1 / 14

KNOWLEDGE MANAGEMENT ( KM ) การจัดการองค์ความรู้

KNOWLEDGE MANAGEMENT ( KM ) การจัดการองค์ความรู้. การจัดการองค์ความรู้.

nikki
Télécharger la présentation

KNOWLEDGE MANAGEMENT ( KM ) การจัดการองค์ความรู้

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. KNOWLEDGE MANAGEMENT(KM)การจัดการองค์ความรู้

  2. การจัดการองค์ความรู้ การรวบรวมองค์ความรู้ ที่มีอยู่ในองค์กร ซึ่งกระจัดกระจายอยู่ในตัวบุคคลหรือเอกสาร มาพัฒนาให้เป็นระบบ เพื่อให้ทุกคนในองค์กรสามารถเข้าถึงความรู้ และพัฒนาตนเองให้เป็นผู้รู้ รวมทั้งปฏิบัติงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ อันจะส่งผลให้องค์กรมีความสามารถในเชิงแข่งขันสูงสุด

  3. ประเภทความรู้ ความรู้ที่ฝังอยู่ในคน(Tacit Knowledge) เป็นความรู้ที่ได้จากประสบการณ์ พรสวรรค์หรือสัญชาตญาณ ของแต่ละบุคคลในการทำความเข้าใจในสิ่งต่างๆ เป็นความรู้ ไม่สามารถถ่ายทอดออกมาเป็นคำพูด หรือลายลักษณ์อักษร ได้โดยง่าย เช่น ทักษะในการทำงาน งานฝีมือ หรือการคิด เชิงวิเคราะห์ บางครั้งจึงเรียกว่าเป็นความรู้แบบนามธรรม ความรู้ที่ชัดแจ้ง(Explicit Knowledge) เป็นความรู้ที่สามารถรวบรวมถ่ายทอดได้ โดยผ่านวิธีต่างๆ เช่น การบันทึกเป็นลายลักษณ์อักษร ทฤษฎี คู่มือต่างๆ บางครั้งเรียกว่าเป็นความรู้แบบรูปธรรม

  4. เป้าหมาย การพัฒนางาน การพัฒนาคน องค์กรแห่ง การเรียนรู้

  5. การดำเนินการจัดการความรู้การดำเนินการจัดการความรู้ 1. กำหนดความรู้หลักที่จำเป็นหรือสำคัญต่อกิจกรรมขององค์กร    2. การเสาะหาความรู้ที่ต้องการ    3. ปรับปรุง ดัดแปลง หรือสร้างความรู้บางส่วน ให้เหมาะต่อการ ใช้งานของตน   4. ประยุกต์ใช้ความรู้ในงานที่รับผิดชอบ 5. นำประสบการณ์จากการทำงานและการประยุกต์ใช้ความรู้มา แลกเปลี่ยนเรียนรู้และสกัด “ขุมความรู้” ออกมาบันทึกไว้ 6. จดบันทึก “ขุมความรู้” และ “แก่นความรู้” สำหรับไว้ใช้งาน และถ่ายทอดอย่างต่อเนื่อง

  6. กระบวนการจัดการความรู้กระบวนการจัดการความรู้ 1. การบ่งชี้ความรู้ องค์กรมีวิสัยทัศน์ พันธกิจ ยุทธศาสตร์ เป้าหมายคืออะไร และเพื่อให้บรรลุเป้าหมาย เราจำเป็นต้องใช้อะไร ขณะนี้เรามีความรู้อะไรบ้าง อยู่ในรูปแบบใด อยู่ที่ใคร 2. การสร้างและแสวงหาความรู้ การสร้างความรู้ใหม่ แสวงหาความรู้จากภายนอก รักษาความรู้เก่า กำจัดความรู้ที่ใช้ไม่ได้แล้ว 3. การจัดความรู้ให้เป็นระบบ การวางโครงสร้างความรู้ เพื่อเตรียมพร้อมสำหรับการเก็บความรู้อย่างเป็นระบบในอนาคต

  7. กระบวนการจัดการความรู้กระบวนการจัดการความรู้ 4.การประมวลและกลั่นกรองความรู้ ปรับปรุงรูปแบบเอกสารให้เป็นมาตรฐาน ใช้ภาษาเดียวกัน ปรับปรุงเนื้อหาให้สมบูรณ์ 5. การเข้าถึงความรู้ การทำให้ผู้ใช้ความรู้เข้าถึงความรู้ที่ต้องการได้ง่ายและสะดวก เช่น ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ (IT) Web boardบอร์ดประชาสัมพันธ์ เป็นต้น

