1 / 24

ผลกระทบและการเตรียมตัวต่อระเบียบควบคุม เคมีภัณฑ์ของสหภาพยุโรป (REACH)

ผลกระทบและการเตรียมตัวต่อระเบียบควบคุม เคมีภัณฑ์ของสหภาพยุโรป (REACH). REACH คืออะไร การควบคุมตามระเบียบ REACH สารและผลิตภัณฑ์ที่ได้รับการยกเว้นไม่ต้องปฏิบัติตามระเบียบ REACH ผลกระทบต่อผู้ประกอบการไทย การเตรียมตัวเพื่อลดผลกระทบ ภาครัฐ (กรมโรงงานอุตสาหกรรม) - ผู้นำเข้าสาร

moira
Télécharger la présentation

ผลกระทบและการเตรียมตัวต่อระเบียบควบคุม เคมีภัณฑ์ของสหภาพยุโรป (REACH)

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. ผลกระทบและการเตรียมตัวต่อระเบียบควบคุมเคมีภัณฑ์ของสหภาพยุโรป (REACH) REACH คืออะไร การควบคุมตามระเบียบ REACH สารและผลิตภัณฑ์ที่ได้รับการยกเว้นไม่ต้องปฏิบัติตามระเบียบ REACH ผลกระทบต่อผู้ประกอบการไทย การเตรียมตัวเพื่อลดผลกระทบ • ภาครัฐ (กรมโรงงานอุตสาหกรรม) - ผู้นำเข้าสาร • ผู้ส่งออกสาร - ผู้ส่งออกสินค้า

  2. REACHเป็นคำย่อของ Registration,Evaluation and Authorization of CHemicals ซึ่งเป็นกระบวนการสำคัญที่สหภาพยุโรปจะนำมาใช้เป็นกฎหมาย (Legistation) สำหรับควบคุมการผลิต และการนำเข้าสารเคมี (substance)สารเคมีที่อยู่ในของผสม (preparation)และ สารเคมีที่อยู่ในสินค้า (substance in article)ที่มีปริมาณตั้งแต่ 1 ตัน/ปี/ราย กลับหน้าแรก

  3. Article 3.1 : Substance means a chemical element and its compounds in the natural state or obtained by any manufacturing process, including any additive necessany to preserve its stability and any impurity deriving from the process used, but excluding any solvent which may be separated without affecting the stability of the substance or changing its compositionArticle 3.2 : Preparation means a mixture or solution composed of two or more substancesArticle 3.3 : Article means an object composed of one or more substances or preparations which during production is given a specific shape, surface or design determining its end use function to a greater degree than its chemical composition does กลับหน้าแรก

  4. กระบวนการควบคุมตาม REACH ประกอบด้วย การจดทะเบียน (Registration) กำหนดระยะเวลาดำเนินการตามปริมาณ และชนิดของสาร การประเมิน (Evaluation) กำหนดสำหรับสารที่มีปริมาณมากกว่า 100 ตัน/ปี การอนุญาต (Authorization) กำหนดสำหรับสารที่มีอันตรายสูง การถ่ายทอดข้อมูลตลอด Supply chain คาดว่าระเบียบ REACH จะใช้บังคับได้ในปี พ.ศ. 2550 หรือต้นปี พ.ศ. 2551

  5. สารเคมีในสินค้า (Substance in Arthicle) ต้องจดทะเบียน หากสารนั้นเป็นสารอันตรายตาม Annex I directive 67/548/EEC และสามารถแพร่ออกขณะใช้งานหรือกำจัด และสารนั้นมีปริมาณมากกว่า 1 ตัน/ปี ใช้งาน มีสารอันตรายตาม Annex I ของ Directive 67/548/EECแพร่ออกปริมาณ > 1 ตัน/ปี กำจัด ใช้สารเคมีในกระบวนการผลิต

  6. สารเคมี 1 - 10 ตัน ข้อมูลทางด้านเทคนิค สารเคมี ในสินค้า ข้อมูลทางด้านเทคนิค + รายงานประเมินความเสี่ยง สารเคมี 11 - 100 ตัน สารเคมี 101 - 1,000 ตัน CMRs*> 1 ตัน สาร > 1,000 ตัน 2553 2556 2561 2561+ 3 เดือน เริ่มใช้บังคับปี 2550 CMRs : Carcinogen Mutagen Toxic for Reproduction กรอบระยะเวลาการขึ้นทะเบียนและเอกสารที่ต้องใช้

