1 / 38

Utility weights study in TOP 5 diseases in Thailand. W. Thanawat MD.,M.P.A.

Utility weights study in TOP 5 diseases in Thailand. W. Thanawat MD.,M.P.A. I.Introduction. DALYs calculation needs YLL YLD Instrument SG TTO VAS Multi-attribute questionaires. EQ-5D,EQ-5D+C SF-36 MOS-HIV. II. Quality of life measurement.

morse
Télécharger la présentation

Utility weights study in TOP 5 diseases in Thailand. W. Thanawat MD.,M.P.A.

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. Utility weights study in TOP 5 diseases in Thailand. W. Thanawat MD.,M.P.A.

  2. I.Introduction • DALYs calculation needs • YLL • YLD • Instrument • SG • TTO • VAS • Multi-attribute questionaires. • EQ-5D,EQ-5D+C • SF-36 • MOS-HIV

  3. II. Quality of life measurement • Quality of life was measured by using the EuroQol (EQ-5D) in Thai version (see appendix). The descriptive system of the EQ-5D recorded quality of life in five dimensions: mobility, self-care, usual activities (such as work, study, housework, and family or leisure activities), pain or discomfort, and anxiety-depression. Each dimension is divided into three response levels: no problems, some or moderate problems, and extreme problems or inability to perform the activity. The responses on these five dimensions are weighted on a scale where 0.0 = death and 1.0 = perfect health. • Interviewing technique was used by our trained staffs to accommodate patients to complete this questionnaire.

  4. การศึกษาในผู้ป่วยHIV และเอดส์. • จากที่มีการใช้ยาต้านไวรํส(Anti Retro Viral drug) ในปริมาณมาก จึงมีการศึกษาเปรียบเทียบระหว่างการใช้ และไม่ใช้ยา และรวมถึงระดับของ CD 4+ lymphocyte ,การติดเชื้อฉวยโอกาส และจำนวนของเชื้อไวรัส(Plasma Viral Load) • Cunningham WE et al(2005)[i]ได้ระบุว่าค่าใช้จ่ายในการรักษา HIV มีความแตกต่างกัน เมื่อ CD4 และระยะของโรคมีความแตกต่างกัน โดยใช้ HR-QOL เป็นตัวเก็บข้อมูล • William C Mathews and Susanne May(2007)[ii]ได้ระบุว่า EQ-5D นั้นเหมาะที่จะใช้เป็นเครื่องมือที่ขะใช้ในการศึกษา คุณภาพชีวิต เรื่องจาก ความกะทัดรัด สะดวกที่จะทำซ้ำ และทำเป็นประจำ และดีสำหรับการศึกษาเปรียบเทียบระหว่าง อรรถประโยชน์ที่เกิดขึ้นกับค่าใช้จ่ายที่สูญเสียไปในผู้ป่วยติดเชื่อเอชไอวี และภาวะอื่นร่วม • [i] Cunningham WE ,Crystal S, Bozzette S, Hays RD: The association of health-related quality of life with survival among persons with HIV infection in the United States. J Gen Intern Med 2005, • 20(1):21-27. • [ii] William C Mathews and Susanne May: EuroQol (EQ-5D) measure of quality of life predicts mortality,emergency department utilization, and hospital discharge rates in HIV-infected adults under care,Biomed Central 2007

  5. การศึกษาในผู้ป่วยHIV และเอดส์.(2) • มีการศึกษาที่น่าสนใจในการวัดสภาวะสุขภาพที่มีอยู่ในผุ้ป่วย HIV/ADIS โดยเครื่องมือที่ชื่อว่า Medical Outcomes Study HIV Health Survey (MOS-HIV) ซึ่งพัฒนามาจาก SF-20[i]และพัฒนาต่อเป้น 30 หัวข้อในการถาม[ii]เพื่อความสะดวกไม่เยิ่นเย้อในผู้ป่วย HIV[iii]ซึ่งมีการรายงานค่าสหสัมพันธ์ที่ได้จาก MOS-HIV และ EQ-5D,EQ-5D-VAS,HUI3 จาก 0.6-0.75 ในขณะที่ EQ-5d และ HUI3 มีค่าเท่ากับ 0.73[iv] • [i] Stewart AL, Hays RD, Ware JE ,Jr. (1988) The MOS short-form general health survey: reliability and validity in a patient population. Medical Care; 26:724-735. • [ii] Wu AW, Rubin HR, Mathews WC, et al. (1991). A health status questionnaire using 30 items from the Medical Outcomes Study: preliminary validation in persons with early HIV infection. Medical Care; 29:786-798. • [iii]Albert W. Wu MOS-HIV Health Survey Users Manual 1999 http://chipts.ucla.edu/assessment/pdf/assessments/MOS-HIV%20Users%20Manual%20%20Draft.pdf • [iv] Joyce, Vilija R MS*; Barnett, Paul G PhD*; Bayoumi, Ahmed M MD, et al. Health-Related Quality of Life in a Randomized Trial of Antiretroviral Therapy for Advanced HIV Disease JAIDS Journal of Acquired Immune Deficiency Syndromes:Volume 50(1)1 January 2009pp 27-36

