1 / 24

แนวทางการดำเนินงานฝากครรภ์คุณภาพ ปี 2557

แนวทางการดำเนินงานฝากครรภ์คุณภาพ ปี 2557. “ฝากท้องไว คลอดปลอดภัย เด็กเติบโต พัฒนาการสมวัย”. สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดบุรีรัมย์. สภาพปัญหาระบบบริการสตรีและเด็ก 0-5 ปี. งานฝากครรภ์ - ฝากครรภ์ช้า และระบบบริการที่มีคุณภาพได้มาตรฐาน งานห้องคลอด - สมรรถนะในการดูแลทารกแรกเกิดของแพทย์ พยาบาล

sorcha
Télécharger la présentation

แนวทางการดำเนินงานฝากครรภ์คุณภาพ ปี 2557

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. แนวทางการดำเนินงานฝากครรภ์คุณภาพ ปี 2557 “ฝากท้องไว คลอดปลอดภัย เด็กเติบโต พัฒนาการสมวัย” สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดบุรีรัมย์

  2. สภาพปัญหาระบบบริการสตรีและเด็ก 0-5 ปี งานฝากครรภ์- ฝากครรภ์ช้า และระบบบริการที่มีคุณภาพได้มาตรฐาน งานห้องคลอด- สมรรถนะในการดูแลทารกแรกเกิดของแพทย์ พยาบาล - ระบบการส่งต่อเพื่อการดูแลมารดาที่คลอดก่อนกำหนดยังไม่ชัดเจน ทำให้การดูแลไม่เหมาะสม - มีการคลอดก่อนกำหนดในโรงพยาบาลชุมชนที่มีศักยภาพไม่เพียงพอในการดูแลทารกแรกเกิดน้ำหนักน้อย งานคลินิกเด็กดีเด็กที่พัฒนาการล่าช้า ได้รับการแก้ไข ไม่เป็นระบบ และบุคลากรที่รับผิดชอบงานพัฒนาการเด็กในบางแห่งยังไม่ผ่านการอบรมนักส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย

  3. แผนงานรณรงค์หญิงตั้งครรภ์ มาฝากครรภ์อายุครรภ์ ก่อน 12 สัปดาห์

  4. แผนงานรณรงค์หญิงตั้งครรภ์ มาฝากครรภ์อายุครรภ์ ก่อน 12 สัปดาห์

  5. แนวทางการดำเนินงานรณรงค์ ANC ก่อน 12 Wks (นสค.และ อสม.) ดูแลประชาชน 1:15 ครัวเรือน 1 ทำทะเบียนเฝ้าระวัง ANC และTeen Age Pregnancy ... อสม นสค. ... 1:25 20 1 15 1:12 2 แพทย์ 1 1 ทำทะเบียนเฝ้าระวัง ANC และTeen Age Pregnancy 1:12 ... 1:25 ... ... 1 15 20 2 1:12 1 1 ทำทะเบียนเฝ้าระวัง ANC และTeen Age Pregnancy 1 ... 1:25 ... 15 20 2 5 1

  6. กระบวนการพัฒนา : 1. งานฝากครรภ์คุณภาพ ในสถานบริการ -คนเสี่ยง ดูแลรายบุคคล -นอนพักรอคลอดใน รพ. -พบสูติแพทย์ -ฝากท้องทุกที่ ฟรีทุกสิทธิ์ -รพสต. อสม. ชุมชน ค้นหา หญิงตั้งครรภ์ ก่อน 12 Wks • ตรวจประเมิน • คนปกติ ดูแลตามมาตรฐาน ANC คุณภาพ

  7. กรอบ ANC คุณภาพ ไม่มี มี ให้การดูแลพิเศษ ประเมินเพิ่มเติมหรือตรวจติดตามพิเศษ ประเมินสถานภาพโดยใช้ Classifying form ผู้ตั้งครรภ์ ทุกคนที่มา ฝากครรภ์ครั้งแรก มีความเสี่ยงหรือไม่ ใช้ Basic component of ANC programme

