1 / 22

แ นวทางบริหารงาน ปี 2557 เ ขต บริการสุขภาพที่ 5

แ นวทางบริหารงาน ปี 2557 เ ขต บริการสุขภาพที่ 5. นพ สุริยะ วงศ์คงคาเทพ ผู้ตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข. พญ.ดารารัตน์ รัตนรักษ์ : ผช.ผตร., รองผอ.สนย. นพ.สามารถ ถิระศักดิ์ : ผอ.รพ.ทับสะแก. กาญจนบุรี. ประจวบคีรีขันธ์. เพชรบุรี. นครปฐม. สุพรรณบุรี. สมุทรสงคราม. ราชบุรี. สมุทรสาคร.

Télécharger la présentation

แ นวทางบริหารงาน ปี 2557 เ ขต บริการสุขภาพที่ 5

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. แนวทางบริหารงานปี 2557 เขตบริการสุขภาพที่ 5 นพ สุริยะ วงศ์คงคาเทพ ผู้ตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข พญ.ดารารัตน์ รัตนรักษ์: ผช.ผตร., รองผอ.สนย. นพ.สามารถ ถิระศักดิ์: ผอ.รพ.ทับสะแก กาญจนบุรี ประจวบคีรีขันธ์ เพชรบุรี นครปฐม สุพรรณบุรี สมุทรสงคราม ราชบุรี สมุทรสาคร

  2. การกระจายตัวของสถานบริการสาธารณสุข(สป.) เครือข่ายที่ 5 ศูนย์ความเชี่ยวชาญระดับสูง 1. ราชบุรี A (ระดับ 1= 4 สาขา) 2. นครปฐม A(ระดับ 2= 2 สาขา หัวใจ + ทารก) หัวหิน S (ระดับ 2= 2 สาขา หัวใจ +อุบัติเหตุ) 3. รพ.ระดับ A, S, M1อื่นๆ(ระดับ 3 ทุกสาขา) 2

  3. การบริหารจัดการเขตบริการสุขภาพที่ 5 คกก.เขตบริการสุขภาพ ที่ปรึกษาด้านวิชาการ คกก. ยุทธศาสตร์ สนง. เขต อนุฯ สสปก. อนุฯ ด้านบริการ อนุฯ ด้านบริหาร คทง.ข้อมูลสารสนเทศ การประสานภายใต้ ยุทธศาสตร์เขต คทง. ย่อยชุดต่างๆ

  4. แนวทางบริหารงานเขตสุขภาพที่ ๕ 1. การจัดทำแผนพัฒนาสุขภาพ 2. การพัฒนาระบบบริการสุขภาพ 3. การพัฒนาระบบบริหาร 4. การพัฒนาระบบข้อมูล 5. การบริหารจัดการเขตสุขภาพ

  5. บทบาทของเขตที่ปรับเปลี่ยนบทบาทของเขตที่ปรับเปลี่ยน 1. บทบาท ผตร. ปรับไปสู่ “การบริหารยุทธศาสตร์” ที่มุ่งผลลัพท์เป็นสำคัญ โดยอาศัยสำนักงานเขต 2. สร้าง “กลไกบริหารจัดการทรัพยากร” ให้มีประสิทธิภาพสูงสุด ลดค่าใช้จ่ายที่ไม่จำเป็น 3. ทบทวนและปรับเปลี่ยน “มาตรการ” แก้ไขปัญหาสุขภาพที่สำคัญของเขต 4. กำกับ ติดตาม ประเมินผล การดำเนินงานของหน่วยงาน

  6. บทบาทของจังหวัดที่ปรับเปลี่ยนบทบาทของจังหวัดที่ปรับเปลี่ยน 1. มองการดูแลสุขภาพ บูรณาการกิจกรรมเป็นกลุ่มวัยแทนที่จะมองเป็นกิจกรรมแยกตามฝ่าย/หน่วยงาน 2. จังหวัดมีหน้าที่ กำกับดูแลการดำเนินงาน ทั้งหน่วยงานในสังกัด ท้องถิ่น และภาคส่วนอื่นๆ 3. ตัวชี้วัด เป็นเพียงสะท้อนผลลัพท์ แต่ กระบวนการ เป็นตัวส่งให้เกิดผลลัพท์ ความชัดเจนของมาตรการดำเนินงานจึงเป็นสิ่งสำคัญ 4. แผนสุขภาพ แตกต่างจาก แผนยุทธศาสตร์ในอดีต