  7. ข้อมูลที่ต้องเตรียมสำหรับการจดทะเบียน (1) ขึ้นอยู่กับปริมาณและชนิดของสารดังนี้ สารปริมาณ > 1 ตัน/ปี ข้อมูลทางด้านเทคนิค - ข้อมูลเกี่ยวกับสารเคมีรวมทั้งคุณสมบัติและความเป็นอันตราย - ปริมาณ - ชื่อผู้ผลิต / ผู้นำเข้า และสถานที่ติดต่อ - วัตถุประสงค์ในการนำไปใช้ - มาตรการเพื่อความปลอดภัย - ประเภทความเป็นอันตรายของสารและการติดฉลาก (classification& labeling, ตามข้อบังคับ 67/548/EEC - วิธีการทดสอบ

  8. ข้อมูลที่ต้องเตรียมสำหรับการจดทะเบียน (2) • สารปริมาณ >10 ตัน/ปี • 1. ข้อมูลทางด้านเทคนิค • 2. รายงานการประเมินความเสี่ยง • - การประเมินความเป็นอันตรายต่อสุขภาพ • - การประเมินความเป็นอันตรายต่อสิ่งแวดล้อม • - การประเมินสาร PBT* และ vPvB** • - ลักษณะและโอกาสการได้รับสาร • - การป้องกันความเสี่ยง PBT : Persistent Bioaccumulation and Toxic vPvB : Very Persistent or very Bioaccumulation

  9. ข้อมูลที่ต้องเตรียมสำหรับการประเมินข้อมูลที่ต้องเตรียมสำหรับการประเมิน • สารปริมาณ > 100 ตัน/ปี • รายงานการทดสอบความเป็นอันตรายต่อสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม • พร้อมทั้งยื่นข้อเสนอวิธีการทดสอบ ให้พิจารณาก่อนทำการทดสอบ

  10. ข้อมูลที่ต้องเตรียมสำหรับการอนุญาตข้อมูลที่ต้องเตรียมสำหรับการอนุญาต * สารอันตรายสูง เช่น CMRs สารที่มีพิษตกค้างยาวนาน (PBTs, และ vPvB) - ต้องพิสูจน์ให้เห็นว่า สามารถใช้สารเคมีเพื่อวัตถุประสงค์นั้น ได้อย่างปลอดภัยต่อสิ่งมีชีวิต และสิ่งแวดล้อม - ต้องแสดงให้เห็นว่าไม่มีสารทดแทน หรือเทคโนโลยีทดแทน - ต้องมีข้อมูลการวิเคราะห์ผลกระทบทางด้านเศรษฐกิจและสังคม

  11. การถ่ายทอดข้อมูลตลอด Supply chain ผู้ผลิต ผู้นำเข้า ผู้จำหน่าย และผู้ซื้อสารนั้นไปผลิตสินค้าต้องจัดส่ง ข้อมูล Safety Data Sheet (SDS) ต่อกันเป็นทอด ๆ ข้อมูลเกี่ยวกับลักษณะและวิธีการใช้สารและสภาวะแวดล้อมขณะใช้ ผู้ใช้สารเคมีที่ผลิตสินค้าต้องแจ้งข้อมูล ลักษณะ และวิธีการใช้สารของ ตนให้แก่ผู้ผลิต หรือผู้นำเข้า เพื่อให้ผู้ผลิตหรือนำเข้าทำรายงานการ ประเมินความเสี่ยงให้ครอบคลุมวิธีการใช้นั้นด้วย

  12. สารปริมาณ > 1 ตัน / ปี / ราย จดทะเบียน (Registration) ผลิต นำเข้าได้ ปริมาณ > 100 ตัน / ปี / ราย ประเมิน (Evaluation) ผลิต นำเข้าได้ สารอันตรายสูง เช่น CMRs (category 1&2) PBTs , vPvB เป็นต้น ผังกระบวนการควบคุม ตาม REACH การอนุญาต (Authorization) * ต้องพิสูจน์ให้เห็นว่าสามารถ ใช้สารนั้นได้อย่างปลอดภัย อนุญาตให้ผลิตหรือใช้ได้ตาม เงื่อนไขและวิธีการที่กำหนดเท่านั้น * มีความเสี่ยงสูง แต่ไม่มีสาร ทดแทน * จำเป็นด้วยเหตุผลด้านเศรษฐกิจ และสังคม จำกัดการผลิต การใช้ อย่างเคร่งครัด กลับหน้าแรก

  13. สารที่ได้รับการยกเว้น : * สารกัมมันตรังสี 4 * ผลิตภัณฑ์ภายใต้การควบคุมดูแลของกรมศุลกากร * สารที่เป็น non-isolated intermediate 4

  14. ผลิตภัณฑ์ภายใต้การดูแลของกรมศุลกากร ตาม Article 2.1(b) คือ substances on their own, in a preparation or in an article, which are subject to customs supervision, provided that they do not undergo any treatment or processing, and which are in temporary storage, or in a free zone or free warehouse with a view to re-exportation, or in transit

  15. Article 3.14 (a) non-isolated intermediate means an intermediate that during synthesis is not intentionally removed (except for sampling) form the equipment in which the synthesis takes place such equipment includes the reaction vessel, its ancillary equipment, and any equipment through with the substance (s) pass (es) during a continuous flow or batch process as well as the pipe work for transfer from one vessel to another for the purpose of the next reaction step, and it excludes tanks or other vessels in which the substance (s) and stored after the manufacture.