  8. ด้านการจัดขั้นตอนการให้บริการฝากครรภ์ ดังนี้ ขั้นตอนการให้บริการฝากครรภ์ครั้งที่ 1อายุครรภ์น้อยกว่าหรือเท่ากัน 12 สัปดาห์ (8) ส่งต่อเพื่อการรักษา ตรวจครรภ์ครั้งที่ 1 (1) ลงทะเบียน ซักประวัติ (2) ประเมินสุขภาพร่างกายทั่วไป/ตรวจครรภ์ (4) ให้การปรึกษาก่อนตรวจเลือด (5) ตรวจทางห้องปฏิบัติการ (9) สร้างเสริมภูมิคุ้มกัน และการให้ยา (6) ให้การปรึกษาหลังตรวจเลือด (7) Classifying form (10) ให้คำแนะนำรายบุคคล นัดหมายครั้งต่อไป (3) ให้สุขศึกษาครั้งที่ 1 (รายกลุ่ม) • หมายเหตุ • หญิงตั้งครรภ์ทุกราย ต้องมีสมุดบันทึกสุขภาพแม่และเด็กประจำ ตั้งแต่ครั้งแรกที่มาฝากครรภ์ และนำมารับบริการทุกครั้งตลอดจนหลังคลอด • กรณีที่ผู้รับบริการมาฝากครรภ์ครั้งแรก เมื่ออายุครรภ์มากกว่า 3 เดือน ให้พิจารณาขั้นตอนและรายละเอียดกิจกรรมของการตรวจครรภ์ครั้งที่ 1 และ 2 ร่วมกัน

  9. ขั้นตอนการให้บริการฝากครรภ์ครั้งที่ 2 (เมื่ออายุครรภ์ 18 สัปดาห์ +/- 2) (8) ให้คำแนะนำรายบุคคล นัดหมายครั้งต่อไป (6) ส่งต่อเพื่อการรักษา ตรวจครรภ์ครั้งที่ 2 (1) ลงทะเบียน ซักประวัติ (2) ตรวจทางห้องปฏิบัติการ (3) ประเมินสุขภาพร่างกายทั่วไป (4) ให้สุขศึกษาครั้งที่ 2 (รายกลุ่ม) (7) สร้างเสริมภูมิคุ้มกัน และการให้ยา หมายเหตุ กรณีที่ผู้รับบริการมาฝากครรภ์ครั้งแรกเมื่ออายุครรภ์มากกว่า 20 สัปดาห์ ให้พิจารณาขั้นตอนและรายละเอียดกิจกรรมของการตรวจครรภ์ ครั้งที่ 1-2 ร่วมกัน (5) ปัจจัยเสี่ยง

  10. ขั้นตอนการให้บริการฝากครรภ์ครั้งที่ 3 (เมื่ออายุครรภ์ 26 สัปดาห์ +/- 2) (7) ส่งต่อเพื่อการรักษา ตรวจครรภ์ครั้งที่ 3 (2) ประเมินความเครียดหญิงตั้งครรภ์ครั้งที่ 1 (3) การตรวจทางห้องปฏิบัติการ (4) ตรวจร่างกายทั่วไป/ตรวจครรภ์ (5) ให้สุขศึกษาครั้งที่ 3 (8) การให้ยา (9) ให้คำแนะนำรายบุคคล และนัดหมายครั้งต่อไป (1) ลงทะเบียน ซักประวัติ หมายเหตุ กรณีที่ผู้รับบริการมาฝากครรภ์ครั้งแรกเมื่ออายุครรภ์มากกว่า 6 เดือน ให้พิจารณาขั้นตอนและรายละเอียดกิจกรรมตรวจครรภ์ครั้งที่ 1-3 ร่วมกัน (6) ปัจจัยเสี่ยง มี ไม่มี

  11. ขั้นตอนการให้บริการฝากครรภ์ครั้งที่ 4 (เมื่ออายุครรภ์ 32 สัปดาห์ +/- 2 ) ตรวจครรภ์ครั้งที่ 4 (1) ลงทะเบียน ซักประวัติ (2) ประเมินความเครียดหญิงตั้งครรภ์ครั้งที่ 2 (3) การตรวจทางห้องปฏิบัติการ (5) ให้สุขศึกษาครั้งที่ 4 (รายกลุ่ม) (8) การให้ยา (9) ให้คำแนะนำรายบุคคล และนัดหมายครั้งต่อไป (7) ส่งต่อเพื่อการรักษา (4) ประเมินสุขภาพร่างกายทั่วไป/ตรวจครรภ์ หมายเหตุ กรณีที่ผู้รับบริการมาฝากครรภ์ครั้งแรกเมื่ออายุครรภ์มากกว่า 7 เดือน ให้พิจารณาขั้นตอนและรายละเอียดกิจกรรมตรวจครรภ์ครั้งที่ 1-5 ร่วมกัน (6) ปัจจัยเสี่ยง มี ไม่มี

