1 / 24

“ ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับวินัย” โดย พ.ต.ท.หญิง ดารณี แจ้งไพร รอง ผกก.ฝอ.4 อมศ. บช.ศ.

“ ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับวินัย” โดย พ.ต.ท.หญิง ดารณี แจ้งไพร รอง ผกก.ฝอ.4 อมศ. บช.ศ. โทร. 0-2513-3894, 08-1306-5276. บรรยายให้กับข้าราชการตำรวจ สตม. เมื่อปี พ.ศ. 2550 จำนวน 3 ชั่วโมง. วินัย คือ อะไร ?. พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน ให้ความหมายของ “ วินัย”

scott
Télécharger la présentation

“ ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับวินัย” โดย พ.ต.ท.หญิง ดารณี แจ้งไพร รอง ผกก.ฝอ.4 อมศ. บช.ศ.

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับวินัย” โดยพ.ต.ท.หญิง ดารณี แจ้งไพรรอง ผกก.ฝอ.4 อมศ. บช.ศ. โทร. 0-2513-3894, 08-1306-5276 บรรยายให้กับข้าราชการตำรวจ สตม. เมื่อปี พ.ศ. 2550 จำนวน 3 ชั่วโมง

  2. วินัย คือ อะไร ? พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน ให้ความหมายของ “ วินัย” วินย-, วินัย [ วินะยะ-] น. ระเบียบแบบแผน และข้อบังคับ,ข้อปฏิบัติ, เช่น วินัยทหาร ทหารต้องยึดมั่นในวินัย ...

  3. กฎหมายและระเบียบที่เกี่ยวข้องกฎหมายและระเบียบที่เกี่ยวข้อง 1. พ.ร.บ.ตำรวจแห่งชาติ พ.ศ. 2547 2. กฎ ก.ตร. 2.1 ว่าด้วยกรณีที่เป็นความผิดที่ปรากฏชัดแจ้ง พ.ศ.2547 2.2 ว่าด้วยการอุทธรณ์และการพิจารณาอุทธรณ์ พ.ศ.2547 2.3 ว่าด้วยการร้องทุกข์ พ.ศ.2547 2.4 ว่าด้วยวิธีการออกคำสั่งเกี่ยวกับการลงโทษ พ.ศ.2547 2.5 ว่าด้วยอำนาจการลงโทษ อัตราโทษ และการลงโทษ ภาคทัณฑ์ ทัณฑกรรม กักยาม กักขัง หรือตัดเงินเดือน พ.ศ.2547 3. ระเบียบ ก.ตร. ว่าด้วย วิธีการเสริมสร้างและพัฒนาให้ข้าราชการตำรวจ มีวินัย และป้องกันมิให้ข้าราชการตำรวจกระทำผิดวินัย พ.ศ.2549 4. คำสั่ง ตร.ที่ 436/2548 ลง 20 มิ.ย.2548 ฯลฯ

  4. ประเภทของความผิดวินัยประเภทของความผิดวินัย 1. ความผิดวินัยอย่างไม่ร้ายแรง 2. ความผิดวินัยอย่างร้ายแรง

  5. ความผิดวินัยอย่างไม่ร้ายแรงความผิดวินัยอย่างไม่ร้ายแรง มาตรา 78 แห่ง พ.ร.บ.ตำรวจแห่งชาติ พ.ศ.2547 (1) – (17) ข้อปฏิบัติและข้อห้าม (18) ตามที่กำหนดในกฎ ก.ตร.

  6. ความผิดวินัยอย่างร้ายแรงความผิดวินัยอย่างร้ายแรง มาตรา 79 แห่ง พ.ร.บ.ตำรวจแห่งชาติ พ.ศ.2547 (1) – (6) ข้อห้าม (7) ตามที่กำหนดในกฎ ก.ตร.

  7. โทษทางวินัยมี 7 สถาน 1. ภาคทัณฑ์ 2. ทัณฑกรรม 3. กักยาม 4. กักขัง 5. ตัดเงินเดือน 6. ปลดออก 7. ไล่ออก

  8. ความแตกต่าง ระหว่างความผิดวินัยอย่างไม่ร้ายแรง กับ อย่างร้ายแรง ความผิดวินัยอย่างไม่ร้ายแรง ภาคทัณฑ์ ทัณฑกรรม กักยาม กักขัง ตัดเงินเดือน ความผิดวินัยอย่างร้ายแรง ปลดออก ไล่ออก

  9. ความผิดวินัย แตกต่างกับ ความผิดอาญา ? โทษ อายุความ ผลอันเกิดจากความตาย ของผู้กระทำความผิด

  10. ระดับการลงโทษข้าราชการตำรวจของระดับการลงโทษข้าราชการตำรวจของ 1.ตร. 2.ก.ตร.

