html5-img
1 / 30

2 ความคืบหน้าตัวชี้วัดกระทรวงสาธารณสุขปี 2557

2 ความคืบหน้าตัวชี้วัดกระทรวงสาธารณสุขปี 2557. 1. วิสัยทัศน์และเป้าหมายระยะ 10 ปี คงเดิม 2. การนำเสนอตัวชี้วัด กสธ ปี 57 ประกอบด้วย    2.1 ตัวชี้วัดเชิงผลลัพธ์   11 ตัว (กลุ่มวัย 10 ตัว+ ยาเสพติด 1 ตัว)    2.2 ตัวชี้วัดระดับเขตสุขภาพ 2.2.1 มิติประสิทธิผล 13 ตัว

tavon
Télécharger la présentation

2 ความคืบหน้าตัวชี้วัดกระทรวงสาธารณสุขปี 2557

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. 2 ความคืบหน้าตัวชี้วัดกระทรวงสาธารณสุขปี 2557 1. วิสัยทัศน์และเป้าหมายระยะ 10 ปี คงเดิม 2. การนำเสนอตัวชี้วัด กสธปี 57 ประกอบด้วย    2.1 ตัวชี้วัดเชิงผลลัพธ์  11 ตัว (กลุ่มวัย 10 ตัว+ยาเสพติด1 ตัว)    2.2 ตัวชี้วัดระดับเขตสุขภาพ 2.2.1 มิติประสิทธิผล 13 ตัว 2.2.2 มิติประสิทธิภาพ 8 ตัว 2.2.3 มิติคุณภาพ 12 ตัว 2.2.4 ตัวชี้วัดตามบริบทหรือสภาพปัญหาของเขตสุขภาพ คัดเลือก 3 ตัว

  2. ตัวชี้วัดเชิงผลลัพธ์  11 ตัว เด็กปฐมวัย (0-5ปี) และสตรี 1. อัตราส่วนมารดาตาย (ไม่เกิน 15 ต่อการเกิดมีชีพแสนคน) 2.ร้อยละของเด็กที่มีพัฒนาการสมวัย (ไม่น้อยกว่า 85) เด็กวัยเรียน (5-14 ปี) 3. ร้อยละของเด็กนักเรียนมีภาวะอ้วน (ไม่เกิน 15) 4.เด็กไทยมีความฉลาดทางสติปัญญาเฉลี่ย (ไม่น้อยกว่า 100 คะแนน) เด็กวัยรุ่น/นักศึกษา (15-21 ปี) 5. อัตราการคลอดในมารดาอายุ 15-19 ปี (ไม่เกิน 50 ต่อประชากรอายุ 15-19 ปีพันคน) 6.  ความชุกของผู้บริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ในปชก.อายุ 15 - 19 ปี (ไม่เกิน 13)

  3. ตัวชี้วัดเชิงผลลัพธ์  11 ตัว วัยทำงาน 7. อัตราตายจากอุบัติเหตุทางถนน (ไม่เกิน 13 ต่อปชก.แสนคน) 8. อัตราตายจากโรคหลอดเลือดหัวใจ (ไม่เกิน 20 ต่อประชากรแสนคน) ผู้สูงอายุและผู้พิการ 9. ร้อยละของผู้สูงอายุในช่วงอายุ 60 – 70 ปีที่เป็นโรคหลอดเลือดสมอง (ไม่เกิน 14.54) 10. ผู้พิการทางการเคลื่อนไหวได้รับบริการครบถ้วน 100%ภายใน 3-5ปี บริการเฉพาะ :11. ร้อยละผู้เสพยาเสพติดที่ผ่านการบำบัดที่ได้รับการติดตาม ไม่กลับไปเสพซ้ำ (80)