  6. การศึกษาในผู้ป่วยHIV และเอดส์.(3) • การศึกษาด้านคุรภาพชีวิตของผู้ติดเชื้อ HIV ในประเทศไทยนั้น ได้เคยมีการศึกาโดยใช้ MOS-HIV ฉบับแปฃ ในเขตภาคเหนือของประเทศไทย ซึ่งผลออกมาว่า ความ internal consistency and discriminant validity เท่ากับ 93.8 and 97.4% โดยที่ค่าเฉลี่ยของคุณภาพชีวิต อยู่ในช่วง 50.7 - 61.5[i] • [i] Masao Ichikawa1, Chawalit Natpratan Quality of life among people living with HIV/AIDS in northern Thailand: MOS-HIV Health Survey Quality of Life Research 13: 601–610, 2004.

  7. การศึกษาในผู้ป่วยHIV และเอดส์.(4) • ในด้านความสัมพันธ์ของ แต่ละเครื่องมือ มีผู้ทำการศึกษาไว้ ว่าในกลุ่มผู้ป่วย HIV ที่ CD4<100 มีค่าสหสัมพันธ์ของ EQ-5D score กับ HIV-MOS ในระดับย่อย อยู่ที่ 0.45 (ในแง่บทบาท) to 0.63 (ความเจ็บปวด) และ EQ-VAS มีค่าสหสัมพันธ์เท่ากับ 0.33 (การรู้ตัว) ถึง 0.66 (การรับรู้สุขภาพ).[i] • การเปลี่ยนแปลงของค่า EQ-5D ของผู้ป่วย HIV ,แนวโน้มที่จะเปลี่ยนแปลงรายสัปดาห์[ii] • [i]Wu A W; Jacobson K L; Frick K D Validity and responsiveness of the euroqol as a measure of health-related quality of life in people enrolled in an AIDS clinical trial.Quality of life research : an international journal of quality of life aspects of treatment, care and rehabilitation 2002;11(3):273-82. • [ii] Kind P. Annu Meet Int Soc Technol Assess Health Care Int Soc Technol Assess Health Care Meet. 1997; 13: 81. http://gateway.nlm.nih.gov/MeetingAbstracts/ma?f=102233086.html

  8. การศึกษาในผู้ป่วยHIV และเอดส์.(5) • การศึกษาได้แบ่งผู้ป่วยออกเป็น 3 กลุ่มย่อยโดยอาศัยนิยามของ WHO ดังนี้ • 1. HIV และยังไม่ปรากฏกลุ่มอาการ AIDs • 2. AIDs และได้รับยาต้านไวรัส • 3. AIDs และไม่ได้รับยาต้านไวรัส • โดยทั้งหมดเป็นไปตามนิยามของ Center of Disease Control(CDC) 1993

  9. การศึกษาในผู้ป่วยHIV และเอดส์.(6) • เครื่องมือที่ใช้ในการสำรวจ คือ EQ-5D เครื่องมือนี้ได้มีการนำไปใช้ในการสอบถามผู้ป่วย HIV และ AIDs[i],[ii],[iii]โดยมีปัจจัยที่น่าศึกษาเพิ่มเติม เนื่องจากอาจมีความแตกต่างของค่าอรรถประโยชน์ในภาวะที่แตกต่างกันเหล่านี้ อันได้แก่ • [i] Delate T, Coons SJ. The use of 2 health-related quality-of life measures in a sample of persons infected with human immunodeficiency virus. Clin Infect Dis 32: E47–E52. • [ii] Wu AW, Jacobson KD, Frick DL, et al. Validity and responsiveness of the Euroqol as a measure of • health-related quality of life in people enrolled in an AIDS clinical trial. Qual Life Res 2002; 11: 273–282. • [iii] Knut Stavem et al. Comparison of preference-based utilities of the 15D, EQ-5D and SF-6D in patients with HIV/AIDS. Quality of Life Research (2005) 14: 971–980

