียน” ใน ปี ค.ศ. 2015 (พ.ศ. 2558)

  15. พิมพ์เขียว AEC AEC Blueprint ประชาคมอาเซียน ปี 2558 (2015) ประชาคม ความมั่นคง อาเซียน(ASC) กฎบัตรอาเซียน ประชาคม เศรษฐกิจ อาเซียน(AEC) ตารางดำเนินการStrategic Schedule ประชาคม สังคม-วัฒนธรรม อาเซียน (ASCC)

  16. ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ปี 2558 (ASEANEconomicCommunity:AEC) เป็นตลาดและฐานการผลิตร่วม ประชาคม เศรษฐกิจ อาเซียน(AEC) เคลื่อนย้ายสินค้าเสรี เคลื่อนย้ายบริการอย่างเสรี เคลื่อนย้ายแรงงานมีฝีมืออย่างเสรี เคลื่อนย้ายการลงทุนอย่างเสรี เคลื่อนย้ายเงินทุนอย่างเสรีมากขึ้น

  17. แผนงานเร่งรัดการจัดตั้งประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนแผนงานเร่งรัดการจัดตั้งประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC Blueprint : พิมพ์เขียวประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน) • ทำไมต้องมี AEC Blueprint ? • เพื่อกำหนดทิศทาง/แผนงานที่จะต้องดำเนินงานตามกรอบ ระยะเวลาที่กำหนด จนบรรลุเป้าหมายAECในปี พ.ศ. 2558 (ค.ศ. 2015) • สร้างพันธสัญญาระหว่างสมาชิก ที่จะดำเนินการไปสู่เป้าหมายดังกล่าวร่วมกัน

  18. แผนงานสำคัญภายใต้ AEC Blueprint วัตถุประสงค์ 4 ด้าน ตลาดและ ฐานการผลิตร่วม สร้างเสริมขีดความ สามารถการแข่งขัน ลดช่องว่าง ความแตกต่าง บูรณาการเข้ากับ เศรษฐกิจการค้าโลก --- แผนงาน ------ ส่งเสริมการ เคลื่อนย้ายสินค้า บริการ การลงทุน แรงงาน และ เงินทุนที่เสรี โดยลด อุปสรรคในด้านต่างๆ ---- แผนงาน ------- ส่งเสริมขีด ความสามารถในด้าน ต่างๆ เช่น นโยบาย การแข่งขัน ทรัพย์สินทางปัญญา e-commerce ฯลฯ ---แผนงาน ----- • ส่งเสริมการ รวมกลุ่มของประเทศ สมาชิก • ลดช่องว่าง/ความ แตกต่างของระดับ การพัฒนาระหว่าง สมาชิกเก่าและใหม่ --- แผนงาน --- • ส่งเสริมการ รวมกลุ่มเข้ากับ ประชาคมโลก • ปรับประสานนโยบาย ในระดับภูมิภาค • สร้างเครือข่ายการ ผลิต/จำหน่าย

  19. ปี 2553 ปี 2558 ภาษี0% ลดภาษีตามลำดับ ภาษี0% อาเซียน - 6 เวียดนาม ลาว พม่า กัมพูชา ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC) ปี 2558 เปิดเสรีการค้าสินค้า ส่งออกสินค้าไปอาเซียน ไม่ต้องเสียภาษีนำเข้า มียกเว้นบางรายการ ที่เป็นสินค้าอ่อนไหว (Sensitive List) ภาษีไม่ต้องเป็นศูนย์ แต่ต้องต่ำกว่า 5% ไทย มี 4รายการ ไม้ตัดดอก มะพร้าวแห้ง มันฝรั่ง กาแฟ

  20. ปี 2558 ยกเลิกทั้งหมด ปี 2553 ปี 2555 อาเซียน 5 ยกเลิกทั้งหมด ฟิลิปปินส์ ยกเลิกทั้งหมด ลาว พม่า กัมพูชา เวียดนาม ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC) ปี 2558 เปิดเสรีการค้าสินค้า ขจัดมาตรการกีดกันการค้าที่ไม่ใช่ภาษี เช่น การใช้โควตาภาษี, การออกใบอนุญาตนำเข้า , การอนุญาตให้หน่วยงานเฉพาะสามารถนำเข้าได้