  12. ขั้นตอนการให้บริการฝากครรภ์ครั้งที่ 5 (เมื่ออายุครรภ์ 38 สัปดาห์ +/-2 ) (6) ส่งต่อเพื่อการรักษา ทางกาย.....พบแพทย์/ทันตแพทย์ ทางจิตใจ...พบผู้ให้การปรึกษา/จิตแพทย์ ทางสังคม...พบนักสังคมสงเคราะห์ ตรวจครรภ์ครั้งที่ 5 (1) ลงทะเบียน ซักประวัติ (2) ตรวจทางห้องปฏิบัติการ (3) ประเมินสุขภาพร่างกายทั่วไป/ตรวจครรภ์ (7) การให้ยา (8) ให้คำแนะนำรายบุคคล (4) ให้สุขศึกษาครั้งที่ 5 (ควรให้เป็นรายบุคคลถ้าทำได้) (5) ปัจจัยเสี่ยง (9) นัดมาคลอด

  13. กระบวนการพัฒนางานห้องคลอดคุณภาพกระบวนการพัฒนางานห้องคลอดคุณภาพ ห้องคลอดที่ให้บริการตามมาตรฐาน มีความพร้อมในเรื่องสถานที่ บุคลากร อุปกรณ์ เครื่องมือ ยา สารน้ำและเวชภัณฑ์ต่างๆ สำหรับให้บริการ ดังนี้ 1.การบริการการคลอดตามมาตรฐาน 2.การบริการทารกแรกเกิดในห้องคลอดตามมาตรฐาน

  14. กระบวนการพัฒนางานคลินิกเด็กดีคุณภาพกระบวนการพัฒนางานคลินิกเด็กดีคุณภาพ

  15. กระบวนการพัฒนางานคลินิกเด็กดีคุณภาพกระบวนการพัฒนางานคลินิกเด็กดีคุณภาพ 1. Early detection: สมุดสีชมพู ใช้ทั้ง จนท.และพ่อแม่ 2. เด็ก 9, 18, 30, 42 เดือน 80% คัดกรองพัฒนาการ 3. พบพัฒนาการล่าช้าให้แก้ไขรายบุคคลตามสาเหตุ โดยนัก ส่งเสริมพัฒนาการเด็กที่ได้รับการอบรม 4. ส่งเสริมนมแม่อย่างเดียว 6 เดือน เสริมอาหารตามวัยจน ลูกอายุ 2 ปี 5. ติดตามเด็กพร่องธัยรอยด์กินฮอร์โมน,อนามัยช่องปาก,วัคซีน, 6. พัฒนาพยาบาลนักส่งเสริมพัฒนาการประจำ CUP และ ช่วยเหลือ รพ.สต. 7. WCC&ศูนย์เด็กเล็กคุณภาพ