  4. ตัวชี้วัดระดับเขตสุขภาพ มิติประสิทธิผล 13 ตัว 1.  ร้อยละของบริการ ANC คุณภาพ(ไม่น้อยกว่าร้อยละ 70) 2.  ร้อยละของห้องคลอดคุณภาพ (ไม่น้อยกว่าร้อยละ 70) 3. ร้อยละของ WCC คุณภาพ (ไม่น้อยกว่าร้อยละ 70) 4. ร้อยละศูนย์เด็กเล็กคุณภาพระดับดีและดีมาก (ไม่น้อยกว่าร้อยละ 70) 5.  ร้อยละของศูนย์ให้คำปรึกษาคุณภาพ (Psychosocial Clinic) และเชื่อมโยงกับระบบช่วยเหลือ 6.  ร้อยละของอำเภอที่มี District Health System (DHS) ที่เชื่อมโยงระบบบริการปฐมภูมิกับชุมชนและท้องถิ่นอย่างมีคุณภาพ (ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 50) 7.  ร้อยละของอำเภอที่มีทีม DMAT, MCATT, SRRT คุณภาพ (เท่ากับ 80)

  5. ตัวชี้วัดระดับเขตสุขภาพ มิติประสิทธิผล 13 ตัว 8.ร้อยละของ ER, EMS คุณภาพ (ไม่น้อยกว่า 70) 9. ร้อยละของ อสม. ที่ได้รับการพัฒนาศักยภาพเป็น อสม. เชี่ยวชาญ (ไม่น้อยกว่าร้อยละ 72) 10.ร้อยละของคลินิก NCD คุณภาพ (ไม่น้อยกว่า 70) 11.การบริหารจัดการเรื่องร้องเรียนด้านการคุ้มครองผู้บริโภคด้านสุขภาพ 12.ร้อยละของผู้ป่วยนอกได้รับบริการการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือกที่ได้มาตรฐาน (เท่ากับ 15)หรือ สัดส่วนการใช้ยาแพทย์แผนไทยในระบบริการเพิ่มขึ้นร้อยละ 15 13. ร้อยละของเครือข่ายห้องปฏิบัติการด้านการแพทย์และสาธารณสุขได้รับการพัฒนาศักยภาพ/คุณภาพ/หรือรับรองคุณภาพมาตรฐาน (ร้อยละ 80 ของแผนการดำเนินงาน)

  6. มิติประสิทธิภาพ 8 ตัว ด้านการเงิน 1. การบริหารงบประมาณ 2. การลงทุนร่วมกัน 3. การบริหารเวชภัณฑ์ร่วมกัน ด้านบุคลากร 4. มีแผนกำลังคนและดำเนินการตามแผน : มีการบริหารจัดการการกระจายบุคลากรในเขต/จังหวัด การใช้ทรัพยากรบุคคลร่วมกัน มีการใช้ FTE มีการบริหารจัดการ Labor cost ที่เหมาะสมในเขต/จังหวัด

  7. มิติประสิทธิภาพ 8 ตัว ด้านบริหารจัดการ 5.  ประสิทธิภาพการบริหารการเงินสามารถควบคุมให้หน่วยบริการในพื้นที่มีปัญหาการเงินระดับ 7 ไม่เกินร้อยละ 10 6.  หน่วยบริการในพื้นที่มีต้นทุนต่อหน่วยไม่เกินเกณฑ์เฉลี่ยกลุ่มระดับบริการเดียวกัน ร้อยละ 20 7. ร้อยละของรายการจัดซื้อจัดจ้างงบลงทุนสามารถลงนามในสัญญา 8.  ร้อยละการเบิกจ่ายงบประมาณภาพรวมในปีงบประมาณ 2557 (ไม่น้อยกว่าร้อยละ 94)

  8. มิติคุณภาพและ Service Plan12 ตัว 9.ร้อยละของรพศ.ที่มีCMI ไม่น้อยกว่า 1.8 และรพท.ไม่น้อยกว่า 1.4 (เท่ากับ 80) 10. ส่งต่อผู้ป่วยนอกเขตบริการลดลง Service Plan (10 ตัว) 1. ร้อยละของ รพ. ระดับ M2- F2 สามารถให้ยาระบายลิ่มเลือดได้ (ร้อยละ 50) 2. อัตราตายผู้ป่วยบาดเจ็บที่ศีรษะลดลง 3.  ลดอัตราการเสียชีวิตในโรงพยาบาลของทารกแรกเกิดน้ำหนักต่ำกว่า 2,500 กรัม ภายใน 28 วัน 4. ร้อยละของผู้ป่วยโรคซึมเศร้าเข้าถึงบริการ (มากกว่าร้อยละ 31) Service Plan

