1 / 11

จลนพลศาสตร์วิศวกรรมเคมีและการออกแบบเครื่องปฏิกรณ์ Chemical Engineering Kinetics and Reactor Design

จลนพลศาสตร์วิศวกรรมเคมีและการออกแบบเครื่องปฏิกรณ์ Chemical Engineering Kinetics and Reactor Design. ดร . แดง แซ่เบ๊. เครื่องปฏิกรณ์ที่ต่อกับเป็นแบบอนุกรม. สมการแสดงความสัมพันธ์ของอัตราการไหลเชิงโมลแต่ละตำแหน่งแสดงได้ดังนี้. เครื่องปฏิกรณ์แบบถังกวนต่อเนื่องที่ต่อกันเป็นชุดอนุกรม.

orenda
Télécharger la présentation

จลนพลศาสตร์วิศวกรรมเคมีและการออกแบบเครื่องปฏิกรณ์ Chemical Engineering Kinetics and Reactor Design

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. จลนพลศาสตร์วิศวกรรมเคมีและการออกแบบเครื่องปฏิกรณ์Chemical Engineering Kinetics and Reactor Design ดร.แดง แซ่เบ๊

  2. เครื่องปฏิกรณ์ที่ต่อกับเป็นแบบอนุกรมเครื่องปฏิกรณ์ที่ต่อกับเป็นแบบอนุกรม สมการแสดงความสัมพันธ์ของอัตราการไหลเชิงโมลแต่ละตำแหน่งแสดงได้ดังนี้

  3. เครื่องปฏิกรณ์แบบถังกวนต่อเนื่องที่ต่อกันเป็นชุดอนุกรม

  4. ตัวอย่างที่ 5 การหาปริมาตรของเครื่องปฏิกรณ์แบบถังกวนที่ต่อกันเป็นชุด เครื่องปฏิกรณ์แบบถังกวนที่ต่อกันเป็นชุด 2 ถัง ค่าคอนเวอร์ชั่นที่ออกจากถังแรกมีค่าคอนเวอร์ชั่นเท่ากับ 0.4 จงหาปริมาตรของเครื่องปฏิกรณ์แบบถังกวนทั้งสองเพื่อให้ได้ค่าคอนเวอร์ชั่นของสาร A รวมเท่ากับ 0.8 โดยอัตราการไหลของสาร A ที่เข้าเท่ากับ 0.4 mol/s

  5. รูปแสดงปริมาตรของเครื่องปฏิกรณ์แบบถังกวนสองถังต่ออนุกรม

  6. เครื่องปฏิกรณ์แบบท่อไหลที่ต่อกันเป็นชุดอนุกรมเครื่องปฏิกรณ์แบบท่อไหลที่ต่อกันเป็นชุดอนุกรม รูปแสดงการต่อเครื่องปฏิกรณ์แบบท่อไหลที่ต่อกันเป็นชุดอนุกรม

  7. ตัวอย่างที่ 6 การหาปริมาตรของเครื่องปฏิกรณ์แบบท่อไหลที่ต่อกันเป็นชุด เครื่องปฏิกรณ์แบบท่อไหลที่ต่อกันเป็นชุด 2 ถัง ค่าคอนเวอร์ชั่นที่ออกจากถังแรกมีค่าคอนเวอร์ชั่นเท่ากับ 0.4 จงหาปริมาตรของเครื่องปฏิกรณ์แบบท่อไหลทั้งสองเพื่อให้ได้ค่าคอนเวอร์ชั่นของสาร A รวมเท่ากับ 0.8 โดยอัตราการไหลของสาร A ที่เข้าเท่ากับ 0.4 mol/s

  8. ปริมาตรรวมของเครื่องปฏิกรณ์แบบท่อไหลที่ต่อกันเป็นชุดอนุกรมจะมีปริมาตรเท่ากับเครื่องปฏิกรณ์แบบท่อไหลถังเดียวที่ค่าคอนเวอร์ชั่นเท่ากัน

  9. การต่อเครื่องปฏิกรณ์แบบถังกวนต่อเนื่องกับเครื่องปฏิกรณ์แบบท่อไหลการต่อเครื่องปฏิกรณ์แบบถังกวนต่อเนื่องกับเครื่องปฏิกรณ์แบบท่อไหล ปริมาตรแต่ละถังจะหาได้ดังนี้ ที่ CSTR ตัวที่ 1 ที่ CSTR ตัวที่ 2 ที่ PFR ตัวที่ 3

  10. ความหมายของพจน์ที่เกี่ยวข้องความหมายของพจน์ที่เกี่ยวข้อง สเปซไทม์ (Space time) • ค่าสเปซไทม์ () หาได้โดยการหารปริมาตรของเครื่องปฏิกรณ์ (V) ด้วยอัตราการไหลเชิงปริมาตร ( ) ของสารที่ป้อนเข้าสู่ระบบ ซึ่งแสดงได้ตามสมการ ความเร็วสเปซ (Space velocity, SV) • ค่าความเร็วสเปซ คือ ส่วนกลับของสเปซไทม์ซึ่งแสดงได้โดยสมการ

  11. โดยทั่วไปค่าความเร็วสเปซจะแสดงในรูปของเหลว (Liquid hourly space velocity, LHSV) และแก๊ส (Gas hourly space velocity, GHSV) โดยอัตราการไหลเชิงปริมาตรของแก๊สจะถูกวัดที่อุณหภูมิและความดันมาตรฐาน (STP)

More Related