1 / 58

การออกแบบ SPILLWAY

การออกแบบ SPILLWAY. Double Side Channel Spillway. ไกรฤกษ์ อินท์ชยะนันท์ สำนักออกแบบวิศวกรรมและสถาปัตยกรรม. 1. ข้อมูลทั่วที่ใช้ในการออกแบบ 1.1 ระดับน้ำเก็บกัก (ร.น.ก.) 1.2 ระดับน้ำสูงสุด (ร.น.ส.) 1.3 ระดับสันเขื่อนดิน 1.4 ปริมาณน้ำนองสูงสุดในรอบการเกิดซ้ำ

sema
Télécharger la présentation

การออกแบบ SPILLWAY

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การออกแบบSPILLWAY Double Side Channel Spillway ไกรฤกษ์ อินท์ชยะนันท์ สำนักออกแบบวิศวกรรมและสถาปัตยกรรม

  2. 1. ข้อมูลทั่วที่ใช้ในการออกแบบ 1.1 ระดับน้ำเก็บกัก (ร.น.ก.) 1.2 ระดับน้ำสูงสุด (ร.น.ส.) 1.3 ระดับสันเขื่อนดิน 1.4 ปริมาณน้ำนองสูงสุดในรอบการเกิดซ้ำ 1.5 ความสูงของน้ำเหนือสันฝาย (Flood Surcharge)

  3. 2. การพิจารณาตำแหน่งที่ตั้งอาคารทางระบายน้ำล้น เป็นอาคารประกอบเขื่อนที่สำคัญ ทำหน้าที่ระบายน้ำส่วนที่เกินจากระดับที่กำหนดไว้ ให้ไหลออกไปจากอ่างฯโดยไม่ทำให้เกิดอันตรายกับตัวเขื่อน องค์ประกอบของอาคาร คลองชักน้ำ ( Approach Channel ) ส่วนรับน้ำ ส่วนรางเท ส่วนสลายพลังน้ำ ซึ่งทั้งสามส่วนนี้เป็นอาคารคสล. เนื่องจากต้องรองรับการไหลของน้ำที่มีความเร็วค่อนข้างสูงมาก ส่วนสุดท้ายได้แก่ คลองระบายน้ำที่เชื่อมต่อกับลำน้ำเดิม

  4. ควรวางอาคารทางระบายน้ำล้นที่เป็นชนิด Overflow หรือ Ungated Control ไว้ที่ฐานยันเขื่อน ( Abutment ) ฝั่งใดฝั่งหนึ่งของตัวเขื่อนและให้อยู่สูงกว่าระดับเก็บกักเล็กน้อย สำหรับเขื่อนคอนกรีต ( Concrete Dam ) และเขื่อนคอนกรีตบดอัดแน่น ( Rolled Compacted Concrete หรือ RCC Dam ) นิยมวางอาคารทางระบายน้ำล้นไว้ที่ตัวเขื่อน โดยกำหนดให้วางอยู่ที่แนวเดียวกับแนวลำน้ำเดิม

  5. ขั้นตอนและแนวทางในการพิจารณาดำเนินการมีดังนี้ขั้นตอนและแนวทางในการพิจารณาดำเนินการมีดังนี้ • พิจารณาข้อมูลจากรายงานอุทกวิทยา และรายงานวางโครงการ เพื่อกำหนดระดับน้ำเก็บกักและระดับน้ำสูงสุด รวมทั้งปริมาณน้ำสูงสุดที่ต้องการระบายผ่านอาคารนี้ • วางแนวสันเขื่อนในแผนที่สำรวจภูมิประเทศแล้วกำหนดระดับน้ำเก็บกักอยู่ที่เส้นใดของเส้นชั้นความสูง ( Contour Line ) • ดูฐานยันเขื่อนทั้งสองฝั่งว่าฝั่งใดเหมาะสม โดยพิจารณา • ข้อดี-เสีย ทีละข้าง