  21. ปี 2551 (2008) ปี 2553 (2010) ปี 2556 (2013) ปี 2549 (2006) ปี 2558 (2015) 51% 70% สาขา PIS 49% :เทคโนโลยีสารสนเทศ สุขภาพ ท่องเที่ยว การบิน 70% 70% 30% 49% 51% PIS: Priority Integration Sectors (สาขาเร่งรัดการรวมกลุ่ม) ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC) ปี 2558 เปิดเสรีภาคบริการ ให้นักลงทุนอาเซียนสามารถถือหุ้นในธุรกิจบริการต่างๆ ลอจิสติกส์ สาขาอื่น

  22. ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC) ปี 2558 เปิดเสรีลงทุน ไปลงทุนในอาเซียนได้อย่างเสรี นักลงทุนไทยจะได้รับการปฏิบัติอย่างเสมอภาคและเท่าเทียม นักลงทุนท้องถิ่นในอาเซียนอื่นๆ

  23. AEC ลู่ทางและโอกาสทางการค้าใน “ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน”

  24. ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC) ปี 2558 ผลประโยชน์จากการเปิดเสรีการค้าสินค้าและลงทุน ตลาดขนาดใหญ่ • ประชากรกว่า 560 ล้านคน • ผลิตยิ่งมาก ต้นทุนยิ่งถูกลง • ต่างประเทศสนใจมาลงทุน มาค้าขายด้วย

  25. ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC) ปี 2558 ผลประโยชน์จากการเปิดเสรีการค้าสินค้าและลงทุน ส่งเสริมแหล่งวัตถุดิบ • ได้ประโยชน์จากทรัพยากรในภูมิภาคอาเซียน • วัตถุดิบถูกลง ต้นทุนผลิตสินค้าต่ำลง ขีดความสามารถแข่งขันสูงขึ้น • เลือกหาวัตถุดิบ แรงงาน เทคโนโลยี และสถานที่ผลิตที่ได้เปรียบที่สุด กลุ่มที่มีวัตถุดิบและ แรงงาน กลุ่มที่มีความถนัด ด้านเทคโนโลยี กลุ่มที่เป็นฐานการผลิต เวียดนาม กัมพูชา พม่า ลาว สิงคโปร์ มาเลเซีย ไทย ไทย มาเลเซีย อินโดนีเซีย เวียดนาม

  26. ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC) ปี 2558 ผลประโยชน์จากการเปิดเสรีการค้าสินค้าและลงทุน สินค้าที่มีลู่ทาง มีโอกาสในอาเซียน • เกษตร : ข้าวโพด น้ำมันพืช(ทำจากเมล็ดทานตะวัน เมล็ดดอกคำฝอย เมล็ด ฝ้าย) มันสำปะหลังข้าว น้ำตาล • ผลิตภัณฑ์ประมง : ปลาสดหรือแช่เย็น ปลาที่ปรุงแต่งต่างๆ กุ้ง ฯลฯ • ยางพาราและผลิตภัณฑ์ยาง : รองเท้า ถุงมือ ของเล่น ฯลฯ • ผลิตภัณฑ์เนื้อสัตว์ : เนื้อไก่ เนื้อหมู • ผลิตภัณฑ์ไม้ : แผ่นชิ้นไม้อัด ไฟเบอร์บอร์ด ฯลฯ

  27. ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC) ปี 2558 ผลประโยชน์จากการเปิดเสรีการค้าสินค้าและลงทุน สินค้าที่มีลู่ทาง มีโอกาสในอาเซียน • ผลิตภัณฑ์อิเล็กทรอนิกส์ : แผงวงจรพิมพ์ แผงวงจรไฟฟ้า วงจรรวม กล้อง ถ่ายวิดีโอ วิทยุติดตามตัว • ผลิตภัณฑ์เทคโนโลยีสารสนเทศ : แผ่นบันทึก ซีดีรอม ดีวิดี ฯลฯ • ยานยนต์ : ขนาดกระบอกสูบ > 1,000 cc • ส่วนประกอบ-อุปกรณ์ยานยนต์ : ถังน้ำมัน เครื่องยนต์ ไส้หมอน้ำ ฯลฯ • สิ่งทอ : เส้นใย กลุ่มใยยาวสังเคราะห์ ด้าย ผ้าพิมพ์ ฯลฯ • ผลิตภัณฑ์สุขภาพ : ยา เครื่องมือแพทย์ เครื่องสำอาง กระดาษผ้าอ้อม ฯลฯ