  10. การศึกษาในผู้ป่วยHIV และเอดส์.(7) • 1. การติดเชื้อฉวยโอกาส[i],10. • 2. ระดับของ CD4+ lymphocyte3,7. • 3. ระดับ Plasma viral load3. • 4. จำนวนปีภายหลังการวินิจฉัย[ii] • ผู้วิจัยได้เพิ่มรายละเอียดของโรคติดเชื้อฉวยโอกาส เนื่องจากมีผลต่อระดับของค่าอรรถประโยชน์ เช่นเดียวกับการใช้ HRQOL[iii]. • [i] BARRY D. ROSENFELD, MARY WHITE et al.Making Treatment with HIV Infection.: Decisions A Pilot Study of Patient Preferences. http://umg.umdnj.edu/smdm/pdf/17-03-307.pdf • [ii] Alexander H. Miners, Caroline A. Sabin et al. Health-Related Quality of Life in Individuals • Infected with HIV in the Era of HAART HIV Clin Trials 2001;2(6):484–492 • [iii] Diane Franchi and Richard P. Wenzel. Measuring Health-Related Quality of Life Among Patients Infected with Human Immunodeficiency Virus. Clinical Infectious Diseases 1998;26:20–6

  11. การศึกษาในผู้ป่วยเบาหวานการศึกษาในผู้ป่วยเบาหวาน • การศึกษาของคุณภาพชีวิตในผู้ป่วยเบาหวาน ในหลาย ๆ การศึกษาจะทำการศึกษาเกี่ยวกับภาวะแทรกซ้อนที่เกิดขึ้น และปัจจัยเสี่ยงที่เป็นตัวเกี่ยวข้อง เช่น ในกลุ่มที่ความเสี่ยง 3-5 ตัวจะมีค่า EQ-5D อยู่ในระดัย 0.792 ในขณะที่ หากมีความเสี่ยงอยุ่ใน 0-2 ตัวจะมีค่า EQ-5D อยู่ในระดับ 0.870[i] • [i] Susan Grandy and Kathleen M Fox EQ-5D visual analog scale and utility index values in individuals with diabetes and at risk for diabetes: Findings from the Study to Help Improve Early evaluation and management of risk factors Leading to Diabetes (SHIELD)Health and Quality of Life Outcomes 2008, 6:18

  12. ปัจจัยต่าง ๆ ที่มีผลต่อการกำหนดคุณภาพชีวิตของผู้ป่วยเบาหวาน • ระยะการเจ็บป่วยของโรคเบาหวาน[i],[ii] • ชนิดของโรคเบาหวาน9. • ช่องทางการให้ยาเพื่อลดระดับน้ำตาล[iii],[iv]. • ระดับของน้ำตาลจากการอดอาหาร(Fasting blood sugar)[v]. • ระดับของน้ำตาลHbA1C13. • ภาวะแทรกซ้อน และการเจ็บป่วยร่วม[vi] • [i] Paul Glasziou*1, Jan Alexander2, Elaine Beller2, Philip Clarke3 and the ADVANCE Collaborative Group. Which health-related quality of life score? A comparison of alternative utility measures in patients with Type 2 diabetes in the ADVANCE trial. Health and Quality of Life Outcomes 2007, 5:21 doi:10.1186/1477-7525-5-21 • [ii] Adrian Bagust and Sophie Beale Modelling EuroQol health-related utility values for diabetic • complications fromCODE-2 data Health Econ. 14: 217–230 (2005). • [iii] Louis S. Matza ฦ Kristina S. Boye ฦ Nicole Yurgin Jessica Brewster-Jordan ฦ Sally Mannix ฦ Jodi M. Shorr ฦ Beth L. Barber Utilities and disutilities for type 2 diabetes treatment-related Attributes Qual Life Res (2007) 16:1251–1265 • [iv] Murali Sundaram1, Jan Kavookjian1, Julie Hicks Patrick2, Lesley-Ann Miller1, S. Suresh Madhavan1 & Virginia (Ginger) Scott Quality of life, health status and clinical outcomes in Type 2 diabetes patients Quality of Life Research (2007) 16: 165–177 • [v] W. KEN REDEKOP, PHD et al. Health-Related Quality of Life and Treatment Satisfaction in Dutch Patients With Type 2 Diabetes Diabetes Care 25:458–463, 2002 • [vi] James E Graham*1, Diane G Stoebner-May2, Glenn V Ostir3,4, Soham Al • Snih1,3, M Kristen Peek3,5, Kyriakos Markides3,5 and Kenneth J Ottenbacher1,3 Health related quality of life in older Mexican Americans with diabetes: A cross-sectional study. Published: 12 July 2007 Health and Quality of Life Outcomes 2007, 5:39

