1 / 19

Present by .. Pitipoom Amornmongkol

Mood effects on eyewitness memory : Affective influences on susceptibility to misinformation ( Joseph P. forgas, Simon M. Laham, Patrick T. Vargas). อิทธิพลของอารมณ์ต่อความจำของพยาน : การตกอยู่ภายใต้ความรู้สึกที่ถูกครอบงำทาง จิตใจ นำไปสู่คำให้การที่ผิดพลาด.

saeran
Télécharger la présentation

Present by .. Pitipoom Amornmongkol

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. Mood effects on eyewitness memory: Affective influences on susceptibility to misinformation(JosephP. forgas, Simon M. Laham, Patrick T. Vargas) อิทธิพลของอารมณ์ต่อความจำของพยาน: การตกอยู่ภายใต้ความรู้สึกที่ถูกครอบงำทาง จิตใจ นำไปสู่คำให้การที่ผิดพลาด Present by.. Pitipoom Amornmongkol

  2. Introduction พยานบุคคล จัดว่าเป็นพยานประเภทที่สำคัญ และมีปัญหามากกว่าพยานประเภทอื่น เพราะพยานบุคคลขึ้นอยู่กับปัจจัยพื้นฐานหลายประการที่เป็นสาเหตุทำให้เกิดการผันแปรหรือเกิดการเปลี่ยนแปลงได้ง่าย

  3. Introduction (2) ปัจจัยที่เป็นสาเหตุทำให้เกิดการผันแปรเปลี่ยนแปลง • สภาพจิตใจของพยาน • ความสามารถในการจดจำ • ทัศนคติหรือุปนิสัยพื้นฐานที่แตกต่างกัน • อารมณ์ และระยะเวลา ฯลฯ เป็นต้น

  4. ความสามารถในการเป็นพยานบุคคล ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 95 “ ห้ามมิให้ยอมรับฟังพยานบุคคลใดเว้นแต่บุคคลนั้น (1) สามารถเข้าใจและตอบคำถามได้ และ   (2) เป็นผู้ที่ได้เห็น ได้ยิน หรือทราบข้อความเกี่ยวในเรื่องที่จะให้การเป็นพยานนั้นมาด้วยตนเองโดยตรง แต่ความในข้อนี้ให้ใช้ได้ต่อเมื่อไม่มีบทบัญญัติแห่งกฎหมายโดยชัดแจ้งหรือคำสั่งของศาลว่าให้เป็นอย่างอื่น”

  5. หลัก “Competency of witness” พยานบุคคลที่จะมาเบิกความต่อศาลต้องมีความรู้ด้วยตนเองในเรื่องที่จะเบิกความ

  6. หลักการชั่งน้ำหนักพยานบุคคลความน่าเชื่อถือของคำเบิกความของพยานบุคคลที่เบิกความต่อศาล 1.การทดสอบความมั่นคง 2.การชั่งน้ำหนักความน่าเชื่อถือ

  7. Objective วัตถุประสงค์ของงานวิจัยนี้ได้มุ่งเน้นที่สภาวะทางอารมณ์ ที่มีผลกระทบต่อความสามารถในการจดจำของพยาน โดยมีการตั้งสมมติฐานที่ว่าสภาวะทางอารมณ์ที่ดีนั้นจะมีส่วนทำให้เกิดความสามารถในการจำได้แม่นยำกว่าสภาวะทางอารมณ์ที่ไม่ดีในการทดลองที่ 1 สำหรับการทดลองที่ 2 และการทดลองที่ 3 จะเป็นการตรวจสอบระดับความเข้าใจ และความเชื่อมั่นที่มีผลต่อความแม่นยำในการจดจำ

  8. Experiment1 สมมติฐาน คือ สภาวะทางอารมณ์ที่ดีจะมีส่วนช่วยส่งเสริมในการจำได้ และสภาวะทางอารมณ์ที่ไม่ดีจะทำให้ความอ่อนไหวของคนลดลงได้ ในการได้รับข้อมูลที่ทำให้เกิดการเข้าใจผิด นอกจากนี้ความเหมาะสมของอารมณ์ยังเป็นตัวบ่งชี้ถึงผลกระทบที่มีต่อการจำได้