  6. ควรวางแนวศูนย์กลางอาคารให้ทำมุมตั้งฉากกับแนวศูนย์กลางเขื่อน • และไม่ตัดผ่านร่องน้ำ • 5. วางแนวอาคารทางระบายน้ำล้นสำหรับประเภท Overflow Spillway ให้อยู่ในบริเวณที่มีระดับพื้นดินเดิมสูงกว่าระดับน้ำเก็บกักเล็กน้อย • โดยขุดจากระดับดินเดิม ≥ 2.00 เมตร เพื่อให้ฐานอาคารวางอยู่บนฐานรากที่แข็งแรง

  7. 6. ควรวางแนวอาคารให้ตรงโดยตลอด สามารถวางแนวให้โค้งได้ แต่ควรกำหนดตำแหน่งโค้งให้อยู่ในส่วนรางเท( Chute ) หรืออยู่ในคลองชักน้ำ หรือคลองระบายน้ำก็ได้ 7. กำหนดตำแหน่งอาคารสลายพลังงาน ( Stilling Basin ) ควรอยู่บริเวณใด เพื่อให้สามารถทราบความยาวอาคารคอนกรีตเสริมเหล็กเบื้องต้นได้ 8. กำหนดหลักกิโลเมตร ( กม. ) ตามแนวศูนย์กลางอาคาร เพื่อให้สามารถประมาณความยาวของอาคารในแต่ละส่วนได้ตามต้องการ

  8. 9. ดำเนินการวางแนวอื่นที่สามารถวางได้ตามลำดับ ตั้งแต่ข้อ 4 ถึงข้อ 9 10. เปรียบเทียบข้อ ได้เปรียบ-ข้อเสียเปรียบ ของแต่ละแนว 11. เมื่อได้แนวที่เหมาะสมแล้ว เดินทางไปตรวจสอบสภาพภูมิประเทศจริงในสนาม เพื่อ ประกอบการตัดสินใจในการคัดเลือกแนวด้วย ดำเนินการเขียนแบบแสดงลักษณะอาคารโดยทั่วไป เพื่อที่ กำหนดหลุมเจาะสำรวจธรณีวิทยาฐานราก และเมื่อได้ผลสำรวจ ธรณีวิทยา

  9. 3. ที่ตั้งอาคาร กำหนดไว้ที่ปลายฐานยัน (Abutment) เขื่อนฝั่งใดฝั่งหนึ่ง ในกรณีที่มี Abutment สูงชันไม่เหมาะที่จะสร้างเป็น Chute Spillway เพราะอาจต้องตัดดินมาก น้ำจะไหลผ่านสันฝายลงไปในทางน้ำแล้วเปลี่ยนทิศทางประมาณ 90 องศา ระบายน้ำออกสู่รางเท Stilling Basin และคลองระบายน้ำทิ้งลงสู่ลำน้ำเดิม

  10. 4. การกำหนดความยาวสันฝาย ( Crest Length ) มุม  ที่เหมาะสม= 45- 70 (From FAO.No.26) ค่า C  1.60 – 1.84 การกำหนดค่า w2 จะ Control ให้ความลึกน้ำเหนือสันฝาย  1.00 เพื่อให้ระยะตกของน้ำไม่มาก การไหลจะได้ราบเรียบไม่ปั่นป่วนรุนแรง (จากระดับน้ำในอ่างฯ ถึงระดับน้ำในร่องน้ำ) Q = C L H 3/2 Q = C × (w1 + 2L) × H3/2 (โดยทั่วไป Afflux ของอ่างฯ ขนาดเล็ก ไม่ควรเกิน 1.00 ม.)

  11. 5. การกำหนดความสูงของกล่อง ( H1 ) H1  0.75 H (จากเรื่อง Rectangular Box Inlet Spillway) W = w1 + w2 / 2 ฟุต Q = ft3/sec (1 m3/sec = 35.31435 ft3/sec) H = Afflux , ft. (1 ft = 0.3048 m.)