  11. ผู้มีอำนาจลงทัณฑ์ กฎ ก.ตร. ว่าด้วยอำนาจการลงโทษ อัตราโทษ และการลงโทษ ภาคทัณฑ์ ทัณฑกรรม กักยาม กักขัง หรือตัดเงินเดือน พ.ศ.2547 ข้อ 2ผู้บังคับบัญชาจะลงโทษ ..เพียงใดให้เป็นไปตามตารางกำหนดอำนาจและอัตราการลงโทษข้าราชการตำรวจที่ ก.ตร.กำหนด

  12. การคำนวณระยะเวลาการลงโทษกักยามและกักขังการคำนวณระยะเวลาการลงโทษกักยามและกักขัง คำถาม? 1. วันแรกจะนับอย่างไร? หากเริ่มรับโทษเวลา 23.00 น. 2. นับติดต่อกันหรือไม่? กักยาม กักขัง 7 วัน จะขอรับโทษจันทร์ถึงศุกร์ และจันทร์,อังคาร ถัดไป ได้หรือไม่ โดยขอเว้นวันหยุด เสาร์อาทิตย์

  13. การคำนวณระยะเวลา การลงโทษกักยามและกักขัง กฎ ก.ตร. ว่าด้วยอำนาจการลงโทษ อัตราโทษ และการลงโทษ ภาคทัณฑ์ ทัณฑกรรม กักยาม กักขัง หรือตัดเงินเดือน พ.ศ.2547 ข้อ 3

  14. ผู้รับโทษกักยาม และผู้รับโทษกักขัง กักยาม เฉพาะ ผกก. ลงมา กักขัง ตั้งแต่ รอง สว. ลงมา กฎ ก.ตร. ว่าด้วยอำนาจการลงโทษ อัตราโทษ และการลงโทษ ภาคทัณฑ์ ทัณฑกรรม กักยาม กักขัง หรือตัดเงินเดือน พ.ศ.2547 ข้อ 6

  15. คำสั่ง ตร.ที่ 436/2548 ลง 20 มิ.ย.2548 เรื่อง มอบอำนาจการดำเนินการทางวินัย การสั่งให้ข้าราชการตำรวจ ออกจากราชการ และกำหนด แนวทางปฏิบัติ

  16. คำสั่ง ตร.ที่ 436/2548 ลง 20 มิ.ย.2548 • มอบอำนาจการดำเนินการทางวินัย • วินัยถึงที่สุด เมื่อใด - วินัยอย่างไม่ร้ายแรง - วินัยอย่างร้ายแรง • การรายงานการดำเนินการทางวินัย

  17. การรายงานตนเมื่อต้องคดีการรายงานตนเมื่อต้องคดี 1.ประเภทของคดี คดีอาญา คดีแพ่ง คดีล้มละลาย

  18. 2.กำหนดเวลาการรายงานตนเมื่อต้องคดี2.กำหนดเวลาการรายงานตนเมื่อต้องคดี ภายใน 3 วัน นับตั้งแต่... คดีอาญา1. พงส.ดำเนินคดีนับตั้งแต่วันถูกจับกุม, ถูก พงส. เรียกตัวไปสอบสวนหรือแจ้งข้อหา 2. ผู้เสียหายฟ้องเอง นับตั้งแต่วันรับหมายศาล คดีแพ่งนับตั้งแต่วันรับหมายศาล คดีล้มละลาย วันถูกยึดทรัพย์ ป.ระเบียบการตำรวจไม่เกี่ยวกับคดี ลักษณะที่ 1 บทที่ 13 ข้อ 3

  19. 3. แบบของการรายงานเมื่อต้องคดี 4. การรายงานความคืบหน้าของคดี จนกว่าคดีถึงที่สุด รายงานตนพ้นคดี / รายงานการต้องโทษทางอาญา, การชดใช้ชำระหนี้ ค่าสินไหมทดแทน บุคคลล้มละลาย

  20. 4. การเสนอรายงานตน เมื่อต้องหาคดีอาญา เสนอ ผู้บังคับบัญชาชั้นต้น

  21. 5. ผลจากการรายงานตนต้องคดีล่าช้า ภาคทัณฑ์

  22. การอุทธรณ์มาตรา 105 พ.ร.บ.ตำรวจแห่งชาติ พ.ศ.2547 มี 2 กรณี 1. ถูกสั่งลงโทษทางวินัย 2. ถูกสั่งให้ออกจากราชการ

  23. การร้องทุกข์มาตรา 106พ.ร.บ.ตำรวจแห่งชาติ พ.ศ.2547 มี 3 กรณี ผู้บังคับบัญชาใช้อำนาจหน้าที่ปฏิบัติต่อตน โดยไม่ถูกต้อง ผู้บังคับบัญชาไม่ปฏิบัติต่อตนให้ถูกต้อง ตามระเบียบกฎหมาย 3. ผู้บังคับบัญชาปฏิบัติหน้าที่โดยมิชอบต่อตน

  24. ขอขอบคุณ สวัสดีค่ะ

More Related