  9. มิติคุณภาพและ Service Plan12 ตัว 5. ร้อยละของผู้ป่วยเบาหวานได้รับการคัดกรองเบาหวานเข้าจอประสาทตา (ร้อยละ 60) 6. จำนวน CKD clinic ตั้งแต่ระดับ F1 ขึ้นไปในแต่ละเครือข่าย 7. ร้อยละของผู้ป่วยโรคเบาหวานที่ควบคุมระดับน้ำตาลได้ดี 8.ร้อยละของผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงที่ควบคุมความดันโลหิตได้ดี 9.ร้อยละของผู้ป่วย Ischemic Stroke ได้รับยาละลายลิ่มเลือดเพิ่มขึ้น(ร้อยละ 3) 10. ลดอัตราป่วยเด็กอายุ 3 ปี มีฟันน้ำนมผุ (ร้อยละ 57)

  10. 3 การจัดทำแผนสุขภาพเขต แนวคิดแผนสุขภาพ • กำหนดแผนงาน 3 ระดับ: ระดับเขต,ระดับจังหวัด,ระดับอำเภอ • สาระของแผนงาน 3 ด้าน : ด้านส่งเสริมป้องกันด้านบริการด้านบริหาร จำแนกเป็น 24 แผนงาน • จัดสรรงบประมาณจากทุกแหล่ง สนับสนุนแผนต่างๆ • พัฒนาการติดตามกำกับ และประเมินผล

  11. โครงสร้างของแผนสุขภาพเขตโครงสร้างของแผนสุขภาพเขต บริการ สส ปก บริหาร สุขภาพสตรี และทารก + BS การเงินการคลัง พัฒนาบริการ 10 สาขา สุขภาพเด็ก 0-2 ปี + BS ปรับยุบเหลือ 5 กลุ่ม การบริหารกำลังคน-จริยธรรม พัฒนาระบบส่งต่อ สุขภาพเด็ก 3-5 ปี + BS ระบบข้อมูล คุณภาพบริการ สุขภาพเด็กนักเรียน + BS การบริหารเวชภัณฑ์ การแพทย์ฉุกเฉิน/อุบัติภัย สุขภาพวัยรุ่น + BS พัฒนาประสิทธิภาพ ซื้อ/จ้าง สาธารณสุขชายแดน ป้องกันควบคุม NCD (DM&HT) ยาเสพติด ดูแลเฝ้าระวังสตรีไทยจากมะเร็ง โครงการพระราชดำริ ส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุและผู้พิการ อาหารปลอดภัย แผนสุขภาพเขต การควบคุมโรคติดต่อ (24 แผน) สิ่งแวดล้อมและระบบที่เอื้อต่อสุขภาพ การมีส่วนร่วมภาคประชาชน

  12. องค์ประกอบของแผนงาน PP กลุ่มวัย

  13. ความสำคัญของแผนสุขภาพเขตความสำคัญของแผนสุขภาพเขต  เห็นทิศทางการแก้ปัญหา  เห็นแนวทางการใช้ทรัพยากร  เห็นแนวทางการกำกับติดตามผล แผนจะต้องสื่อถึงบทบาทในการพัฒนาระบบบริการสุขภาพเขต

  14. ลักษณะปัญหาทันตสุขภาพลักษณะปัญหาทันตสุขภาพ • แตกต่างตามวัย และเปลี่ยนแปลงตามสังคมวัฒนธรรม • การแก้ปัญหาเป็นการดูแลผสมผสาน ทั้งด้านส่งเสริม ป้องกัน รักษาและฟื้นฟู ทั้งในระดับบุคคล ครอบครัวและขุมชน • การดำเนินงานส่งเสริมสุขภาพช่องปาก ยังขาดความจริงจัง แยกส่วนจากงานคลินิก ยังไม่ครอบคลุมทุกกลุ่มวัย ยังขาดแคลนทันตาภิบาล ปัญหาการบริหารจัดการ district oral health team • การเข้าถึงบริการค่อนข้างต่ำในกลุ่มปฐมวัย กลุ่มเศรษฐานะต่ำและคนยากจน

