1 / 28

บทที่ 2 : ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับเศรษฐศาสตร์

บทที่ 2 : ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับเศรษฐศาสตร์. ปัจจัยการผลิต (Factors of Production). แบ่งออกได้เป็น 4 ประเภท 1. ที่ดิน (Land) 2. แรงงาน (Labor) 3. ทุน (Captical) 4. ผู้ประกอบการ ( Enterpreneur). ทรัพยากร หรือ ปัจจัยการผลิต เป็นสิ่งที่หามาได้ยาก หรือ มีอยู่อย่างจำกัด ( Scarcity).

Télécharger la présentation

บทที่ 2 : ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับเศรษฐศาสตร์

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. บทที่ 2 : ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับเศรษฐศาสตร์

  2. ปัจจัยการผลิต (Factors of Production) แบ่งออกได้เป็น 4 ประเภท 1. ที่ดิน (Land) 2. แรงงาน (Labor) 3. ทุน (Captical) 4. ผู้ประกอบการ (Enterpreneur)

  3. ทรัพยากร หรือ ปัจจัยการผลิต เป็นสิ่งที่หามาได้ยาก หรือ มีอยู่อย่างจำกัด (Scarcity)

  4. ความหามาได้ยาก (Scarcity) ความต้องการ ทรัพยากร สินค้าและ บริการ

  5. ความหมายของวิชาเศรษฐศาสตร์(อย่างรวบรัด) “ วิชาที่ศึกษาเกี่ยวกับการจัดสรรทรัพยากร ให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุด ” ทำไมต้องเศรษฐศาสตร์ ? เพราะความไม่สมดุลระหว่าง ทรัพยากรและความต้องการ

  6. 1.2 ความสัมพันธ์ของวิชาเศรษฐศาสตร์ และความสัมพันธ์ ระหว่างเศรษฐศาสตร์กับวิชาอื่น ความสำคัญ (ประโยชน์) ของเศรษฐศาสตร์ 1.1 ประโยชน์ต่อผู้บริโภคหรือครัวเรือน 1.2 ประโยชน์ต่อหน่วยธุรกิจ 1.3 ประโยชน์ต่อผู้บริหารประเทศ

  7. 1.3 แนวคิดพื้นฐานทางเศรษฐศาสตร์ ความหามาได้ยาก (Scarcity) การเลือก (Choice) ต้นทุนค่าเสียโอกาส (Opportunity Cost)

  8. ต้นทุนค่าเสียโอกาส (Opportunity Cost) การดำเนินการกิจกรรมใดๆ ย่อมก่อให้เกิด “ต้นทุนเสียโอกาส” ขึ้นเสมอ ต้นทุนค่าเสียโอกาสของกิจกรรมใดๆ ก็คือ ผลประโยชน์สูงสุดที่เสียไปสำหรับกิจกรรม ทางเลือกอื่นที่ไม่ได้เลือก

  9. กิจกรรมทางเลือก ทางเลือกที่1 : สินค้าX 100 หน่วย ทางเลือกที่2 : สินค้าY 160 หน่วย ทางเลือกที่3 : สินค้าZ 250 หน่วย

  10. กำหนดให้ Piคือราคาของสินค้า PX = 3 PY = 2 PZ = 1 ดังนั้น มูลค่าของแต่ละทางเลือกจะเป็นดังนี้ ทางเลือกที่1 : (สินค้า X 100 หน่วย) = 300 บาท ทางเลือกที่2 : (สินค้า Y 160 หน่วย) = 320 บาท ทางเลือกที่3 : (สินค้า Z 250 หน่วย) = 250 บาท

  11. ต้นทุนค่าเสียโอกาส (Opportunity Cost)ต้นทุนค่าเสียโอกาสของการได้มาซึ่งสิ่งใด ๆ ก็คือ มูลค่าของสิ่งต่างๆ ที่สูญเสียไป เพื่อให้ได้มาซึ่งสิ่งนั้น

  12. ต้นทุนค่าเสียโอกาส (Opportunity Cost) (กรณีศึกษา) นายเก่ง พบวัตถุแวววาวก้อนหนึ่ง แต่ไม่แน่ใจว่าเป็นเพชรหรือไม่ จึงเอาไปให้ร้านเพชรช่วยดูให้ ร้านเพชรบอกว่าเป็นเพชรที่ยังไม่ได้ เจียระไนและเสนอว่ายินดีจะรับซื้อต่อในราคา 50,000 บาท นายเก่งไม่ขาย แต่จ้างให้เจียระไนและประกอบเป็นแหวน เจ้าของร้านยินดีทำให้โดยคิดค่าแรงในราคา 20,000 บาท

  13. เส้นเป็นไปได้ในการผลิตเส้นเป็นไปได้ในการผลิต (Production Possibility Curve : PPC) เส้นที่แสดงส่วนผสมต่างๆของสินค้า สองชนิดที่ระบบเศรษฐกิจหรือสังคมหนึ่ง สามารถจะผลิตขึ้นได้ด้วยทรัพยากรที่มีอยู่ในขณะนั้น