  7. 1. แผนพัฒนาสุขภาพ ยุทธศาสตร์สุขภาพเขต แผนสุขภาพเขต แผนงบประมาณ เขต แผนแก้ไขปัญหาในภาพรวม แผนสุขภาพจังหวัด แผนปฏิบัติของ จังหวัด แผนแก้ไขปัญหาพื้นที่ แผนสุขภาพอำเภอ แผนปฏิบัติของ หน่วยบริการ

  8. แผนบูรณาการเชิงรุก เห็นทิศทางในภาพรวม แผนยุทธศาสตร์ เน้นปัญหาสำคัญ จัดกลุ่มปัญหา/บูรณาการ แผนแก้ปัญหา แต่ละปัญหามีกลยุทธ์/งบประมาณชัดเจน มาตรการชัดเจน แผนปฏิบัติ งบประมาณตามกิจกรรม กิจกรรม

  9. เขตบริการสุขภาพที่ 5 ปี 2557 สปสช. กรม สป กรม PPNP บูรณาการ 5 Flagships สปสช.เขต MOU MOU (BS,NP) (NP) เขต สธ. PPD (5.2 ล้าน) งบ UC งบ สธ. แผนยุทธ กำกับติดตาม (80 ล้าน) PPA จังหวัด PPD (111 ล้าน) (26 ล้าน) แผนยุทธ กำกับติดตาม PPB อำเภอ (400 ล้าน)

  10. โครงสร้างแผนงานเขตสุขภาพ ปี ๕๗ บริการ สส ปก บริหาร สุขภาพสตรี และเด็ก 0-5 + BS การเงินการคลัง พัฒนาบริการ 10 สาขา การบริหารกำลังคน-จริยธรรม สุขภาพเด็กวัยเรียน + BS พัฒนาระบบส่งต่อ การบริหารระบบข้อมูล คุณภาพบริการ สุขภาพวัยรุ่น + BS การบริหารเวชภัณฑ์ การแพทย์ฉุกเฉิน/อุบัติภัย สุขภาพวัยทำงาน พัฒนาประสิทธิภาพ ซื้อ/จ้าง ยาเสพติด สุขภาพผู้สูงอายุและผู้พิการ โครงการพระราชดำริ อาหารปลอดภัย การควบคุมโรคติดต่อ แผนสุขภาพเขต สิ่งแวดล้อมและระบบที่เอื้อต่อสุขภาพ (๒๐ แผน) การมีส่วนร่วมภาคประชาชน

  11. แผนงานส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคแผนงานส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรค 1. อัตราส่วนมารดาตาย ไม่ >15ต่อการเกิดมีชีพแสนคน สตรี เด็ก 0-5 ปี 2. ร้อยละของเด็กที่มีพัฒนาการสมวัย ไม่น้อยกว่า 85 3. ร้อยละของเด็ก นร.มีภาวะอ้วน ไม่เกิน 15 เด็กวัยเรียน 5-14 ปี 4. เด็กไทยมีความฉลาดทางสติปัญญาเฉลี่ย ไม่น้อยกว่า 100 คนะแนน 5. อัตราคลอดในมารดาอายุ 15-19 ปีไม่เกิน 50 ต่อ ปชก.15-19 ปี 1000 คน เด็กวัยรุ่น 15-21 ปี 6. ความชุกของผู้บริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ใน ปชก.15-19 ปี ไม่เกิน 13 7. อัตราตายจากอุบัติเหตุทางถนน ไม่เกิน 13 ต่อ ปชก. แสนคน วัยทำงาน 8. อัตราตายจากโรคหลอดเลือดหัวใจ ไม่เกิน 20 ต่อ ปชก. แสนคน 9. อัตราตายจากโรคหลอดเลือดหัวใจ ไม่เกิน 20 ต่อ ปชก. แสนคน ผู้สูงอายุ ผู้พิการ 10. ผู้พิการทางการเคลื่อนไหวได้รับบริการครบถ้วน 100%ภายใน 3-5 ปี