  12. 6. ตรวจสอบแรงลอยตัว (Buoyancy) นน.อาคาร = (1) + (2) + (3) = A (concrete = 2.4 T/m.3) Displacement Volume = - - - Total Uplift = B F.S. against Floating = A / B (ค่าที่ได้ควรมากกว่า 1.50) 1 2 3 4

  13. 7. การออกแบบช่อง Trough ถึง Control Section กำหนดค่า n = 0.014 – 0.016 q = dc = โดยที่ dc = Critical depth (ความลึกของน้ำที่ตำแหน่ง Control Section, ม.) q = Q/L (ม.3/วินาที/เมตร) Q = ปริมาณน้ำไหลผ่าน Chute (ม.3/วินาที) g = อัตราเร่งจากแรงโน้มถ่วงของโลก = 9.81 (ม./วินาที 2) W2 = ความกว้างของ Chute (ม.) Vc = Hydraulic Radius, Rc = Ac / Pc = Sc =

  14. กำหนดค่า S1 < Scในช่อง Trough เพื่อทำให้เป็นการไหลแบบ Subcritical Flow (น้ำในร่องจะลึกและไหลช้า ทำให้ระยะน้ำตกไม่สูง การไหลของน้ำในช่องราบเรียบไม่ปั่นป่วน) Tolerable Crest Submergence  กำหนด ระดับพื้น(u/s end of side Channel trough) ∴ Tolerable crest submergence = ระดับพื้น+ depth ที่จุดนั้น – ความสูงสัน ฝาย <

  15. กรณีมี Transition หาความลึกของน้ำ(y1) ที่ u/s โดยใช้สมการ Bernoulli หรือ Energy Equation y1 + + z2 + hL v1 = Q1/A1 A1 = (B + zy1) y1 hL = transition loss จากช่วง transition หา Loss เนื่องจาก transition โดยกำหนดให้การสูญเสีย Head = 0.20 ของความแตกต่างระหว่าง Velocity head ที่ปลายทั้งสองของ Transition =0.2 (hvc – hv1) = 0.2 ( + z1 = yc + ) 

  16. รู้ค่า Vc , ycแทนค่าใน R.H.S. จากนั้นใช้วิธี Trial and Error หา y1 โดยสมมุติค่า y1 และหาค่า L.H.S. จนได้ L.H.S. เท่ากับ R.H.S. จากนั้นหา Water Surface profile ในช่วง trough จะได้ระดับน้ำที่ สันฝาย จากนั้นตรวจสอบหา tolerable crest submergence ซึ่งควรจะได้ < ตามที่กำหนดไว้

  17. 8. การหา Flow Profile ทางด้านเหนือน้ำของร่องน้ำ ใช้สมการของ Momentum เป็นพื้นฐานและสามารถ derive จนได้ สมการดังนี้ {(v2 – v1) + } - - - - - (1) = } - - - - - (2) เมื่อรู้สภาวะการไหลของน้ำด้านท้ายน้ำ จะสามารถหาสภาวะการไหลของน้ำทางด้านเหนือน้ำ โดยใช้สมการ (1)หรือถ้ารู้สภาวะการไหลของน้ำด้านเหนือน้ำ ใช้สมการที่ (2) ก็จะสามารถรู้สภาวะการไหลของน้ำด้านท้ายน้ำ = {(v2 – v1) +

  18. สมมุติค่าความลึกต่าง(สมมุติค่าความลึกต่าง( y) และระยะระหว่างสองหน้าตัด ( x) จากนั้นจะรู้ความลึกของน้ำที่ปลายอีกด้านหนึ่งเพื่อหาความเร็วของน้ำ และนำไปแทนค่าในสมการ (1) หรือ (2) เพื่อหาค่า y’ ถ้าได้ค่า y’ เท่ากับผลต่างของระดับน้ำที่ปลายทั้งสองข้าง ( y ) ของร่องน้ำที่สมมุติครั้งแรก แสดงว่าค่าความลึกของน้ำที่หาได้ถูกต้อง ถ้าไม่เท่ากันก็ต้องสมมุติค่า y นี้ใหม่ จนกว่าจะได้ค่า y’ เท่ากับ y สภาวะการไหลในร่องน้ำ จะเป็นได้ทั้ง Supercritical หรือ Subcritical Flow ขึ้นอยู่กับความลาดเทของร่องน้ำ แต่โดยทั่วไปมักออกแบบเป็น Subcritical Flow เพื่อให้การไหลของน้ำราบเรียบ