  14. ข้อสมมุติ 1. มีทรัพยากรที่จำกัดอยู่จำนวนหนึ่งและถูกนำมาใช้ผลิตสินค้า 2 ชนิด (คือ เสื้อผ้าและอาหาร) อย่างเต็มที่ 2. ได้เลือกใช้เทคโนโลยีที่ดีที่สุดในขณะนั้นแล้ว 3. ปัจจัยการผลิตที่ใช้ผลิตสินค้าแต่ละชนิดทดแทนกันได้ไม่สมบูรณ์

  15. ส่วนผสมที่เป็นไปได้ ในการผลิตเสื้อผ้าและอาหาร

  16. เส้นเป็นไปได้ในการผลิตเส้นเป็นไปได้ในการผลิต จำนวนอาหาร PPC จำนวนเสื้อผ้า

  17. เส้น PPC สะท้อนถึง • SCARCITY • CHOICE • OPPORTUNITY COST PPC

  18. ลักษณะของเส้น PPCกับต้นทุนค่าเสียโอกาส Y Y x x 0 0 ค่าเสียโอกาสคงที่ ค่าเสียโอกาสเพิ่มขึ้น

  19. การเปลี่ยนตำแหน่งของเส้น PPC •ปริมาณทรัพยากรเปลี่ยนแปลง • เทคโนโลยีเปลี่ยนแปลง

  20. เมื่อทรัพยากรเพิ่มขึ้นเมื่อทรัพยากรเพิ่มขึ้น อาหาร A’ A เสื้อผ้า 0 E E’

  21. โดยเทคโนโลยีการผลิตเสื้อผ้า ก้าวหน้ามากกว่าการผลิตอาหาร เมื่อเทคโนโลยีเปลี่ยนแปลง อาหาร A’ A เสื้อผ้า 0 E E’

  22. 1.4 ปัญหาพื้นฐานทางเศรษฐกิจและ การแก้ปัญหาในระบบเศรษฐกิจต่างๆ ปัญหาพื้นฐานทางเศรษฐกิจ (Basic Economic Problems) 1. จะผลิตอะไร (What to Produce) 2. จะผลิตอย่างไร (How to Produce) 3. จะผลิตเพื่อใคร (Produce for Whom)

  23. ระบบเศรษฐกิจ ระบบเศรษฐกิจ (Economic System) “ กลุ่มของหน่วยเศรษฐกิจกลุ่มหนึ่งที่ดำเนินในกิจกรรม ทางเศรษฐกิจภายใต้ ระเบียบ กฎเกณฑ์ หรือแนวปฏิบัติคนเดียวกัน ”

  24. ประเภทของระบบเศรษฐกิจประเภทของระบบเศรษฐกิจ 1. ระบบเศรษฐกิจแบบตลาดเสรี (free-market economy) หรือระบบเศรษฐกิจแบบทุนนิยม (capitalism) 2.ระบบเศรษฐกิจแบบบังคับ (command economy) หรือ ระบบเศรษฐกิจแบบวางแผนจากส่วนกลาง (central planning economy) หรือสังคมนิยม (socialism) 3.ระบบเศรษฐกิจแบบผสม (mixed economy)

  25. ระบบเศรษฐกิจแบบตลาดเสรี (ทุนนิยม) มีลักษณะสำคัญดังนี้ 1. กรรมสิทธิ์ในทรัพย์สินส่วนใหญ่ตกเป็นของเอกชน 2. เอกชนมีเสรีภาพในการดำเนินกิจกรรมทางเศรษฐกิจต่างๆอย่างเต็มที่ 3. ใช้กลไกราคาหรือกลไกตลาดเป็นเครื่องมือในการแก้ไขปัญหา พื้นฐานทางเศรษฐกิจ

  26. ระบบเศรษฐกิจแบบบังคับ (สังคมนิยม) มีลักษณะสำคัญดังนี้ 1. กรรมสิทธิ์ในทรัพย์สินมีทั้งที่เป็นของรัฐบาลและเอกชน 2. เอกชนมีเสรีภาพในการดำเนินกิจกรรมฯ ระดับหนึ่งแต่ไม่เต็มที่ รัฐบาลแทรกแซงดำเนินกิจกรรมทางเศรษฐกิจบางอย่าง 3. ใช้กลไกราคาและการตัดสินใจจากส่วนกลางเป็นเครื่องมือใน การแก้ไขปัญหาพื้นฐานทางเศรษฐกิจ

  27. 1.5 ความแตกต่างระหว่างเศรษฐศาสตร์จุลภาคและ เศรษฐศาสตร์มหภาค เศรษฐศาสตร์ (Economics) เศรษฐศาสตร์จุลภาค (Microeconomics) เศรษฐศาสตร์มหภาค (Macroeconomics)

  28. 1.5 ความแตกต่างระหว่างเศรษฐศาสตร์จุลภาคและ เศรษฐศาสตร์มหภาค เศรษฐศาสตร์มหภาค (Macroeconomics) ป่าทั้งป่า • การศึกษาเศรษฐกิจของทั้งระบบ ตัวอย่างเช่น : การเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ,เงินเฟ้อ,รายได้ของรัฐบาล, การว่างงานของประเทศ เศรษฐศาสตร์จุลภาค (Microeconomics) ต้นไม้แต่ละต้น • เป็นการศึกษาเศรษฐกิจของหน่วยย่อย ตัวอย่างเช่น : การตัดสินใจของผู้บริโภค,การจ้างงานในอุตสาหกรรมรถยนต์, ราคาข้าว,นโยบายราคาของบริษัท

More Related