  12. วิเคราะห์ Demand แต่ละประเด็น แยกตามภาวะโรค/เจ็บป่วย ประเมินขีดความสามารถตอบสนองของหน่วยบริการ รวมทั้งจุดอ่อนของบริการ เป็นรายสาขา/ประเด็น การพัฒนาบริการปฐมภูมิทั้งมิติพื้นที่ (เมือง-ชนบท) มิติบริการ และมิติบุคลากร โดยมี รพช. เป็นแกนกลาง 2.การพัฒนาบริการ กำหนดเป้าหมายระยะสั้น / ยาว รวมทั้งแผนลงทุน แผนคน ดำเนินงาน ติดตาม ประเมินผล

  13. ทารกแรกเกิด แผนพัฒนา ภาวะที่เป็นปัญหา การดูแลเชื่อมโยงทุกระดับ, เพิ่ม NICU 73เป็น115 รพ.ระดับ 3: ศักยภาพในการวินิจฉัยHearing test, ROP Screening ระดับ 2:รักษาRetinaโดยROP laser ระดับ 1: รักษาผ่าตัดโรคหัวใจที่ซับซ้อนผ่าตัดโรคสมองทารกแรกเกิด รพ.ชช.:Detect BA+ลดเวลา fetal distress แนวทางการดูแลทารกระหว่างการส่งต่อ + transport network • Low Birth Weight • Birth Asphyxia • Cyanotic Heart Disease มาตรการสำคัญในการแก้ปัญหา KPI • NICU • ลด Refer • Detect +ลดเวลา fetal distress อัตราการคลอดก่อนกำหนดลดลง<10% (8.85) อัตราBirthasphyxia ลดลง<25:1000 (20.79) อัตราคัดกรองเพิ่มขึ้น(จาก 55% ปี 2555 เป็น 71% ปี 2556) อัตราการเกิดภาวะแทรกซ้อนระหว่างส่งต่อลดลง การปฏิเสธการรับผู้ป่วยเครือข่ายบริการ<10% (ลดจาก 51.4 ปี 2553 เป็น 25.5 ปี 2556)

  14. ความเชื่อมโยงของระบบบริการเครือข่ายการให้บริการผู้ป่วยทารกความเชื่อมโยงของระบบบริการเครือข่ายการให้บริการผู้ป่วยทารก REFER OUT ศูนย์ความเชี่ยวชาญสาขาทารกแรกเกิด REFER BACK

  15. 4 excellent center เพิ่มขีดความสามารถการดูแลผป.ภาวะฉุกเฉิน วิกฤต ลดส่งต่อออกนอกเขต A: สามารถให้บริการ cath lab ในผป.หลอดเลือดหัวใจตีบได้ ,ขยายเตียงรองรับทารกแรกเกิดภาวะวิกฤตเพิ่มขึ้น M2 ทุกแห่ง: เพิ่มศักยภาพในการดูแลภาวะฉุกเฉินที่สอดคล้องกับ 4 excellent center • หยดยาSK ในผป.STEMI ได้ • ดูแลผป.วิกฤตทางเดินหายใจได้ทั้งผู้ใหญ่ และเด็ก • ให้การผ่าตัดไส้ติ่ง และผ่าคลอดได้ • ดูแลผป.กระดูกหักไม่เคลื่อนได้จนถึงระดับF3 โดยใช้เครือข่ายปรึกษาผู้เชี่ยวชาญผ่านอินเตอร์เน็ต เป้าหมายการพัฒนาบริการ ปี 2557