  16. ผังการทำงานส่งเสริมพัฒนาการเด็กวัยแรกเกิด - 5 ปี หน่วยงาน/ผู้ให้บริการ หน่วยบริการสาธารณสุข ทั่วประเทศ เครื่องมือการดำเนินงาน แบบคัดกรองพัฒนาการอนามัย 55 (กรมอนามัย) คัดกรองพัฒนาการเด็ก วัยแรกเกิด – 5 ปี สมวัย • สมุดบันทึกสุขภาพแม่และเด็ก • วิธีส่งเสริมพัฒนาการเด็ก (อนามัย 55) • 2ก 2ล (กรมอนามัยและกรมสุขภาพจิต) พยาบาลใน รพ. ประเมินและแก้ไขพัฒนาการ ระยะเวลา 2 เดือน และ/หรือวินิจฉัยเพิ่มเติม/อื่นๆ ประเมินและส่งเสริมพัฒนาการล่าช้า ระยะเวลา 1 เดือน วินิจฉัย ประเมิน และแก้ไขพัฒนาการ และ/หรือให้การรักษาเพิ่มเติม ตรวจวินิจฉัยซ้ำ และให้การรักษาเพิ่มเติม (เฉพาะทาง) ส่งเสริม พัฒนาการสมวัย ส่งเสริม พัฒนาการสมวัย ส่งกลับ รพ.สต. ดูแลต่อเนื่อง พัฒนาการสมวัยหรือไม่ ดีขึ้นหรือไม่ พัฒนาการดีขึ้นหรือไม่ พัฒนาการดีขึ้นหรือไม่ ประเมินพัฒนาการซ้ำ ไม่ดีขึ้น • คู่มือประเมินและป้องกันพัฒนาการล่าช้าเด็กแรกเกิด – 5 ปี สำหรับบุคลากรสาธารณสุข (TDSI : 70 ข้อ) กรมสุขภาพจิต • คู่มือกระตุ้นพัฒนาการเด็กแรกเกิด – 5 ปี สำหรับผู้ปกครอง • (TDSI : 70 ข้อ) กรมสุขภาพจิต • พยาบาลใน รพ.. • ผู้ปกครอง แบบประเมินและป้องกันพัฒนาการล่าช้าเด็กแรกเกิด – 5 ปี สำหรับบุคลากรสาธารณสุข (TDSI : 70 ข้อ) กรมสุขภาพจิต พยาบาลใน รพ. ดีขึ้น • สมุดบันทึกสุขภาพแม่และเด็ก • วิธีส่งเสริมพัฒนาการเด็ก (อนามัย 55) • 2ก 2ล (กรมอนามัยและกรมสุขภาพจิต) พยาบาลใน รพ. ไม่ดีขึ้น • หน่วยบริการสาธารณสุข • พยาบาลใน รพช. • กุมารแพทย์ (ถ้ามี) คู่มือประเมินและแก้ไขพัฒนาการเด็กแรกเกิด – 5 ปี สำหรับบุคลากรสาธารณสุข (TDSI : 70 ข้อ) กรมสุขภาพจิต ดีขึ้น พยาบาลใน รพ.สต ไม่ดีขึ้น • ตรวจวินิจฉัย/แบบประเมินและแก้ไขปัญหาเพิ่มเติมตามปัญหาที่ส่งต่อ • คู่มือประเมินและแก้ไขพัฒนาการเด็กแรกเกิด – 5 ปี สำหรับบุคลากรสาธารณสุข (TDSI : 70 ข้อ) กรมสุขภาพจิต • หน่วยบริการสาธารณสุข (รพศ./รพท.ทั่วประเทศ) • กุมารแพทย์ • จิตแพทย์เด็กและวัยรุ่น (ถ้ามี) • ทีมสหวิชาชีพที่เกี่ยวข้อง (ถ้ามี) ดีขึ้น • หน่วยบริการสาธารณสุข (รพจ.สังกัดกรมสุขภาพจิต) • จิตแพทย์เด็กและวัยรุ่น • กุมารแพทย์ด้านพัฒนาการและพฤติกรรม • ทีมสหวิชาชีพที่เกี่ยวข้อง (ถ้ามี) • แบบประเมินและแก้ไขปัญหาแต่ละวิชาชีพ • CPG รายโรค • คู่มือประเมินและแก้ไขพัฒนาการเด็กแรกเกิด – 5 ปี สำหรับบุคลากรสาธารณสุข (TDSI : 70 ข้อ) กรมสุขภาพจิต ไม่ดีขึ้น

  17. เอกสารอ้างอิง

  18. (QOF)กลุ่มหญิงตั้งครรภ์ A : ANC

  19. (QOF)กลุ่มหญิงตั้งครรภ์ A : ANC ปัญหาที่พบบ่อย ไม่เก็บสมุดสีชมพู มาบันทึกการฝากครรภ์จากสถานบริการอื่น ก่อนมาฝากครรภ์ที่หน่วยบริการนี้มีการฝากครรภ์ที่อื่นมาแล้ว แต่อาจไม่มีสมุดสีชมพู และไม่ได้ซักถาม ทำให้เข้าใจว่าเป็นการฝากครรภ์ครั้งแรก คลอดแล้วไม่มีการเปลี่ยนสถานะ ทำให้มีอายุครรภ์เกิน 40 สัปดาห์ เยี่ยมหลังคลอดครบแล้ว แต่ไม่ได้ลงวันที่บังคับส่งออก

  20. ตัวอย่างการบันทึกข้อมูลตัวอย่างการบันทึกข้อมูล

  21. ตรวจสอบการฝากครรภ์คนยังไม่คลอดอายุครรภ์ไม่เกิน 40 จัดเรียงอายุครรภ์จากน้อยไปมาก 1 2 สำรวจ/สอบถามว่ามีการฝากครรภ์ที่อื่นหรือไม่ (สมุดสีชมพู) 3

  22. 1 2 3 ครั้งที่ จะถูกคำนวณให้อัตโนมัติจาก วันที่ให้บริการ ลบ LMP 4 5

  23. ตรวจสอบการฝากครรภ์คนยังไม่คลอดอายุครรภ์เกิน 40 1 จัดเรียงสถานนะ 2 สำรวจว่ามีการคลอดหรือยัง 3 หากคลอดแล้วเปลี่ยนสถานะเป็น คลอด และลงประวัติการฝากครรภ์ การคลอด การเยี่ยมหลังคลอดให้ครบถ้วน

  24. สวัสดีครับ

More Related