1 / 28

Information สารสนเทศ

Information สารสนเทศ. ความหมายของ “สารสนเทศ”. Stevins ( 1986 ) ความรู้ที่ได้รับจากการอ่านหรือจากการสอนของครู เป็นการสื่อสารหรือการได้รับความรู้หรือสติปัญญา หรือบางสิ่งที่จากการให้ข้อมูล. สารสนเทศศาสตร์. Koehen (1974) การบันทึกข้อมูล ( Record Data ) สารสนเทศ ( Information )

patty
Télécharger la présentation

Information สารสนเทศ

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. Information สารสนเทศ

  2. ความหมายของ “สารสนเทศ” Stevins (1986) ความรู้ที่ได้รับจากการอ่านหรือจากการสอนของครู เป็นการสื่อสารหรือการได้รับความรู้หรือสติปัญญา หรือบางสิ่งที่จากการให้ข้อมูล

  3. สารสนเทศศาสตร์ Koehen (1974) การบันทึกข้อมูล (Record Data) สารสนเทศ (Information) ความรู้ (Knowledge) ความเข้าใจ (Understanding) ความฉลาด (Wisdom) • Brookes

  4. ความหมายของ “สารสนเทศ” • Davis และ Diekson ข้อมูลที่ผ่านการประมวลผลให้อยู่ในระดับที่มีความหมายรับรู้ได้ และมีความถูกต้องหรือช่วยในการตัดสินใจ

  5. ความหมายของ “สารสนเทศ” ราชบัณฑิตยสถานได้บัญญัติศัพท์ Information ว่า “สารสนเทศ” หมายถึงข้อมูลข่าวสาร ความรู้ ข้อสนเทศ สารสนเทศ ชุติมา สัจจานันท์ ข้อมูล ข่าวสาร ความรู้ ข้อสนเทศ สารสนเทศ ทั้งในรูปแบบของสิ่งพิมพ์ โสตทัศนวัสดุและวัสดุย่อส่วน เพื่อใช้ประโยชน์ทางการสื่อสารและการพัฒนาด้านต่างๆ ทั้งส่วนบุคคลและสังคม

  6. สรุปความหมายของ “สารสนเทศ” ความรู้ เรื่องราว ข้อมูล ข่าวสารและข้อสนเทศต่างๆทุกรูปแบบ ทั้งสิ่งพิมพ์โสตทัศนวัสดุและวัสดุย่อส่วนที่มีการบันทึก และจัดการตามหลักวิชาการเพื่อเผยแพร่ เพื่อใช้ให้เป็นประโยชน์ในการพัฒนาด้านต่างๆ ทั้งในส่วนบุคคลและสังคม

  7. ระดับของสารสนเทศ • แบ่งออกเป็น 3 ระดับ คัดกรอง บูรณาการกับวิชาการและประสบการณ์ เก็บรวบรวม และนำมาผ่านกระบวนการคัดกรอง วิเคราะห์ จัดหมวดหมู่อย่างเป็นระบบ

  8. “Information is power”

  9. ความสำคัญของสารสนเทศต่อบุคคลความสำคัญของสารสนเทศต่อบุคคล • สารสนเทศทำให้เกิดความรู้ • ทำให้สามารถต่อสู้กับความไม่รู้ของตนเองในเรื่องที่จำเป็นต้องรู้ • ทำให้สามารถต่อสู้ได้ดีกับสิ่งแวดล้อมที่ไม่รู้จักและอาจเป็นอันตรายถึงชีวิต • ใช้ในการประกอบอาชีพ • ช่วยตัดสินใจแก้ปัญหา • ทำให้เกิดความเจริญทางจิต • การเรียนรู้ตลอดชีวิต

  10. ความสำคัญของสารสนเทศต่อสังคมความสำคัญของสารสนเทศต่อสังคม • ก่อให้เกิดการศึกษาซึ่งจำเป็นต่อการพัฒนาสังคม • เครื่องมือช่วยในการอนุรักษ์ ถ่ายทอดความรู้ วัฒนธรรม ระหว่างสังคมหนึ่งกับอีกสังคมหนึ่ง • เสริมสร้างความรู้ ความสามารถทางเทคโนโลยี เศรษฐศาสตร์ ธุรกิจ พาณิชย์ • ตัดสินใจ ดำเนินงาน การวางแผน การปฏิบัติงาน • หน่วยงานรัฐบาล • วงการธุรกิจ

  11. บทบาทของสารสนเทศ

  12. สารสนเทศที่ดีจะต้องมีลักษณะสารสนเทศที่ดีจะต้องมีลักษณะ • ทันต่อความต้องการ • มีความถูกต้อง • ครบถ้วน • ต่อเนื่อง • ตรงกับความต้องการ

  13. The third wave Alvin Toffler สังคมสารสนเทศ(Information Society)

  14. สังคมมนุษย์จากอดีตจนถึงปัจจุบันแบ่งเป็น สังคม 3 ประเภท เปรียบเสมือนคลื่น 3 ลูก The third waveAlvin Toffler

  15. คลื่นลูกที่ 1 สังคมเกษตรกรรม เกิดเมื่อ 10,000 ปีมาแล้ว ทำการเกษตร ใช้แรงงาน และใช้ทรัพยากรธรรมชาติ เป็นหลัก