  19. ข้อสังเกตSlope พื้นร่องน้ำที่รับน้ำจากสันฝาย ถ้ากำหนดเป็น Supercritical ระยะที่น้ำตกจาก Crest สูงมากทำให้น้ำปั่นป่วน และเกิดแรงกระแทกอย่างรุนแรง และการหาค่า Critical Section ในร่องน้ำทำได้ยากควรหลีกเลี่ยง การออกแบบที่เหมาะสมควรออกแบบให้การไหลในร่องน้ำเป็นSubcriticalคือน้ำลึกและไหลช้าทำให้ระยะน้ำที่ตกจากสันฝายไม่สูงมาก การไหลเป็นแบบราบเรียบ ไม่ปั่นป่วนรุนแรง เป็นลักษณะที่ดีทางชลศาสตร์

  20. การทำให้เกิด Critical depth ที่ Control Section ทำได้โดย 1.กำหนดความลาดในร่องน้ำให้น้อยกว่า CriticalSlope 2.ลดขนาดหน้าตัดทางน้ำด้านท้ายน้ำให้เล็กลงจนเกิด Critical depth 3.ยกพื้นท้ายน้ำให้สูงขึ้น จากการรู้ค่า Critical Section ก็สามารถคำนวณหา Water Surface Profile ได้ ปกติการออกแบบน้ำไหลผ่านสันฝายจะให้เป็นแบบ Free Flow แต่จะสามารถยอมให้ Submerged ได้บ้าง โดยค่า Allowable Submergcd ไม่เกิน ( H= Affux ) โดยปริมาณน้ำที่ไหลผ่านคงเดิม ทำให้ประหยัดเพราะลดความลึกของการขุดดิน การคำนวณ Water Surface Profile ทำได้ดังตาราง

  21. 2.9 คำนวณหาความลึกของน้ำในช่วง Chute หาความลึกของน้ำที่จุดต่าง ๆ ตามจุดเปลี่ยนลาดของ Chute โดยใช้ Direct Step Method มีสมการดังนี้

  22. x = โดยที่ x = ระยะทางตามแนวราบระหว่างจุด 2 จุดที่พิจารณา, ม. E = E2 – E1 ; ม. E1, E2 = พลังงานจำเพาะ (Specific Energy) ที่จุด 1 และจุด 2 , ม. E1= y1 + , ม. E2 = y2 + , ม. y1, y2 = ความลึกขอน้ำที่จุด 1 และจุด 2 , ม. = Energy Coefficient = 1.00 v1 , v2 = ความเร็วของกระแสน้ำที่จุด 1 และจุด 2 , ม./วินาที S0 = ความลาดของพื้น (Bottom Slope) ระหว่างจุด 1 และจุด 2 Sf = Friction Slope ระหว่างจุด 1 และจุด 2 = Sfave = ( Sf1 + Sf2 ) /2

  23. v = ความเร็วของกระแสน้ำเฉลี่ย ณ จุด 1 และจุด 2 , ม./วินาที = R = รัศมีชลศาสตร์ระหว่างจุด 1 และจุด 2 , ม. = A/ P หรือ = A = พื้นที่หน้าตัดเฉลี่ยระหว่างจุด 1 และจุด 2 กรณีเป็นรูปตัดทางน้ำเป็นสี่เหลี่ยมผืนผ้า A = b.y = (A1 + A2) / 2 P = เส้นขอบเปียก (Wetted Perimeter) = b = ความกว้างรางเท , ม. n = Manning Roughness Coefficient ของคอนกรีต = 0.015

  24. 10. ความสูงกำแพงรางเท ( Chute ) กำแพงรางเทจะต้องสูงพอ เพื่อป้องกันไม่ให้น้ำที่ไหลในรางเทกระโดด หรือล้นออกข้างกำแพงรางเทได้ หาค่าได้ดังนี้ ความสูงของรางเท (Hw)  y + Freeboard โดยที่ Hw = ความสูงของกำแพงรางเท , ม. y = ความลึกของน้ำในรางเท , ม. Freeboard (F) = ระยะจากผิวน้ำถึงหลังกำแพง , ม. = 0.609 + 0.037 Vy1/3, ม. V = ความเร็วของกระแสน้ำในรางเทที่จุดพิจารณา , ม./วินาที