  15. รายละเอียดแผนสุขภาพเขต/จังหวัดรายละเอียดแผนสุขภาพเขต/จังหวัด • ภาพรวมของแผน (สภาพปัญหาในพื้นที่, งบรวมทุกหน่วย/ภาคส่วน, งบแยกรายแผน/งบบริหาร) • 2. แผนแก้ไขปัญหา 24แผน แต่ละแผนประกอบด้วย • 2.1 ข้อมูล Baseline • 2.2 กลยุทธ์ / มาตรการสำคัญ (สอดรับแผนกระทรวง) • 2.3 งบประมาณที่กระจายลงแผนนั้น แยกตามหน่วยงาน • 2.4 ผลลัพธ์ตาม KPI • ปล. 1) แผนแก้ไขปัญหา ให้จังหวัดจัดทำ ๑ ชุด ใช้ร่วมกัน • 2) แผนปฏิบัติงานของหน่วยงานให้จัดทำแยกตามหน่วยงาน

  16. กระบวนการจัดทำแผนสุขภาพระดับเขตกระบวนการจัดทำแผนสุขภาพระดับเขต กำหนดกรอบแผนสุขภาพเป็น 24 แผนและมอบหมาย focal point • ทบทวนแผนเดิมที่จังหวัดและศูนย์เขตจัดทำไว้ • ศึกษาแนวทางและมาตรการ ที่เป็นนโยบายสำคัญของ สธ.ปี 2556 • และเพิ่มเติมมาตรการแก้ไขปัญหาสุขภาพในพื้นที่ WS 1 นำเสนอร่างแผนพัฒนาสุขภาพเขตที่ได้พิจารณามาตรการให้เหมาะสม WS 2 มอบแต่ละจังหวัดจัดทำแผนสุขภาพจังหวัดโดยระบุ จังหวัด focal point รวบรวมแผนที่เกี่ยวข้องจัดทำแผนเขต • Baseline data และ สภาพปัญหา • มาตรการสำคัญ • งบประมาณ ประชุมเชิงปฏิบัติการครั้งที่ 3 สรุปนำสนอแผนสุขภาพเขต จาก 7จังหวัด และศูนย์วิชาการเขต เป็นภาพรวมเครือข่ายบริการ WS 3

  17. ตัวอย่างแผนงานการดูแลสุขภาพเด็กอายุ 3-5 ปี เครือข่ายบริการที่ 5 1. พัฒนาการเด็ก - พัฒนาการ สมวัย 301,157 คน (ร้อยละ 98.09 ทุกจังหวัดผ่านเกณฑ์) - พัฒนาการไม่สมวัย จำนวน 5,853 คน (ร้อยละ 1.91) ตรวจพัฒนาการยังไม่ครอบคลุม ประสิทธิภาพการตรวจพัฒนาการยังต่ำ เด็กที่ตรวจพบว่าพัฒนาการล่าช้าได้รับการกระตุ้นและประเมินซ้ำไม่ต่อเนื่อง 2. การเจริญเติบโต • - ส่วนสูงระดับดี 31,425 คน (ร้อยละ 84.75) • รูปร่างสมส่วน 24,562 คน (ร้อยละ 66.24) • เด็กผอม 3,568 คน (ร้อยละ 9.62) • เด็กอ้วน 2,468 คน (ร้อยละ 6.66) • เด็กเตี้ย 2,817 คน (ร้อยละ 7.60) การประเมินภาวะโภชนาการไม่ครบทุกคน