  16. คลื่นลูกที่ 2 สังคมอุตสาหกรรม (ศตวรรษที่ 18) เริ่มจากปฏิวัติอุตสาหกรรม เครื่องจักรไอน้ำ ใช้เครื่องจักรแทนมนุษย์ เน้นที่การผลิตสินค้ามากๆ ทรัพยากรจึงเป็นเงินทุนและเครื่องจักร

  17. คลื่นลูกที่ 3 สังคมสารสนเทศ เริ่มจากยุคสิ้นสุดสงครามโลกครั้งที่ 2 สงครามเย็น ใช้แรงงานในภาคบริการและบริหารมากกว่าอุตสาหกรรม มีการใช้คอมพิวเตอร์ การสื่อสารโทรคมนาคม

  18. สังคมสารสนเทศ • เกิดขึ้นเมื่อ ผู้ใช้แรงงานสมอง (Knowledge worker) มีมากกว่าผู้ใช้แรงงานผู้ใช้แรงงานทางกาย (Labor/skill worker) • มีการทำงานเกี่ยวกับสารสนเทศมากว่าการผลิตสินค้า

  19. Skill workers

  20. Knowledge workers

  21. ลักษณะของสังคมสารสนเทศลักษณะของสังคมสารสนเทศ • ทรัพยากรหลักคือสารสนเทศสังคมสารสนเทศเป็นสังคมที่เน้นเกี่ยวกับความรู้ • เมีการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ คอมพิวเตอร์อย่างกว้างขวางเทคโนโลยีสารสนเทศแบบใหม่จะถูกประยุกต์ใช้กับงานอุตสาหกรรมแบบเดิม • แรงงานด้านสารสนเทศ จะเป็นแรงงานที่ปฏิบัติงานด้านธุรกิจบริการ ใช้เครื่องมืออิเล็กทรอนิกส์เพื่อเสริมสมรรถภาพทางปัญญาของมนุษย์ • การพัฒนาทางด้านเทคโนโลยีการสื่อสารก้าวหน้าไปอย่างรวดเร็ว การสื่อสารและช่องทางการสื่อสาร ที่หลากหลาย รวดเร็ว • คนในสังคมมีความรู้ทักษะ ในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและแสวงหาสารสนเทศ • .

  22. เทคโนโลยีสารสนเทศ • เทคโนโลยีที่ช่วยในการจัดเก็บข้อมูล ตรวจสอบ จัดหมวดหมู่ คำนวณ สรุป จัดเก็บ สืบค้น ทำสำเนา เผยแพร่ สื่อสาร ทำให้ข้อมูลเปลี่ยนเป็นสารสนเทศที่มีความถูกต้อง ตรงกับความต้องการ และส่งถึงผู้ใช้ เกิดคุณค่าแก่ผู้ใช้

  23. เทคโนโลยีสารสนเทศ • เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ • ฮาร์ดแวร์ • ซอฟท์แวร์ • เทคโนโลยีการสื่อสารข้อมูล-โทรคมนาคม • เทคโนโลยีสื่อผสม

  24. สังคมฐานความรู้ (Knowledge Base Society) • การเปลี่ยนแปลงเป็นสังคมฐานความรู้ ศตวรรษที่ 21 • สังคมให้ความสำคัญกับ ความรู้ และเปลี่ยนแนวคิด จาก ความรู้คืออำนาจ เป็น การแบ่งปันความรู้คืออำนาจ • เข้าถึงและใช้ประโยชน์จากเครือข่ายสารสนเทศสูง • สร้างมูลค่าเพิ่มและนวัตกรรมใหม่ๆ จากความรู้ที่มี

  25. ผลกระทบที่เกิดขึ้นเมื่อก้าวสู่สังคมสารสนเทศผลกระทบที่เกิดขึ้นเมื่อก้าวสู่สังคมสารสนเทศ • อัลวิน ทอฟฟ์เลอร์ ได้คาดการณ์อนาคตของสังคมสารสนเทศว่า จะเกิดอุตสาหกรรมหลัก 4 สาขา 1. อุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์และอุตสาหกรรมคอมพิวเตอร์ 2. อุตสาหกรรมอวกาศ 3. อุตสาหกรรมมหาสมุทร 4. อุตสาหกรรมพันธุกรรมศาสตร์ • Globalization

  26. อาชีพใหม่ในสังคมสารสนเทศอาชีพใหม่ในสังคมสารสนเทศ แหล่งข้อมูล : ศรีศักดิ์จามรมาน. (2535). “อาชีพในยุคคอมพิวเตอร์.” Computer Review 9(93) (พฤษภาคม),134-136

  27. อาชีพสารสนเทศ • นักสารสนเทศ • ผู้บริหารงานสารสนเทศ • นักวิจัยและอาจารย์ทางด้านสารสนเทศ • นักขายข้อมูล • ผู้จัดการฐานข้อมูล • นักจัดตั้งระบบสำนักงานอัตโนมัติ • อาชีพรับจัดการสัมมนา อาชีพที่จะตกต่ำและได้รับผลกระทบค่อนข้างรุนแรง ได้แก่เสมียน พนักงานพิมพ์ดีด พนักงานประจำสำนักงาน พนักงานบัญชี ผู้รับออกแบบสิ่งก่อสร้าง ที่ปรึกษาด้านข้อมูล นักวิเคราะห์ แพทย์ ทนาย ครู นักแปล

More Related