  16. สาขาอื่นๆ เน้นการเข้าถึงบริการให้ครอบคลุมประชากรมากขึ้น โดยเพิ่มการบริการ-คัดกรองและรักษาโรคตาบอดที่ป้องกันได้ ในโรคต้อกระจก และเบาหวานขึ้นจอตา-ผป.โรคไตเรื้อรังเข้าถึงบริบาลไตทดแทน(CAPD,HD)มากขึ้น  เปิดCKD clinic ถึงระดับM2-จิตเวช  มีคลินิกจิตเวชถึงระดับ M2-Stroke clinic ถึงระดับM2-NCD clinic คุณภาพจนถึงระดับF3-เพิ่มบริการทันตกรรมป้องกันในเด็กเล็กครอบคลุมเต็มพื้นที่ทุกรพสต เป้าหมายการพัฒนาบริการ ปี 2557

  17. 3. การพัฒนาระบบบริหาร 1. การบริหารการเงินการคลังระดับเขต - การปรับเกลี่ยงบ UC ระหว่างหน่วยบริการ โดยเกลี่ยได้ 3% ฐาน งด. - การวิเคราะห์สถานภาพทางการเงินทุกหน่วยบริการ - การจัดทำ แผนฟื้นฟูประสิทธิภาพการบริหารการเงิน 2. การบริหารงานร่วมระดับเขต: ลดค่าใช้จ่าย เพิ่มประสิทธิภาพหน่วยบริการ - การบริหารงบประมาณร่วม - การบริหารกำลังคนร่วม - การบริหารยา เวชภัณฑ์ และค่าบริการตรวจชันสูตรร่วม

  18. 3. การพัฒนาระบบบริหาร 3. การบริหารจัดการด้านกำลังคนระดับเขต - การจัดทำกรอบอัตรากำลัง การจัดทำแผนความต้องการ การบรรจุข้าราชการใหม่ การจ้าง พกส. การจ่ายค่าตอบแทน 4. รูปแบบการบริหาร CUP (CUP Management Model) - แผนพัฒนาสุขภาพอำเภอ เป็นแผนเดียว (Single District Plan) - การบริหารการเงินของ CUP เป็นหนึ่งหน่วย (Single Financial Unit) - การบริหารบริการปฐมภูมิเป็นหนึ่งเครือข่าย (Single Primary Care Network) 5. การกำกับ ติดตาม และประเมินผล • การติดตามประเมินผล รอบ 6,12 เดือน • การประเมินเชิงคุณภาพ • การจัดทำรายงานประจำปี

  19. 4. การพัฒนาระบบข้อมูล 1. ทบทวน / เรียบเรียง ชุดข้อมูล (Data set) ให้เป็นหมวดหมู่ เริ่มจากกำหนดรายการข้อมูลที่มีความจำเป็น 2. ปรับเปลี่ยน วิธีบันทึกข้อมูล ที่หน่วยบริการ จาก manual เป็น digital data โดยใช้โปรแกรมต่างๆ 3. กำหนดใช้ ข้อมูลประชากร DB pop เป็นฐานคิดเป้าหมาย 4. สนับสนุนให้ใช้โปรแกรม Data Management เป็นเครื่องมือของศูนย์ข้อมูลจังหวัด 5. ออกแบบการนำเสนอ ชุดข้อมูลสำเร็จรูป ใน website

  20. - Base on ปัญหาพื้นที่ เน้นเด่นแต่ละด้านให้ share ทรัพยากรมากขึ้น

  21. Quality of service HC mgt จัดสรรทรัพยากรที่เหมาะสม พบส. Service Network mgt บริหาร บริการ วิชาการ UC mgt พัฒนาระบบบริการทุกระดับ ตั้งแต่ระดับปฐมภูมิ ระดับทุติยภูมิ ระดับตติยภูมิ ความเชี่ยวชาญระดับสูง ที่เชื่อมโยงกันเป็นเครือข่าย ทั้งภายในจังหวัด ภายในเขต และเป็นเครือข่ายระดับประเทศ เครือข่ายบริการที่ไร้รอยต่อ (ภูมิศาสตร์ การคมนาคม) Seamless Health Service Network

More Related