  13. 3. การศึกษาในผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง • ถึงแม้จำนวนผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองในประเทศไทยจะมีถึง 286,681 ราย20 แต่ เนื่องจากส่วนหนึ่งผู้ป่วยกลุ่มนี้จะมีโรคความดันโลหิตสูง หรือภาวการณ์เจ็บป่วยอื่น ๆ ร่วมด้วย ทำให้การเลือดศึกษาในโรคหลอดเลือดสมอง บางงานวิจัยจึงศึกษาผ่านโรคอื่น ๆ ที่พบร่วมด้วย หรือในบางงานวิจัยเลือกที่จะศึกษาค่าอรรถประโยชน์ที่เกิดกับผู้ที่ต้องมาดูแลผู้ป่วยกลุ่มนี้

  14. ปัจจัยที่มีความสำคัญและมีส่วนในการเปลี่ยนแปลงค่าอรรถประโยชน์ของผู้ป่วย ดังต่อไปนี้ • ชนิดของโรคหลอดเลือดสมอง[i] • ระยะของการเป็นโรค[ii]. • ปัจจัยเสี่ยง[iii]. • ยาที่ใช้ในการรักษา[iv],[v]. • [i] Caroline Haacke, Astrid Althaus, Annika Spottke, Uwe Siebert, Tobias Back and • Richard Dodel Stroke 2006;37;193-198; originally published online Dec 8, 2005; • [ii] A. Simon Pickard, Jeffrey A. Johnson, David H. Feeny, Ashfaq Shuaib, K.C. Carriere and Abdul M. Nasser. Agreement Between Patient and Proxy Assessments of Health-Related Quality of Life After Stroke Using the EQ-5D and Health Utilities Index Stroke 2004;35;607-612; originally published online Jan 15, 2004; • [iii] Jonathan W. Sturm, Geoffrey A. Donnan, Helen M. Dewey, Richard A. L. Macdonell, Amanda K. Gilligan, Velandai Srikanth and Amanda G. Thrift Quality of Life After Stroke: The North East Melbourne Stroke Incidence Study(NEMESIS). Stroke 2004;35;2340-2345; originally published online Aug 26, 2004; • [iv] Gage BF, Cardinalli AB, Albers GW, Owens DK. Cost-effectiveness of warfarin and aspirin for prophylaxis of stroke in patients with nonvalvular atrial fibrillation. JAMA. 1995;274:1839 –1845. • [v] Marc Fisher, Antithrombotic and Thrombolytic Therapy for Ischemic Stroke. Journal of Thrombosis and ThrombolysisVolume 7, Number 2 / April, 1999

  15. และเนื่องจากตามนิยามของ WHO แล้ว การศึกษานี้จึงตัดผุ้ป่วยที่ได้รับการวินิจฉัยเหล่านี้ออกไป อันได้แก่ • Transient Ischemic Attack (TIA) • Reversible Ischemic Neurological Deficit (RIND) • กลุ่มอาการทางสมองที่เกิดจากการติดเชื้อทางสมอง และเนื้องอก