  9. Experiment1 (2) วิธีการทดลอง ผู้เข้าร่วมการทดลองเป็นนักศึกษา จำนวน 96 คน (ชาย 42 คน, หญิง 54 คน) อายุเฉลี่ยที่ 19 ปี ภาพอุบัติเหตุทางรถยนต์ (เหตุการณ์ทางลบ) ภาพงานฉลองงานแต่งงาน (เหตุการณ์ทางบวก)

  10. Result 1 ระดับอารมณ์ของผู้เข้าร่วมทดลองมีความสัมพันธ์กัน อย่างสูง พบว่าผู้ที่เข้าร่วมที่คิดทางด้านบวกต่อเหตุการณ์ที่ เกิดขึ้นในชีวิต จะมีความเชื่อมั่นทางระดับอารมณ์ที่มากกว่า ผู้ที่คิดในทางลบต่อเหตุการณ์ที่เกิดขึ้น ผลการทดลองนี้เป็นการยืนยันได้ว่ามีผลกระทบเป็นอย่างสูง ต่อการเกิดความแตกต่างของระดับอารมณ์ ที่นำไปสู่การเกิดการเข้าใจผิดของข้อมูล

  11. Experiment2 ใช้เหตุการณ์ที่เกิดขึ้นในชีวิตจริงซึ่งค่อนข้างมีผลกระทบมากกว่าการใช้รูปภาพที่แสดงภาพเหตุการณ์ที่ใช้ในการทดสอบ โดยมีการตั้งสมมติฐานว่าจะมีผลกระทบต่อความคิด ที่อยู่ในจิตใต้สำนึก การศึกษานี้ได้ชี้ให้เห็นว่ามีการเข้าถึงผลกระทบทางจิตใจโดยตรง และทำให้สามารถคาดเดาได้ว่าจะทำให้เกิดการรู้สึกตัวที่ส่งผลกระทบต่อข้อมูล

  12. Experiment2 (2) วิธีการทดลอง ผู้ร่วมทำการทดลองทั้งหมด 144 คน (ชาย 61 คน, หญิง 83 คน) อายุเฉลี่ย 19 ปี ดูวิดีโอ เป็นเวลา 10 นาที ใช้เวลาทดสอบ 1 สัปดาห์

  13. Result2 ผลการทดลองจะเห็นว่าอารมณ์ที่มีความสุขนั้น จะมีระดับความเชื่อมั่นสูงกว่าอารมณ์ปกติ และสภาวะอารมณ์ทางด้านลบนั้นไม่มีระดับความเชื่อมั่น ที่แตกต่างกันกับอารมณ์ที่เป็นปกติ

  14. Experiment3 เป็นการทดลองการตรวจสอบผลกระทบของอารมณ์ที่มีต่อความสามารถในการจำของพยานที่พบได้อย่างรวดเร็ว ซึ่งผู้รับการทดลองจะมีส่วนร่วม และมีบทบาทในการระงับผลกระทบทางอารมณ์ที่เกิดขึ้น เมื่อได้รับการชี้แนะต่อประเด็นที่มีผู้รับการทดลองมีความสนใจ

  15. Experiment3 (2) วิธีการทดลอง ผู้ร่วมทำการทดลองทั้งหมด 80 คน (ชาย 31 คน, หญิง 49 คน) อายุเฉลี่ย 20 ปี ภาพเหตุการณ์ปล้นร้านค้า (เหตุการณ์ทางลบ) ภาพงานฉลองงานแต่งงาน (เหตุการณ์ทางบวก)

  16. Result3 ผลการทดลองแสดงให้เห็นว่าการได้รับข้อมูลที่เป็นเท็จนั้นทำให้ระดับความเชื่อมั่นของการกระตุ้นทางระดับอารมณ์เพิ่มขึ้น และลดความสามารถของความแม่นยำในการจำลง

  17. Conclusion โดยสรุปแล้วพบว่าในการสอบปากคำพยานผู้เห็นเหตุการณ์นั้นอารมณ์ทั้งทางด้านบวก และอารมณ์ทางด้านลบ ต่างมีส่วนส่งเสริมที่อาจทำให้เกิดการเข้าใจผิดของพยาน ที่อาจก่อให้เกิดการเข้าใจในข้อมูลไปในทางที่ผิดของข้อมูลในความสามารถการจำของพยาน

  18. QUESTION& ANSWER

  19. ..Thank You.. ขอกราบขอบพระคุณ พันตำรวจโทหญิง สมวดี ไชยเวช

More Related