  28. ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC) ปี 2558 ผลประโยชน์จากการรวมกลุ่มของอาเซียน เพิ่มกำลังการต่อรอง • 10 เสียง ดังกว่าเสียงเดียว • แนวร่วมในการเจรจาต่อรอง ในเวทีการค้าโลก เช่น WTO • เป็นที่สนใจของประเทศอื่น ที่จะมาทำข้อตกลงการค้าเสรี (FTA)

  29. อาเซียน สหภาพยุโรป EU จีน ญี่ปุ่น ออสเตรเลีย นิวซีแลนด์ เกาหลี ประโยชน์ของการทำข้อตกลงการค้าเสรี(FTA)ร่วมกันของอาเซียน ลูกไม้ถักฟิลิปปินส์ ส่งไปปักในกัมพูชา กระดุมเวียดนาม ผ้ามาเลเซีย โรงงานผลิตในไทย

  30. AEC ผลกระทบและการปรับตัว

  31. ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC) ปี 2558 ผลกระทบ สินค้าที่ไทยจะต้องเปิดตลาด และอาจมีการเข้ามาแข่งขันจากอาเซียนอื่นๆ เช่น น้ำมันปาล์ม น้ำมันถั่วเหลือง ไหมดิบ กาแฟ น้ำตาลทราย ผัก ผลไม้ สินค้าประมง เสื้อผ้าสำเร็จรูป

  32. ติดต่อ กรมการค้าต่างประเทศ ติดต่อ กรมการค้าต่างประเทศ ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC) ปี 2558 มาตรการรองรับผลกระทบ • กองทุนเพื่อการปรับตัว ของภาคการผลิตและบริการ • ให้ความช่วยเหลือผู้ผลิต/ผู้ประกอบการสินค้าเกษตรแปรรูป สินค้าอุตสาหกรรม และบริการ • กองทุนช่วยเหลือของกระทรวงเกษตรฯ • พรบ.มาตรการปกป้องการนำเข้าที่เพิ่มขึ้น (Safeguard Measure)

  33. ติดต่อ กรมส่งเสริมการส่งออก ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC) ปี 2558 แนวทางการปรับตัว เชิงรุก • เพิ่มขีดความสามารถแข่งขัน • สร้างมูลค่าเพิ่ม สร้างแบรนด์ • ใช้กลยุทธ์ตลาดเชิงรุก เจาะตลาดผู้ซื้อ • พัฒนาและผลิตสินค้าตรงตามความต้องการของตลาด • กลยุทธ์ระยะยาว • นำเทคโนโลยีใหม่ๆ มาใช้ เช่น เทคโนโลยีสารสนเทศ • ให้ความสำคัญกับการวิจัยและพัฒนา • ศึกษาหาโอกาสทางธุรกิจใหม่ๆ

  34. ติดต่อ กรมเจรจาการค้าฯ ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC) ปี 2558 แนวทางการปรับตัว เชิงรับ • ปรับปรุงเตรียมแผนรองรับสำหรับสินค้าที่ขาดศักยภาพแข่งขัน • พัฒนาเทคโนโลยี พัฒนาระบบบริหารจัดการ • พัฒนาบุคคลากร แรงงานฝีมือ ช่างเทคนิค • หากพบมาตรการกีดกันทางการค้า แจ้งหน่วยงานภาครัฐ

  35. ติดต่อข้อมูลเพิ่มเติม : สำนักอาเซียน กรมเจรจาการค้าระหว่างประเทศ www.dtn.go.th Tel : 02 507 7246 FAX: 02 547 5614 Email : suphats@dtn.go.th

More Related