  8. กระบวนการจัดการความรู้กระบวนการจัดการความรู้ 6. การแบ่งปันแลกเปลี่ยนความรู้ Explicit Knowledge จัดทำเป็นเอกสาร ฐานความรู้ เทคโนโลยีสารสนเทศ Tacit Knowledge จัดทำเป็นระบบ ชุมชนแห่งการ เรียนรู้ ระบบพี่เลี้ยง การสับเปลี่ยนงาน การยืมตัว หรือจัดเวทีแลกเปลี่ยน ความรู้ เป็นต้น 7. ทำให้การเรียนรู้เป็นส่วนหนึ่งของงาน การนำความรู้ในไปใช้ เกิดการเรียนรู้และประสบการณ์ใหม่ และหมุนเวียนต่อไปอย่างต่อเนื่อง

  9. บุคคลสำคัญที่ดำเนินการจัดการความรู้บุคคลสำคัญที่ดำเนินการจัดการความรู้ • ผู้บริหารสูงสุด (CEO) • คุณเอื้อ (Chief Knowledge Officer, CKO) • คุณอำนวย (Knowledge Facilitator , KF) • คุณกิจ (Knowledge Pracititoner, KP) • คุณประสาน (Network Manager)

  10. กระบวนการจัดการองค์ความรู้(Knowledge Management Process) เราต้องมีความรู้เรื่องอะไร เรามีความรู้เรื่องนั้นหรือยัง 1.การบ่งชี้ความรู้ ความรู้อยู่ที่ใครอยู่ในรูปแบบอะไร จะเอามาเก็บรวบรวมกันได้อย่างไร 2.การสร้างและแสวงหาความรู้ 3.การจัดการความรู้ให้เป็นระบบ จะแบ่งประเภทหัวข้ออย่างไร 4.การประมวลและกลั่นกรองความรู้ จะทำให้เข้าใจง่ายและสมบูรณ์อย่างไร 5.การเข้าถึงความรู้ เรานำความรู้มาใช้งานได้ง่ายหรือไม่ 6.การแบ่งปันแลกเปลี่ยนความรู้ มีการแบ่งปันความรู้ให้กันหรือไม่ ความรู้นั้นทำให้เกิดประโยชน์กับ องค์การหรือไม่ ทำให้องค์การดีขึ้นหรือไม่ 7.การเรียนรู้

  11. แนวทางการกำหนดขอบเขต KMและเป้าหมาย KM 1 วิสัยทัศน์/พันธกิจ ความรู้ที่สำคัญต่อองค์การ *ความรู้เกี่ยวกับลูกค้า *ความสัมพันธ์กับผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย *ประสบการณ์ความรู้ที่องค์การสั่งสม *ความรู้เกี่ยวกับกระบวนการ *ความรู้เกี่ยวกับผลิตภัณฑ์และบริการ *ความรู้ที่มีอยุ่ในบุคลากร *ฯลฯ 2 ประเด็นยุทธศาสตร์ 3 ปัญหา กลยุทธ์ กระบวนงาน (Work process) (ขอบเขตKM) KM Focus Areas (เป้าหมายKM) Desired state of KM Focus Areas KM Action Plans (KM Process& Change Management Process) (แผนการจัดการความรู้)

  12. แนวทางการจัดทำแผนการจัดการองค์ความรู้แนวทางการจัดทำแผนการจัดการองค์ความรู้ 1. กำหนดองค์ความรู้ที่จำเป็นในแต่ละประเด็นยุทธศาสตร์ 2. การเลือกประเด็นยุทธศาสตร์ทำการจัดการความรู้ 3. การเลือกองค์ความรู้ที่จำเป็นทำแผนการจัดการความรู้ 4. การเลือกตัวชี้วัด (KPI)เพื่อวัดผลการจัดการความรู้ 5. การจัดทำและปฏิบัติตามแผนการจัดการความรู้ 6. ติดตามและวัดผลการจัดการความรู้

  13. **ตัวอย่าง องค์ความรู้ที่จำเป็นในการปฏิบัติราชการ/กรมป่าไม้ เป้าหมาย ตัวชี้วัด 55.8 องค์ความรู้ที่จำเป็น ต่อการปฏิบัติราชการ ตามประเด็นยุทธศาสตร์ *การฟื้นฟูพื้นที่ ป่าเสื่อมโทรม เป้าประสงค์ *ทรัพยากรป่าไม้ และที่ดินป่าไม้ได้รับการปกป้องดูแลรักษา และฟื้นฟูให้มีความอุดมสมบูรณ์เพื่อเป็นฐานการพัฒนาประเทศและการใช้ประโยชน์ของประชาชนอย่างเหมาะสม ตัวชี้วัด *จำนวนพื้นที่ป่าสงวนแห่งชาติ พ.ศ.2507 ได้รับการป้องกันและดูแลรักษา (ล้านไร่) ประเด็นยุทธศาสตร์ *การอนุรักษ์และจัดการใช้ประโยชน์ทรัพยากรป่าไม้ เป็นไปอย่างสมดุล และสอดคล้องกับแนวทางการพัฒนา ที่ยั่งยืน

More Related