  18. 3. วัคซีน • มีปัญหาเรื่องระบบข้อมูลความครอบคลุม • กลุ่มเป้าหมายที่มีความลำบากในการเข้าถึงบริการ 4. สุขภาพช่องปาก • - ได้รับการตรวจช่องปาก 60,597 คน (ร้อยละ 45.89) • ได้รับการฝึกทักษะการแปรงฟัน 65,346 คน (ร้อยละ 49.48) • ได้รับการทาฟลูออไรด์วาร์นิช 36,411 คน (ร้อยละ 27.57) ความครอบคลุมบริการ ทันตกรรมป้องกัน 5. ศูนย์เด็กเล็กคุณภาพ จังหวัดที่ผ่านเกณฑ์ ร้อยละ 70 ได้แก่ ราชบุรี (ร้อยละ 91.75) ประจวบฯ (ร้อยละ 84.2) การจัดสภาพแวดล้อม ความสะอาดปลอดภัย การจัดอาหารตามหลักโภชนาการ

  19. บทบาทของจังหวัดที่ควรปรับเปลี่ยนบทบาทของจังหวัดที่ควรปรับเปลี่ยน 1. มองการดูแลสุขภาพ บูรณาการกิจกรรมเป็นกลุ่มวัยแทนที่จะมองเป็นกิจกรรมแยกตามฝ่าย/หน่วยงาน 2. จังหวัดมีหน้าที่กำกับดูแลการดำเนินงาน ทั้งหน่วยงานในสังกัด ท้องถิ่น และภาคส่วนอื่นๆ 3. ตัวชี้วัดเป็นเพียงสะท้อนผลลัพท์ แต่กระบวนการเป็นตัวส่งให้เกิดผลลัพท์ ความชัดเจนของมาตรการดำเนินงานจึงเป็นสิ่งสำคัญ 4. แผนสุขภาพ แตกต่างจาก แผนยุทธศาสตร์ในอดีต

  20. กระบวนการวิเคราะห์ปัญหาสุขภาพ(บ่งชี้ปัญหา ปัจจัยสาเหตุ จำแนกกลุ่มเสี่ยง พื้นที่เสี่ยง) • ปัญหาสุขภาพช่องปากมีสาเหตุจากพฤติกรรม บริการและสิ่งแวดล้อม • ดูปัญหาจาก “ตัวแทนหรือภาพรวม”(ความชุก อุบัติการณ์) • ปัญหาสุขภาพที่เป็น”ข้อเท็จจริง”ของบุคคลหรือชุมชน (พฤติกรรมที่เป็นสาเหตุ หรือสิ่งแวดล้อมที่เอื้อ) • ปัญหา”กิจกรรมบริการ”ของกลุ่มป่วย/กลุ่มเสี่ยง (สถิติการมารับบริการ ความครอบคลุม?) • ปัญหาการดำเนินงานของหน่วยบริการ (กำลังคน งบประมาณ การจัดระบบบริการ จุดบอด?)

  21. กระบวนการวางแผน(กำหนดมาตรการ งบประมาณให้ตอบสนองต่อการแก้ปัญหา) • มาตรการที่เคยใช้มามีประสิทธิภาพพอในการจัดการกลุ่มป่วย/กลุ่มเสี่ยง ได้หรือเปล่า? • มาตรการเพียงพอ(adequate)ในการจัดการกับปัญหาหรือไม่? ต้องเสริมมาตรการหรือไม่? การปรับระบบบริการ การจัดการกับสภาพแวดล้อมให้เอื้อต่อสุขภาพ การจัดนโยบายสาธารณะเพื่อสุขภาพ personal & community empowerment • งบประมาณที่ใช้เพื่อตอบสนองต่อมาตรการตามแผนเหมาะสมดีไหม?