  25. 11. การคำนวณโค้งทางดิ่ง (Vertical Curve) ในกรณีที่พื้นรางเทมีการเปลี่ยนแปลงลาด เพื่อให้การไหลของน้ำ เป็นแบบราบเรียบ จะต้องออกแบบให้พื้นรางเทเป็น Trajectory Curve ของโค้ง ทางดิ่ง ซึ่งหาได้จากสมการ 1) y = x tan  + เมื่อ x = Coordinate ตามแนวราบ , ม. y = Coordinate ตามแนวดิ่ง , ม. = มุมเอียงของพื้นรางเทด้านเหนือน้ำกับแนวราบ , องศา k 1.5 เพื่อให้เกิด Positive Pressure ตลอด Curve d = ความลึกของน้ำที่จุดเปลี่ยนลาด , ม. hv = Velocity Head ที่จุดเปลี่ยนลาด , ม. =

  26. 2) โดยใช้วิธี Two-Third Curve เพื่อให้น้ำไหลอย่างสม่ำเสมอ (Ref. Design of Hydraulic Structures, C.D. Smith , 1978 ) . x = . (1 + S1)2 เมื่อ x = ระยะราบตามแนวแกน x นับจากจุดเริ่มโค้งจนสิ้นสุดโค้ง , ม. y = ระยะดิ่งตามแนวแกน y นับจากจุดเริ่มโค้งจนสิ้นสุดโค้ง , ม. S1 = ความลาดของ Chute ก่อนจุดเปลี่ยนลาด S2= ความลาดของ Chute หลังจุดเปลี่ยนลาด V1= ความเร็วของน้ำก่อนที่จะเปลี่ยนลาด , ม./วินาที y = XS1 +

  27. กรณีที่ค่า y ที่คำนวณออกมาน้อย อาจไม่จำเป็นต้องทำ Curve เพียงแต่ปรับพื้นให้ Smooth ในช่วงที่เปลี่ยนลาด โดยไม่ให้มีมุมหรือเหลี่ยม ตารางแสดงค่าโค้งทางดิ่ง

  28. 12. การเปลี่ยนความกว้างรางเท (Chute) กำหนดให้ c a เมื่อ a = tan-1 ( ) Fr = Froude Number เฉลี่ยระหว่างจุดปลาย Chute ก่อนเปลี่ยนความกว้างที่จุดเริ่มต้นและจุดสุดท้าย = Vav = ความเร็วเฉลี่ยระหว่างจุดเริ่มต้นและจุดสุดท้าย , ม./วินาที = , ม./วินาที Yav = ความลึกน้ำเฉลี่ยระหว่างจุดเริ่มต้นและจุดสุดท้าย = , ม.

  29. จะได้ Fr = และa = tan-1 ( ) c = tan-1 ( ) เมื่อ b1= ความกว้างของ Chute ที่จุดเริ่มต้น , ม. b2= ความกว้างของ Chute ที่จุดสุดท้าย , ม. L = ความยาวของ Chute ที่ผายออก , ม. จะได้c  a องศา O.K. ข้อสังเกตไม่ควรเกิน 40สำหรับ Transition ที่ผายออก และ 80สำหรับกรณีตีบเข้า

  30. 13. การคำนวณโค้งทางราบ (Horizontal Curve) ต้องออกแบบให้ความโค้งพอเหมาะกับความเร็วของน้ำที่ไหลใน Chute โดยโค้งที่ดี จะต้องมีรัศมีมากพอที่จะไม่ทำให้การไหลในโค้งเกิด Cross Wave สำหรับรายละเอียดการ คำนวณมีดังนี้