  16. ผลิตภัณฑ์ที่ได้รับการยกเว้น * ผลิตภัณฑ์ที่ถูกควบคุมตาม directive อื่น ประกอบด้วย ผลิตภัณฑ์ทางการแพทย์สำหรับมนุษย์ / สัตว์ สารปรุงแต่ในอาหาร สารแต่งกลิ่นรสในอาหาร สารปรุงแต่งในอาหารสัตว์ อาหารเสริมสำหรับสัตว์ (Article 4.1) * ผลิตภัณฑ์ตาม Annex II, III หรือ Re-import (Article 4.2) * สารเคมีที่ใช้เพื่อการวิจัยและพัฒนา ได้รับการยกเว้นชั่วคราว (ประมาณ 5 ปี) (Article 7.1) * โพลีเมอร์ (Article 14) * โมโนเมอร์ที่อยู่ในโพลีเมอร์ น้อยกว่า 2%w/w (ตาม Article 5.3) กลับหน้าแรก

  17. ผลกระทบต่อผู้ประกอบการไทย (1) ผู้ผลิต/ส่งออกสารเคมีของไทย ผู้ผลิตสารเคมี EU Non EU ไม่ใช่ ใช้สารเคมีผลิตสินค้า ปริมาณ > 1 ตัน / ปี / ราย นำเข้าได้ ไม่ใช่ ใช่ ขายสารได้ (ไม่ต้องปฏิบัติตาม REACH) ส่งสินค้าไป EU ใช่ ใช่ เตรียมข้อมูลจดทะเบียนเอง นำเข้าได้ * เป็นสารอันตรายตามเกณฑ์ของ EU * ปล่อยออกในระหว่างใช้หรือกำจัด * ปริมาณสารอันตรายที่ปล่อยออก > 1 ตัน / ปี / ราย ไม่ใช่ ไม่ใช่ ใช่ ขายสารได้ (ไม่ต้องปฏิบัติตาม REACH) ผู้นำเข้ายอมจดทะเบียน นำเข้าได้ ไม่ใช่ ใช่ นำเข้าไม่ได้ ใช่ ผู้ผลิตสารของไทย จดทะเบียนสารและวิธีการใช้แล้ว ขายสารได้ ไม่ใช่ ใช่ ผู้ผลิตสินค้าจดทะเบียนเอง ขายสารได้ ไม่ใช่ ขายสารไม่ได้

  18. ผลกระทบต่อผู้ประกอบการไทย (2) ผู้ผลิตสินค้า ตรวจสอบสินค้าที่ส่งไป EU สารเคมีที่สามารถปล่อยออกจากสินค้า เป็นสารอันตรายตามเกณฑ์ของ EU ปริมาณสารอันตราย > 1 ตัน / ปี / ผู้นำเข้าแต่ละราย ไม่ใช่ตาม ข้อใดข้อหนึ่ง นำสินค้าเข้า EU ได้ - อาจต้องตั้งตัวแทนใน EU - ต้องเตรียมข้อมูล ในระหว่างการใช้งานหรือการกำจัด ใน Annex I directive 67/548/EEC ใช่ทุกข้อ ดำเนินการจดทะเบียน ตรวจสอบการจดทะเบียนกับ EU ยังไม่ได้จดทะเบียน จดทะเบียนแล้ว ใช่ ใช้สารตามที่ระบุในรายงานประเมินความเสี่ยง นำสินค้าเข้า EU ได้ ไม่ใช่ ซื้อสารจากผู้ผลิตรายใหม่ แจ้งข้อมูลการใช้สารให้ผู้ผลิตทราบ ความลับทางการค้าอาจถูกเปิดเผย ไม่ตกลง ดำเนินการจดทะเบียน ตกลง ผู้ผลิตยอมทำรายงานการประเมิน ความเสี่ยงให้ครอบคลุมวีการใช้และเสนอ Central Agency นำสินค้าเข้า EU ได้