  22. การนำแผนสู่การปฏิบัติการนำแผนสู่การปฏิบัติ • ความเข้าใจของผู้ปฏิบัติ • ความร่วมมือของภาคส่วนต่างๆ (ท้องถิ่น ชุมชน) • การจัดการระบบและฐานข้อมูลบริการ • การกำกับและติดตามผล (ผลลัพธ์ ปัญหาที่เป็นข้อขัดข้องให้ไม่บรรลุผลและการแก้ไข)

  23. การจัดทำแผนสุขภาพอำเภอการจัดทำแผนสุขภาพอำเภอ : อำเภอมีแผนสุขภาพระดับอำเภอ 1 แผน(ครอบคลุม รพช./สสอ.) กรอบงาน P&P 3 กลุ่ม (NP / BS / AH) • กรอบ งปม.P&Pทันต= 10 บาท/ปชก • ระดับตำบลทำแผนแก้ปัญหา ในแผนอำเภอ อาจใช้งบ PP กองทุนตำบล คปสอ.เป็นกลไกบริหารแผนระดับอำเภอ

  24. ผลจากการติดตามการบริหารงาน PP พบว่า - ผู้ปฏิบัติยังยึดแผนงาน โครงการ และตัวชี้วัดของส่วนกลาง / สปสช. - ขาดการวิเคราะห์และประเมินสถานการณ์ปัญหาสุขภาพที่เกิดขึ้นจริงในพื้นที่ - ขาดข้อมูลเชิงประจักษ์ รวมถึงข้อมูลสารสนเทศเกี่ยวกับจุดแข็ง จุดอ่อน ปัจจัยเอื้อ ปัจจัยต้าน แหล่งทรัพยากร และข้อมูลของทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้อง

  25. - ขาดภาพของปัญหาที่ชัดเจน : การกำหนดเป้าประสงค์ ยุทธศาสตร์ แผนงานและการนำแผนสู่การปฏิบัติ ไม่อาจสอดคล้องกับบริบทของพื้นที่ - จึงเป็นการปฏิบัติงานตามความเคยชินหรือตามกรอบของส่วนกลางมากกว่าจะปรับแต่งกระบวนยุทธ์ คิดค้นองค์ความรู้ เทคโนโลยีใหม่ให้เหมาะสมกับสถานการณ์ปัญหาและปัจจัยรอบด้านที่เปลี่ยนไป

  26. สิ่งที่ควรเป็น และควรพัฒนาในปีถัดไป

  27. - พื้นที่ต้องมีการทบทวนงานและสะท้อนปัญหา - ทันตบุคลากรระดับอำเภอ จังหวัด เขต ร่วมกันวิเคราะห์ และกำหนดทิศทางของแผน - มาตรการระดับเขต ชัดเจนบูรณาการเป็นกลุ่มวัย - แผนกำกับ ประเมินผล- กำหนด Focal point รวบรวมและจัดทำแผนเขต

  28. แผนสุขภาพเขตที่เกี่ยวข้องทันตแผนสุขภาพเขตที่เกี่ยวข้องทันต บริการ สส ปก บริหาร สุขภาพสตรี+ BS ระบบข้อมูล พัฒนาบริการสาขาทันต สุขภาพเด็ก 0-2 ปี + BS คุณภาพบริการ สุขภาพเด็ก 3-5 ปี + BS สาธารณสุขชายแดน สุขภาพเด็กนักเรียน + BS โครงการพระราชดำริ ฟันเทียม รากเทียม สุขภาพวัยรุ่น + BS PP ทันต ในเบาหวาน คัดกรองมะเร็งช่องปาก ส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุและผู้พิการ แผนสุขภาพเขต สิ่งแวดล้อมและระบบที่เอื้อต่อสุขภาพ การมีส่วนร่วมภาคประชาชน (24 แผน)

  29. แผนแต่ละกลุ่มวัย • กลุ่มเป้าหมายและชนิดบริการพื้นฐาน • ระบบบริหารจัดการให้เข้าถึง • ระบบข้อมูล • ระบบติดตามประเมินผล • งบประมาณที่ใช้ บริการพื้นฐาน จัดให้เข้าถึง • ระบุกลุ่มเป้าหมายสำคัญ • ระบุปัจจัยเสี่ยงสำคัญและพื้นที่เสี่ยง • เครือข่ายร่วมแก้ปัญหา • มาตรการลดปัจจัยเสี่ยง • ระบบบริหารจัดการให้เข้าถึงกลุ่มเสี่ยง • ระบบข้อมูล • ระบบติดตามประเมินผล • งบประมาณที่ใช้ การแก้ปัญหาสุขภาพช่องปาก

More Related