  31. โดยที่ = ความสูงผิวน้ำที่เพิ่มขึ้นจากแรงหนีศูนย์กลางโค้ง , ม. V = ความเร็วกระแสน้ำใน Chute ก่อนเข้าโค้ง , ม./วินาที b = ความกว้าง Chute ที่โค้ง , เมตร Rc = รัศมีความโค้งของ Chute( คิดที่ศูนย์กลางรางเท ) , เมตร g = ความเร่งจา กแรงโน้มถ่วงของโลก = 9.81 เมตร/วินาที2 นำค่าที่หาได้มาพิจารณาเผื่อค่า freeboard ในช่วงโค้ง โดยจะไม่ทำ Super Elevation ของพื้น ในกรณีที่ มีค่ามากกว่า 0.50 เมตร จะพิจารณาติดตั้ง Devided Wall ใน บริเวณโค้งทางราบ หรือในกรณีที่ มีค่าน้อยกว่า 0.50 ม. จะทำการออกแบบความสูงของกำแพง Chute ในบริเวณดังกล่าวให้มีความสูงเพียงพอเนื่องจากระดับน้ำที่เพิ่มขึ้น

  32. 14. การออกแบบอาคารสลายพลังงาน (Stilling Basin) ใช้วิธีของ USBR โดยพิจารณาจากค่าปริมาณน้ำ ความเร็วของน้ำ ค่าFroude Number (Fr) และความลึกน้ำ โดยระดับน้ำใน Basin จะต้องเท่ากับหรือต่ำกว่าระดับน้ำในคลองระบายด้านท้ายอาคาร Basin Width (w) = K ft. K = 0.7 – 1.3 Q = Fr = เมื่อ Fr = Froude Number ที่ไหลเข้าสู่ Stilling Basin V1= ความเร็วของกระแสน้ำที่ไหลเข้า Basin , ม./วินาที Y1= ความเร็วของน้ำที่จุดเริ่มเข้าสู่ Basin หรือDepth before jump , ม. นำค่า Fr ที่หาได้จากสูตรมาพิจารณาเพื่อเลือก Stilling Basin Type จาก Design of Small Dam ( 1987 ) หน้า 388-395

  33. รูปแสดงการเกิด HYDRAULIC JUMP

  34. หาค่า Depth after jump (d2) โดยใช้หลัก Momentum Equation จะได้ = - 1 ) ม. คำนวณหาค่าความสูงกำแพง Stilling Basin (1) Freeboard ของ Stilling Basin (F) = 0.1 (v1 + y2) …………..( 1 ) (2) ความสูงของกำแพงอย่างน้อยสุด = 1.05 y2 …………...( 2 ) โดยทั่วไปค่า F ใน(1)ให้ค่าสูงมากทำให้อาคารมีราคาแพง อาจลดความสูงได้โดย ใช้ค่าเฉลี่ย ( ( ) กำหนดให้ระดับพื้นของ Stilling Basin อยู่ที่ระดับ +……. ม. (ร.ท.ก.) คำนวณค่ารายละเอียดต่าง ๆ ของ Stilling Basin จากรูปและกราฟที่ได้จากการ เลือก Type ของ Basin จะได้ขนาดของ Chute block, Floor block (Baffle block), Dentate sill และ End sill

  35. แสดงลักษณะ Stilling Basin Type III

  36. 15. คำนวณความลึกของ Cutoff กำหนดความลึกของ Cutoff ได้ดังนี้ 0.60 × ความลึกของน้ำใน Basin แต่ไม่เกิน 2.50 ม.

  37. 16. การออกแบบคลองระบายน้ำ การออกแบบจะกำหนดให้ ความเร็วของกระแสน้ำอยู่ระหว่าง 0.60 – 1.10 ม./วินาที เพื่อป้องกันการกัดเซาะและการตกตะกอน ในกรณีที่ความเร็วเกินกว่าที่กำหนดจะต้องมีวัสดุป้องกันการกัดเซาะ เช่น ดาดคอนกรีต หินทิ้ง หินเรียง หรือวัสดุอื่น คลองระบายน้ำจะกำหนดให้เป็นสี่เหลี่ยมคางหมู สมการที่ใช้ในการคำนวณปริมาณน้ำจะใช้สมการ ดังนี้