  16. 4. การศึกษาในผู้ที่ได้รับบาดเจ็บ • ตามการศึกษาของ Global Burden Of Disease(GBD) ได้แบ่งการบาดเจ็บเป็นไปตามอวัยวะต่าง ๆ เช่น การแตกหักของกะโหลกศีรษะ การแตกหักของกระดูกใบหน้า และอื่น ๆ เป็นต้น • การศึกษานี้จึงใช้เกณฑ์การแบ่งแยกโรคตาม GBD เป็นเกณฑ์ในการแบ่งภาระโรค และเนื่องจากการบาดเจ็บทั้งบนท้องถนน และอุบัติเหตุอื่น ๆ นั้นทำให้เกิดการสูญเสียเทียบเท่ากัน หากเป็นโรคเดียวกัน การศึกษานี้จังเลือกใช้การบาดเจ็บจากทุกประเภทไม่ว่าจะเป็นจากอุบัติเหตุบนท้องถนน หรือไม่

  17. เนื่องจากในผู้ป่วยหนึ่งคนอาจจะมีการบาดเจ็บมากกว่า 1 ระบบ ทางผู้วิจัยได้ใช้วิธีการทางสถิติเพื่อแยกค่าอรรถประโยชน์ในแต่ละภาวะออกจากกัน จากนั้นจึงไปคำนวณต่อ

  18. 5. การศึกษาในผู้ป่วยมะเร็งตับ • เนื่องด้วยจากความซับซ้อนในการรักษาพยาบาลในโรคนี้ ผู้ป่วยที่อยู่ในระหว่างการรักษาจึงมักจะอยู่ในโรงพยาบาลที่มีขนาดใหญ่ และการศึกษาคุณภาพชีวิตนี้ยังมีค่อนข้างจำกัด เนื่องจาก กลุ่มตัวอย่างที่มีไม่มาก และยังมีอายุขัยหลังการรักษาที่ไม่ยาวนาน การเก็บข้อมูลจึงมีความลำบาก • การศึกษานี้แบ่งผู้ป่วยเป็นกลุ่มตาม GBD ได้เป็น 2 กลุ่มคือ • ระยะก่อนระยะสุดท้าย :ตรวจพบการกระจายตัวของโรค(metastatic) • ระยะสุดท้าย :ระยะก่อนเสียชีวิต • และได้เพิ่มปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับตัวผู้ป่วย คือ • วิธีการรักษาที่ได้รับ

  19. Study design • This study is a cross-sectional study with one-time assessment of quality of life in patients with the conditions of interest.

  20. III. Study population • Population in this study was Thai patients with the following health conditions; • Four chronic diseases; HIV, stroke, liver cancer, diabetes mellitus, • Any health condition affected from the traffic accident. • Total population in each health condition was estimated based on data from recent report on burden of disease in Thailand[i]. These data showed that; • [i]MOPH. Burden of Disease Report, Thailand. Ministry of Public Health. Nonthaburi, 2004.

  21. Prevalence of patients. • Number of HIV patients number in Thailand was 572,482, • Number of patients with traffic accidents was 232,447, • Number of patients with stroke was 286,681, • Number of patients with diabetes was 3,315,156, and • Number of patients with liver cancer was 17,466.

  22. Sample Size Calculation Method. • The sample was obtained by using the formula of Taro Yamane as we shown below • Sample size(n) = N • ────────────── • 1 + N(e)2 • Figure 3.1: Illustrate the Yamane’s sample size calculation equation. • Source: Taro Yamane. 1967. Elementary Sampling Theory. Prentice Hall.

  23. Number of sample size. • At the confidence level = 95% and error = 0.05, sample sizes are as following; • 400 patient with HIV diseases, • 392 patient with Traffic accidents, • 400 patients with Stroke, • 400 patients with Diabetes, and • 392 patients with Liver cancer.

  24. Eligible criteria for patients to be included in the analysis are as following. • Patients with HIV • Aged ≥ 15 years • Have been clinically diagnosed having HIV or AIDS • May or may not be treated with anti-retroviral therapy • Patients who have Traffic accidents • Aged ≥15 years • Visited and received care in emergency unit in the studied hospitals after having accidents • Patients with Stoke: • Aged ≥15 years • Have been clinically diagnosed having any type of stroke: TIA, RIND, Cerebral infraction, Cerebral hemorrhage • Regularly received care and medicine in the studied hospitals

  25. Patients with Diabetes Mellitus • Age ≥ 15 years • Have been clinically diagnosed having any type of DM • Regularly received care and medicine in the studied hospitals • Patients with Liver Cancer • Age ≥ 15 years • Have been clinically diagnosed having Liver Cancer in any stage • Regularly received care and medicine in the studied hospitals

