1 / 21

ทิศทางการบริหาร งบหลักประกันสุขภาพขาลง 2557

ทิศทางการบริหาร งบหลักประกันสุขภาพขาลง 2557. กลุ่มประกันสุขภาพ ๑๙ มิถุนยาน ๒๕๕๖. สถานการณ์และทิศทาง. ผลการศึกษาซึ่งผ่านความเห็นทั้งภายในและภายนอกของกระทรวงสาธารณสุขสอดคล้องกับ สวรส. ให้กระจายอำนาจสู่เขตบริการสุขภาพ (AREA HEALTH BOARD) เป็นนโยบายสำคัญในการปฏิรูประบบสุขภาพ

otylia
Télécharger la présentation

ทิศทางการบริหาร งบหลักประกันสุขภาพขาลง 2557

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. ทิศทางการบริหารงบหลักประกันสุขภาพขาลง 2557 กลุ่มประกันสุขภาพ ๑๙ มิถุนยาน ๒๕๕๖

  2. สถานการณ์และทิศทาง • ผลการศึกษาซึ่งผ่านความเห็นทั้งภายในและภายนอกของกระทรวงสาธารณสุขสอดคล้องกับสวรส.ให้กระจายอำนาจสู่เขตบริการสุขภาพ (AREA HEALTH BOARD) เป็นนโยบายสำคัญในการปฏิรูประบบสุขภาพ • ปัญหาการเงินการคลังในระบบสุขภาพ ทำให้มีโรงพยาบาลในสังกัดสป.ประสบปัญหาวิกฤตการเงินในวงกว้าง ต้องมีกลไกไปสู่ประสิทธิภาพของระบบบริการ • สำนักงานพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติเสนอให้มีปรับประสิทธิภาพการบริหารงบผลักประกันสุขภาพให้สอดคล้องกับการแก้ปัญหาวิกฤตการเงินรพ. • ทิศทางการปฏิรูปและเอกภาพในระบบสุขภาพ ต้องมีความร่วมมือทุกฝ่ายในการการบริหารงบหลักประกันสุขภาพในเขตเครือข่ายบริการสุขภาพ ๑๒ เขต • แนวทางการจัดสรรงบหน่วยบริการโดยรมว. : ให้จัดสรรงบหน่วยบริการตามต้นทุนหน่วยบริการ ไม่ใช่จัดสรรตาม DRG

  3. บทบาทกระทรวงสาธารณสุขบทบาทกระทรวงสาธารณสุข • ปรับตัวเองกลับมาทำบทบาทที่ถูกต้องในระบบสุขภาพอย่างยั่งยืนในฐานะ National Health Authority • เป็นหน่วยประสานดำเนินการด้านสุขภาพของประเทศให้เป็นไปตามประโยชน์แห่งรัฐ • มุ่งเน้นประสานความสมดุลและสร้างเอกภาพในภาคีเครือข่ายสุขภาพ • กำกับให้หน่วยบริการอันเป็นระบบบริการภาครัฐส่วนใหญ่ให้จัดบริการอย่างความคุ้มค่าและมีประสิทธิภาพเชิงระบบ • สร้างกลไกร่วมเพื่อนำไปสู่ความสามารถแก้ปัญหาในระบบสุขภาพที่ผ่านมาอย่างเบ็ดเสร็จยั่งยืน

  4. หลักการสำคัญตามบทบาท • การกระจายอำนาจลงสู่เขตเครือข่ายบริการสุขภาพของทุกภาคีลงสู่การบริหารจัดการสุขภาพเบ็ดเสร็จครบวงจรระดับเขต(ทั้งสปสธ.และสปสช.) • การจัดบริการเบ็ดเสร็จครบวงจรตั้งแต่ปฐมภูมิจนถึงขั้นสูงสุดร่วมกัน • การบริหารบุคลากร ครุภัณฑ์สิ่งก่อสร้าง และงบประมาณ โดยเครือข่ายเขต • การบริหารงบหลักประกันสุขภาพ ในระดับเขต • ประสานทุกภาคีทั้งกรม กองทุน สำนักและเครือข่ายสุขภาพระดับประเทศให้มีเป้าหมายสุขภาพร่วมกันลดการกำหนดเป้าหมายแยกย่อย ซึ่งทำให้มีกระบวนการทำงานหลากหลายต่อหน่วยบริการรัฐแต่ละหน่วยจนเกินกำลังสามารถ ทั้งซ้ำซ้อนสิ้นเปลือง และขาดผลสัมฤทธิ์ที่คาดหวัง • ประสานทุกภาคีจัดทำนโยบายชาติร่วมกัน • กำหนดตัวชี้วัดเชิงบูรณาการร่วมก่อนลงพื้นที่ • จัดลำดับแผนงานโครงการชาติตามปัญหาของชาติและสมรรถนะของหน่วยบริการ • พัฒนากลไกร่วมกับภาคีเพื่อแก้ปัญหาในระบบสุขภาพอย่างยั่งยืน • ปัญหาการเงินการคลังระดับชาติในระบบสุขภาพ • ปัญหาวิกฤตการเงินในหน่วยบริการภาครัฐ • ความหลากหลายระบบที่ขาดการจัดระเบียบก่อนลงสู่หน่วยบริการ ทั้งกองทุน ภาคีสุขภาพ