  38. R2/3S1/2A โดย Q = ปริมาณน้ำไหลผ่านคลองระบายน้ำ , ม.3/วินาที R = Manning Roughness Coefficient = 0.035 (หิน) 0.025 (ดิน) 0.016 (คอนกรีต) A = พื้นที่หน้าตัดคลองระบายน้ำ= ( B + Z ) y B = ความกว้างคลองระบายน้ำ , ม. Z = ลาดด้านข้างของคลองระบายน้ำ, (1:1.5 หรือ 1.2) y = ความลึกของน้ำในคลองระบาย R = Hydraulic Radius= A/P , ม. P = เส้นขอบเปียก (Wetted Perimeter) ของคลองระบายน้ำ = ( B + 2 Q = ) , ม. S = ลาดตามยาวของคลองระบายน้ำ

  39. หาค่า y ได้โดยการ Trail and Error สมมุมติ y และหาค่าต่าง ๆ จะได้ Q ซึ่ง ต้อง ≥ ค่าที่กำหนดไว้ นำค่าระดับน้ำด้านท้ายอาคารในคลองระบายมาเปรียบเทียบกับระดับน้ำใน Stilling Basin ซึ่งระดับน้ำในคลองระบายควรสูงกว่าเล็กน้อยเพื่อมิให้ Jump หลุดออกนอก Basin โดยทั่วไปประมาณ 0.10 เท่า ของความลึกน้ำใน Basin มิเช่นนั้น อาจต้องปรับระดับพื้นใหม่ อย่างไรก็ตามเพื่อให้มีน้ำขังใน Basin จะกำหนดให้พื้น Basin ต่ำกว่าพื้นคลองที่จุดเริ่มต้น ประมาณ 0.50-1.00 ม. การตรวจสอบความเร็วของน้ำในคลองระบายกรณี V > 1.00ม./วินาที ต้องพิจารณาป้องกันการกันเซาะที่เกิดขึ้น และตรวจสอบค่า n ที่ใช้ว่าถูกต้อง กับวัสดุที่ใช้ป้องกันการกัดเซาะหรือไม่ ถ้าไม่สอดคล้องกันต้องเปลี่ยนค่า n และ คำนวณใหม่

  40. รูปแสดงรูปตัดคลองระบายน้ำรูปแสดงรูปตัดคลองระบายน้ำ

  41. รูปแสดงการกำหนดท้องคลองระบายน้ำที่จุดเริ่มต้นรูปแสดงการกำหนดท้องคลองระบายน้ำที่จุดเริ่มต้น

  42. 17. คำนวณหาความสัมพันธ์ระหว่าง Q-H Curve หาความสัมพันธ์ระหว่างปริมาณน้ำที่ไหลผ่าน Stilling Basin และคลองระบายน้ำ ให้มีความสัมพันธ์กับระดับน้ำ ที่เกิดขึ้นทั้งใน Stilling Basin และคลองระบายน้ำที่ Q ต่างๆ

  43. 18. ระยะพ้นน้ำ ( Freeboard ) การกำหนดค่า Freeboard ของคลองระบายน้ำ ไม่ควรมีค่าน้อยกว่า 0.50 ม. หรือใช้สูตรดังนี้ F = 0.20 + 0.20 Y เมื่อ Y = ความลึกของน้ำในคลองระบาย

  44. 19. การคำนวณหินทิ้งหรือหินเรียงในคลองระบายน้ำ ท้าย Stilling Basin ความเร็วน้ำสูง ป้องกันการกัดเซาะในคลองระบายน้ำ จึงกำหนดช่วงTranition นี้เป็นหินทิ้งหรือหินเรียง โดยมีหลักพิจารณาดังนี้ 19.1 ความยาว >6 เท่าของความลึกน้ำในคลองระบายน้ำ 19.2 ขนาดหินทิ้งหรือหินเรียง ดูได้จากรูปความสัมพันธ์ขนาดหินกับ ความเร็วน้ำ 19.3 ความหนา  1.5 เท่าของขนาดหิน

More Related