1 / 20

นำเสนอโดย นางสาวอาร์ซีซ๊ะ ดินอะ วิชาเอก เคมี

การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนโดยใช้สื่อหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ ในรายวิชาวิทยาศาสตร์พื้นฐาน เรื่องอะตอมและตารางธาตุ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4. นำเสนอโดย นางสาวอาร์ซีซ๊ะ ดินอะ วิชาเอก เคมี. มหาวิทยาลัยทักษิณ จังหวัดสงขลา. ความเป็นมาและความสำคัญของปัญหา. กรอบแนวคิดการวิจัย.

Télécharger la présentation

นำเสนอโดย นางสาวอาร์ซีซ๊ะ ดินอะ วิชาเอก เคมี

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนโดยใช้สื่อหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ในรายวิชาวิทยาศาสตร์พื้นฐาน เรื่องอะตอมและตารางธาตุ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 นำเสนอโดย นางสาวอาร์ซีซ๊ะ ดินอะ วิชาเอก เคมี มหาวิทยาลัยทักษิณ จังหวัดสงขลา

  2. ความเป็นมาและความสำคัญของปัญหาความเป็นมาและความสำคัญของปัญหา

  3. กรอบแนวคิดการวิจัย

  4. วัตถุประสงค์การวิจัย 1. เพื่อสร้างและหาประสิทธิภาพของ หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ เรื่องอะตอมและตารางธาตุ 2. เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ก่อนและหลังใช้หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ เรื่องอะตอมและตารางธาตุ 3. เพื่อศึกษาความพึงพอใจที่มีต่อการเรียนในรายวิชาวิทยาศาสตร์พื้นฐานโดยใช้หนังสืออิเล็กทรอนิกส์

  5. วิธีดำเนินการวิจัย

  6. ขั้นตอนที่ 1 การสร้างและหาประสิทธิภาพของหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ ขอบเขตด้านเนื้อหา หน่วยย่อยที่ 1 เรื่องสมบัติของธาตุ หน่วยย่อยที่2 เรื่องสัญลักษณ์ของธาตุ หน่วยย่อยที่3 เรื่องอะตอมและอนุภาคมูลฐาน หน่วยย่อยที่4 เรื่องสัญลักษณ์นิวเคลียร์ หน่วยย่อยที่5 เรื่องอะตอมและไอออน หน่วยย่อยที่ 6 เรื่องตารางธาตุ หน่วยย่อยที่ 7 เรื่องประโยชน์ของธาตุ

  7. 2) ขอบเขตด้านแหล่งข้อมูล กลุ่มที่ศึกษา ได้แก่ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2553 โรงเรียนจะโหนงพิทยาคม อำเภอจะนะ จังหวัดสงขลา จำนวน 11 คน 3) ขอบเขตด้านตัวแปร • 3.1 ประสิทธิภาพของหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ในรายวิชา วิทยาศาสตร์พื้นฐาน เรื่องอะตอมและตารางธาตุ ตามเกณฑ์ 80/80

  8. ขั้นตอนที่ 2 การทดลองใช้หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยตามแบบแผนการวิจัยแบบกลุ่มทดลองกลุ่มเดียวทดสอบก่อนและหลังการทดลอง (One group pretest-posttest design) O1แทนผลการสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนโดยใช้สื่อหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ก่อนทดลอง Xแทนการจัดการเรียนการสอนโดยใช้สื่อหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ O2 แทนผลการสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนโดยใช้ สื่อหนังสืออิเล็กทรอนิกส์หลังทดลอง O1 X O2

  9. ขั้นตอนที่ 2 การทดลองใช้หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ 1) ขอบเขตด้านเนื้อหา มุ่งศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนโดยใช้หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ เรื่องอะตอมและตารางธาตุ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ระหว่างก่อนเรียน และหลังเรียน 2) ขอบเขตด้านแหล่งข้อมูล กลุ่มที่ศึกษาได้แก่ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนจะโหนงพิทยาคม อำเภอจะนะ จังหวัดสงขลา จำนวน 11 คน

  10. 3) ขอบเขตด้านตัวแปร • 3.1 ตัวแปรต้นได้แก่ หนังสืออิเล็กทรอนิกส์เรื่องอะตอมและตารางธาตุ • 3.2 ตัวแปรตาม ได้แก่ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่องอะตอมและตารางธาตุ 3.4 ระยะเวลาที่ใช้ในการทดลอง คือภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา2553 จำนวน8ชั่วโมง

  11. ขั้นตอนที่ 3 ประเมินผลความพึงพอใจที่มีต่อการเรียนโดยใช้หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ 1) ขอบเขตด้านแหล่งข้อมูล กลุ่มที่ศึกษา ได้แก่ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนจะโหนงพิทยาคม อำเภอจะนะ จังหวัดสงขลา จำนวน 11 คน 2) ขอบเขตด้านตัวแปร 2.1) ตัวแปรต้น ได้แก่ หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ในรายวิชาวิทยาศาสตร์พื้นฐาน เรื่องอะตอมและตารางธาตุ • 2.2) ตัวแปรตาม ได้แก่ ความพึงพอใจที่มีต่อการเรียนโดยใช้หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ในรายวิชาวิทยาศาสตร์พื้นฐาน เรื่องอะตอมและตารางธาตุ

  12. การเก็บรวบรวมข้อมูล

  13. การเก็บรวบรวมข้อมูล

  14. ผลการวิจัย ขั้นตอนที่ 1 ผลการหาประสิทธิภาพของหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ ประสิทธิภาพของหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ เท่ากับ 84.70/82.73 ซึ่งมีค่าสูงกว่าเกณฑ์มาตรฐานที่กำหนดไว้คือ 80/80 แสดงว่าการจัดการเรียนโดยใช้หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ ในรายวิชาวิทยาศาสตร์พื้นฐาน เรื่องอะตอมและตารางธาตุ มีประสิทธิภาพ และใช้ได้ผลดีกับนักเรียนชั้น ม.4 โรงเรียนจะโหนงพิทยาคม ซึ่งเป็นไปตามสมมติฐานข้อ 1

  15. ขั้นตอนที่ 2 ผลการใช้หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ ตารางแสดงการเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนก่อนและหลังเรียนของนักเรียนที่เรียนโดยใช้หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ • ** มีนัยสำคัญทางสถิติที่ .01

  16. ขั้นตอนที่ 3 ผลการประเมินความพึงพอใจที่มีต่อการเรียนโดยใช้หนังสืออิเล็กทรอนิกส์

  17. ข้อเสนอแนะในการนำผลการวิจัยไปใช้ข้อเสนอแนะในการนำผลการวิจัยไปใช้ 1. ควรควรมีการวิจัยเพิ่มเติมเกี่ยวกับรูปแบบหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ที่เหมาะสมกับเนื้อหาต่างๆ ในรายวิชาอื่นๆต่อไป 2. ควรส่งเสริมนำหนังสืออิเล็กทรอนิกส์นี้ไปเผยแพร่ในอินเทอร์เนต เพื่อให้เกิดประโยชน์ต่อการศึกษาในวงกว้างต่อไป

  18. Thank you for kind attention

More Related