  5. หลักการสำคัญในการบริหารงบหลักประกันสุขภาพขาลงหลักการสำคัญในการบริหารงบหลักประกันสุขภาพขาลง • จัดสรรงบหลักประกันภาพรวมเขตเครือข่ายบริการสุขภาพแก้ปัญหาค่าใช้จ่ายไม่เพียงพอลดค่าใช้จ่ายภาครัฐ และกระจายความเสมอภาคในทรัพยากรบริการสุขภาพ • วงเงินต่อประชากรเหมาะสม เพียงพอต่อการจัดสรรอย่างเสมอภาค บริหารทรัพยากรร่วมระบบเครือข่าย • หักเงินเดือนระดับเขต ลดความเสี่ยงหน่วยบริการ ลดความยุ่งยากการหักเงินเดือนในกองทุนย่อยที่หลากหลาย • จัดสรรตามต้นทุนขั้นต้นปรับด้วยเกณฑ์ระดับค่าใช้จ่ายตามขนาดบริการ(HRG)ให้ดำเนินได้ทุกหน่วย จ่ายตามผลงานตามหลัง • ลดการแบ่งกองทุนและการจัดสรรแยกย่อย จัดทำเป็นIntegrated Package of KPI เพื่อให้มีความเพียงพอในหมวดบริการหลัก ลดภาระงานหน่วยบริการ กันความเสี่ยง และเงินจูงใจหมวดย่อยรวมเป็นค่าตอบแทนระเบียบค่าตอบแทนใหม่ • บริหารงบ IP: บริหารเป็นกองทุนระดับเขต • บริหารงบ OP :บริหารเป็นกองทุนระดับจังหวัด • บริหารงบ PP :กองทุนระดับจังหวัดและอำเภอ • งบบริหาร (เงินกันความเสี่ยง ปรับประสิทธิภาพ,ลงทุน,ม.41,P4P) : ระดับเขต • เครือข่ายเขตบริการสุขภาพเป็นผู้จัดเสนอแผนสุขภาพ อปสข.อนุมัติงบภายใต้ข้อตกลงตัวชี้วัดหรือผลลัพธ์ด้านสุขภาพระดับชาติ และระดับพื้นที่ร่วมกัน

  6. HARMONIZED NATIONAL HEALTH KPI SERVICE BUDGET SERVICE ONTOP กิจกรรมปกติ กิจกรรมเร่งรัด PERSONAL P4P

  7. งบประมาณหลักประกันสุขภาพรายเขตงบประมาณหลักประกันสุขภาพรายเขต ภาพรวมการบริหารงบประมาณหลักประกันสุขภาพรายเขต R-Minimal Budget งบผลงานทั้งปี =งบใช้จ่ายขั้นต่ำ +งบเพิ่มเติมปลายปี R-MC • ตามจ่าย • หน่วยอื่น • R-LC1 • R-LC2 Regional Criteria & Plan For Expenditure Budget 8% HOSPITAL MIN BUDGET • H1..n MC H1..n LC1 • H1..n LC2 Central Reimbursement Budget • H1..n OPD H1..n IP • H1..n PP HOSPITAL PERFORMANCE • CF Regional Category & Criteria For Performance Budget • P4P งบเพิ่มเติมปลายปี =ผลงานทั้งปี -ค่าใช้จ่ายล่วงหน้า 40% 40% 12% • DEPLECIATION • R-OPD R-IP • R-PP • ม.๔๑ R-Performance Budget • RISK & DISASTER

  8. ให้จัดสรรงบบริการตามค่าใช้จ่ายพื้นฐานขั้นต้นเพียงพอก่อน จึงจัดสรรงบส่วนที่เหลือตามผลงาน งบUC2555

  9. การกระจายงบเหมาจ่ายรายหัว 2555จัดสรรภาพรวมและหักเงินเดือนระดับเขต งบUC2555

  10. ความแตกต่างรายได้UCเหมาจ่ายรายหัวที่ได้รับจริงจากบัญชีความแตกต่างรายได้UCเหมาจ่ายรายหัวที่ได้รับจริงจากบัญชี