  26. IV. Sampling technique and data collection • การสุ่มตัวอย่างจากประชากรทั้งหมดนั้น ใช้วิธีการกระจายโดยอาศัยศักยภาพของสถานพยาบาลเป็นเกณฑ์ เพื่อลดตัวกวนที่เกิดจากการรักษาที่แตกต่างกัน ในแต่ละระดับของโรงพยาบาล แต่เนื่องจากในบางโรคนั้นอาศัยการรักษาพยาบาลที่ค่อนข้างสูงทำให้การสอบถามข้อมูลจึงอยู่ในโรงพยาบาลที่มีขนาดสูง โดยมีรายละเอียดโรงพยาบาลในแต่ละโรคดังต่อไปนี้

  27. (1) การศึกษาในผู้ป่วย HIV/AIDs • 1.โรงพยาบาลชุมชน: โรงพยาบาลบ้านหมอ อ.บ้านหมอ จ.สระบุรี • 2.โรงพยาบาลทั่วไป: โรงพยาบาลพระพุทธบาท อ.พระพุทธบาท จ.สระบุรี • 3. โรงพยาบาลศูนย์: โรงพยาบาลศูนย์สระบุรี อ.เมือง จ.สระบุรี • 4. โรงพยาบาลระดับตติยภูมิ โรงพยาบาล บำราศนราดูล จ.นนทบุรี

  28. (2) การศึกษาในผู้ป่วยเบาหวาน • 1.โรงพยาบาลชุมชน: โรงพยาบาลบ้านหมอ อ.บ้านหมอ จ.สระบุรี • 2.โรงพยาบาลทั่วไป: โรงพยาบาลพระพุทธบาท อ.พระพุทธบาท จ. สระบุรี • 3. โรงพยาบาลศูนย์: โรงพยาบาลศูนย์สระบุรี อ.เมือง จ.สระบุรี • 4. โรงพยาบาลมหาวิทยาลัย โรงพยาบาลรามาธิบดี จ. กรุงเทพมหานคร

  29. (3) การศึกษาในผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง • โรงพยาบาลศูนย์: โรงพยาบาลศูนย์สระบุรี จ.สระบุรี • โรงพยาบาลมหาวิทยาลัย:โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ จ. กรุงเทพมหานคร • โรงพยาบาลมหาวิทยาลัย:โรงพยาบาลศิริราชพยาบาล จ. กรุงเทพมหานคร • โรงพยาบาลมหาวิทยาลัย:โรงพยาบาลรามาธิบดี จ. กรุงเทพมหานคร

  30. (4) การศึกษาในผู้ป่วยที่ได้รับการบาดเจ็บต่าง ๆ • โรงพยาบาลทั่วไป: โรงพยาบาลพระพุทธบาท จ.สระบุรี • โรงพยาบาลศูนย์: โรงพยาบาลศูนย์สระบุรี จ.สระบุรี • โรงพยาบาลระดับตติยภูมิ: โรงพยาบาลราชวิถี จ. กรุงเทพมหานคร • โรงพยาบาลมหาวิทยาลัย: โรงพยาบาลรามาธิบดี จ. กรุงเทพมหานคร

  31. (5) การศึกษาในผู้ป่วยมะเร็งตับ • โรงพยาบาลศูนย์: โรงพยาบาลศูนย์สระบุรี จ.สระบุรี • โรงพยาบาลระดับตติยภูมิ: สถาบันมะเร็งแห่งชาติ จ. กรุงเทพมหานคร • โรงพยาบาลมหาวิทยาลัย: โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ จ.กรุงเทพมหานคร • โรงพยาบาลมหาวิทยาลัย: โรงพยาบาลศิริราชพยาบาล จ. กรุงเทพมหานคร • โรงพยาบาลมหาวิทยาลัย: โรงพยาบาลรามาธิบดี จ. กรุงเทพมหานคร

  32. V. Statistical analysis • คำนวณ utility weight จาก EQ-5D, EQ-VAS along with Dolan Algorithms.[i] • [i] Dolan, P. Modeling Valuations for EuroQol Health States. Med Care. 1997;35:1095–1108.

  33. The End

More Related