  19. สรุปผลกระทบต่อผู้ประกอบการของไทย (1) ผู้นำเข้าสารเคมี - ราคาสารแพงขึ้น - อาจมีสารเคมีบางชนิดยกเลิกการผลิต โดยเฉพาะสารที่มีอันตรายสูง ผู้ผลิต/ส่งออกสารเคมี - ต้องเสียค่าใช้จ่ายในการเตรียมข้อมูลสำหรับจดทะเบียน - เสียค่าใช้จ่ายในการเตรียม SDS (Safety Data Sheet) เพื่อถ่ายทอดให้คู่ค้า - อาจต้องตั้งตัวแทนเพื่อจดทะเบียนใน EU - อาจต้องจดทะเบียนหรือเตรียมข้อมูลถึงแม้ว่าจะส่งออกไปยังประเทศ นอกสหภาพยุโรป เนื่องจากประเทศเหล่านั้นนำสารไปผลิตสินค้า และส่งออกไปสหภาพยุโรป

  20. สรุปผลกระทบต่อผู้ประกอบการของไทย (2) ผู้ผลิต/ส่งออกสินค้าที่มีสารเคมี - สารที่จะใช้ในการผลิตสินค้ามีราคาแพงขึ้น - เสียค่าใช้จ่ายในการเตรียมข้อมูลสำหรับจดทะเบียน - เสียค่าใช้จ่ายในการเตรียม SDS เพื่อถ่ายทอดให้คู่ค้า - อาจต้องตั้งตัวแทนเพื่อจดทะเบียนใน EU- อาจต้องเปิดเผยความลับทางการค้า - อาจต้องส่งสินค้าไปวิเคราะห์ยังห้องปฏิบัติการของต่างประเทศ ที่ EU ยอมรับ - อาจต้องปรับปรุงกระบวนการผลิตสินค้า หรือซื้อสารจาก แหล่งใหม่ กลับหน้าแรก

  21. การเตรียมตัวเพื่อลดผลกระทบ (1) ภาครัฐ 1. กระทรวงอุตสาหกรรมจัดตั้งคณะกรรมการกำหนดมาตรการรองรับ กฎระเบียบของสหภาพยุโรป 2. กรมโรงงานอุตสาหกรรมกำหนดแผนปฏิบัติงานเพื่อยกระดับ ขีดความสามารถของผู้ประกอบการ เช่น การติดตามกฎระเบียบ รวมทั้งรายละเอียดวิธีการปฏิบัติตามขั้นตอนต่าง ๆ และเผยแพร่ สร้างความเข้าใจให้ผู้ประกอบการ พัฒนากฎระเบียบให้เหมาะสม เช่น การเข้มงวดข้อมูล SDS และ ข้อมูลการใช้สารตามวิธีที่ EU ได้จดทะเบียนไว้จากผู้นำเข้าของไทย เป็นต้น ปรับปรุงรายการวัตถุอันตรายที่ควบคุมให้เหมาะสม สอดคล้องกับระเบียบ REACH

  22. การเตรียมตัวเพื่อลดผลกระทบ (2) d ผู้นำเข้า ตรวจสอบข้อมูลจากผู้ผลิตทั้งใน EU และนอก EU เช่นข้อมูล SDS เป็นต้น ตรวจสอบการจดทะเบียน และวิธีการใช้สารที่จดทะเบียนไว้แล้ว เผยแพร่ข้อมูลให้กับลูกค้า ผู้ส่งออกสารเคมี ติดตามความเคลื่อนไหวของ REACH ตรวจสอบกับผู้นำเข้าของ EU เตรียมข้อมูล เพื่อจัดทำ SDS

  23. การเตรียมตัวเพื่อลดผลกระทบ (3) d ผู้ส่งออกสินค้าที่ใช้สารเคมี ติดตามความเคลื่อนไหวของ REACH จาก Website ต่าง ๆ เช่น Website ของ สกว. http://www.chemtrack.org Website ของ EU http://www.ecb.jrc.it ทำความเข้าใจและตรวจสอบว่าสินค้าของตนเข้าข่ายต้องปฏิบัติตาม REACH หรือไม่ ตรวจสอบกับผู้ผลิตสารของ EU สร้างเครือข่ายความร่วมมือของกลุ่มผู้ใช้สารเดียวกันเพื่อเพิ่มน้ำหนักการ ต่อรองผู้ผลิตสารใน EU ให้จดทะเบียนครอบคลุมวิธีการใช้สารของ ผู้ประกอบการไทย หลีกเลี่ยงการใช้สารอันตรายสูง หาสารเคมีอื่นทดแทน (เปลี่ยนกระบวนการผลิต)

  24. สวัสดี

More Related