  11. ให้จัดสรรงบบริการตามค่าใช้จ่ายพื้นฐานขั้นต้นเพียงพอก่อน จึงจัดสรรงบส่วนที่เหลือตามผลงาน งบUC2555

  12. การกระจายงบเหมาจ่ายรายหัว 2556จัดสรรภาพรวมและหักเงินเดือนระดับเขต เขต 9 : Max 1,394/ปชก เขต12 : Min 1,103/ปชก

  13. แนวทางบริหารจัดการงบค่าตอบแทนส่วนเพิ่มแนวทางบริหารจัดการงบค่าตอบแทนส่วนเพิ่ม ของหน่วยบริการสังกัดกระทรวงสาธารณสุข ประจำปีงบประมาณ 2557

  14. ความเดิม • ในการเสนอขอรับงบประมาณกองทุนหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ปีงบประมาณ 2557 ในชั้นต้น สปสช.ไม่ได้ตั้งงบประมาณเพิ่มเติมในรายการ“งบเพิ่มเติมด้านค่าแรงของหน่วยบริการสังกัดกระทรวงสาธารณสุข” • กระทรวงสาธารณสุขได้ขอตั้งงบประมาณเพิ่มเติม และได้รับอนุมัติ ตามมติ ครม.เมื่อวันที่ 30 เมษายน 2556 จัดสรรค่าตอบแทนส่วนเพิ่มสำหรับหน่วยบริการสังกัดสำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข แทนประกาศกระทรวงสาธารณสุขแทนฉบับ 4,6,7 (ในระบบและนอกระบบUC) จำนวน 3,000 ล้านบาท

  15. กรอบแนวทางและวัตถุประสงค์กรอบแนวทางและวัตถุประสงค์ การจัดสรรค่าตอบแทนส่วนเพิ่มวงเงิน 3,000 ล้านบาท • รัฐบาลปรับแนวทางการจ่ายค่าตอบแทนกำลังคนด้านการสาธารณสุข ตามมติครม.เมื่อวันที่ 31มีนาคม 2556โดยยกเลิกหลักเกณฑ์การจ่ายค่าตอบแทน (ฉบับที่ 4,6,7)ซึ่งเบิกจ่ายจากเงินบำรุง มาเป็น (ฉบับที่ 8) ให้จ่ายตามอัตราเหมาจ่ายคงที่ตามพื้นที่ต่างๆ ที่กำหนด ใหม่ และ (ฉบับที่ 9) จ่ายตามผลการปฏิบัติงานในหน่วยบริการ (P4P) และให้กระทรวงสาธารณสุขใช้จ่ายจากเงินบำรุงของโรงพยาบาลก่อน หากไม่เพียงพอให้เสนอขอใช้เงินงบประมาณต่อไป • วัตถุประสงค์เงินหมวดนี้เดิมจัดสรรจากงบประมาณแผ่นดินไม่ผ่านงบค่าหัวในระบบหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ จึงต้องยืนยันว่าจัดสรรให้กับการบริการทุกสิทธิไม่เฉพาะสิทธิหลักประกันสุขภาพทั้งนี้เพื่อสอดคล้องทิศทางในระบบหลักประกันของรัฐในอนาคต ที่ทุกสิทธิและกองทุนมีการจัดสรรผ่าน National Clearing House เดียว

  16. กรอบแนวทางและวัตถุประสงค์กรอบแนวทางและวัตถุประสงค์ การจัดสรรค่าตอบแทนส่วนเพิ่มวงเงิน 3,000 ล้านบาท • ค่าตอบแทนส่วนเพิ่มจำนวน 3,000 ล้านบาทดังกล่าวกำหนดเฉพาะเป็นค่าตอบแทน ตามหลักเกณฑ์การจ่ายค่าตอบแทน (ฉบับที่ 8) และ(ฉบับที่ 9) ซึ่งต้องจ่ายด้วยเงินบำรุงเป็นสำคัญ แต่โรงพยาบาลจำนวนหนึ่งมีเงินบำรุงไม่เพียงพอในการจ่าย • การจัดสรรตามหลักเกณฑ์การจ่ายค่าตอบแทน(ฉบับที่ 8) และ(ฉบับที่ 9) พึงอยู่บนฐานของความเป็นธรรมและฐานประสิทธิภาพของหน่วยบริการ • การจัดสรรค่าตอบแทนส่วนเพิ่มดังกล่าวพึงจัดสรรในภาพของการบริหารระบบบริการสุขภาพเป็นเครือข่ายระดับเขตโดยมุ่งเน้นให้มีบริการเบ็ดเสร็จครบวงจรในทุกระดับบริการ ภายใต้ขนาดประชากรที่มากพอต่องบต่อหัวประชากรที่สามารถรองรับประสิทธิภาพความคุ้มค่าเชิงระบบ และความเสี่ยงในประเด็นความไม่เสมอภาคด้านค่าใช้จ่าย • ในระหว่างที่ยังไม่มีกฎหมายรับรองความเป็นนิติบุคคลของเครือข่ายบริการสุขภาพระดับเขต จึงไม่สามารถดำเนินการโอนงบใดๆให้ผู้บริหารเขต แต่คณะกรรมการการเงินการคลังระดับเขตทำหน้าที่ตรวจสอบประเมินวงเงินจัดสรรชดเชยค่าตอบแทนส่วนเพิ่มให้โรงพยาบาลภายในเขต โดยมีผู้บริหารเขตเป็นผู้รับรอง แล้วแจ้งผลการประเมินและยอดจัดสรรให้กองทุนถือโอนตรงไปยังหน่วยบริการในลำดับถัดไป

  17. หลักเกณฑ์และขั้นตอนการดำเนินการหลักเกณฑ์และขั้นตอนการดำเนินการ • เขตบริการสุขภาพเป็นผู้ประเมินภาระค่าใช้จ่ายส่วนค่าตอบแทนของรายหน่วยบริการตามที่จ่ายจริงตามหลักเกณฑ์การจ่ายค่าตอบแทน (ฉบับที่ 8) และ (ฉบับที่ 9) โดยการสำรวจตามข้อมูลประเมินค่าใช้จ่ายจากหน่วยบริการในพื้นที่ • เขตบริการสุขภาพแจ้งข้อมูลค่าใช้จ่ายค่าตอบแทนตามข้อ 1 รายโรงพยาบาลในเขตให้กระทรวงสาธารณสุขทราบเพื่อตรวจสอบ แล้วจัดทำสัดส่วนตามวงเงินที่ได้รับจัดสรรจากวงเงิน 3,000 ล้านบาทโดยแบ่งเป็น 2งวด ดังนี้

  18. ข้อเสนอเพื่อพิจารณา • กระทรวงอาจพิจารณาให้งบค่าตอบแทนส่วนเพิ่มจำนวน 3,000ล้านบาทนี้สนับสนุนเฉพาะการจ่ายค่าตอบแทนฉบับที่ 8ก่อน หากเพียงพอแล้วจึงสนับสนุนตาม ฉบับที่ ๙ หรือสนันสนุนทั้ง ๒ ฉบับ ทั้งนี้แล้วแต่ความเหมาะสมในการบริหารจัดการ และนโยบายเรื่องแรงจูงใจในเพดานเงิน P4P • อาจพิจารณาการจัดสรรเหมาตามรายหัวระดับเขต ตามสถานการณ์ปฏิรูปกระทรวงจัดบริการเป็นเครือข่าย ซึ่งควรรับผิดชอบตาม Economy Scale หลัก คือจำนวนประชากร แต่พึงทบทวนวัตถุประสงค์ที่เสนอขอคือการเพิ่มเติมส่วนค่าตอบแทนที่ไม่เพียงพอรายโรง • งบค่าตอบแทนส่วนเพิ่มจำนวน 3,000ล้านบาทส่วนนี้พึงพิจารณาบูรณาการให้สอดคล้อง โดยไม่ซ้ำซ้อนกับงบปรับประสิทธิภาพหรืองบสำหรับหน่วยบริการที่มีต้นทุนสูง ซึ่งอนุมัติในกรอบงบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้ามาด้วย 900ล้านบาท

  19. ข้อมูลบัญชี ผังแนวคิดการบริหารความเพียงพอค่าใช่จ่าย หักเงินเดือนที่เขต การปรับเกลี่ยระหว่างรพ. เกลี่ยจังหวัด MEAN&SD • การบริหารระดับจังหวัด การประเมิน งบรายหัวขาลง การบริหารการจัดสรรระดับเขต จัดสรรตามผลงาน 100% การประเมิน งบรายหัวขาขึ้น ลดกองทุนย่อย งบ ต้นทุนสูง900ล. ตามจ่ายกำหนดเพดาน700 ลดค้างท่อ งบขั้นต่ำปรับHGRรายรพ. ข้อมูลบริการ นโย บาย5% เร่งเบิก120 วัน โอนเงินเหลือ งบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าปี ๒๕๕๗

More Related