1 / 52

ทพ. สุธา เจียรมณีโชติชัย ผู้อำนวยการสำนัก ทันต สาธารณสุข 8 ตุลาคม2556

ทิศทางการดำเนินงาน ทันต สาธารณสุข ปี 2557. ทพ. สุธา เจียรมณีโชติชัย ผู้อำนวยการสำนัก ทันต สาธารณสุข 8 ตุลาคม2556. ประเด็นการบรรยาย. บริบทที่เปลี่ยนไป งานทันตสาธารณสุขปี 2557 : สถานการณ์และกิจกรรมสำคัญ

tegan
Télécharger la présentation

ทพ. สุธา เจียรมณีโชติชัย ผู้อำนวยการสำนัก ทันต สาธารณสุข 8 ตุลาคม2556

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. ทิศทางการดำเนินงานทันตสาธารณสุข ปี 2557 ทพ.สุธา เจียรมณีโชติชัย ผู้อำนวยการสำนักทันตสาธารณสุข 8 ตุลาคม2556

  2. ประเด็นการบรรยาย • บริบทที่เปลี่ยนไป • งานทันตสาธารณสุขปี 2557 : สถานการณ์และกิจกรรมสำคัญ • ทิศทางการดำเนินงานทันตสาธารณสุข ปี 2557-2559 : ภารกิจ ตัวชี้วัดงานทันตสาธารณสุข การพัฒนาเทคโนโลยีและการสนับสนุน • ตำบลฟันดี สุขภาพดี ชีวีมีสุข

  3. 1. บริบทที่เปลี่ยนไป - การทำงานของกระทรวงสาธารณสุข- ระบบสาธารณสุขประเทศไทย (4 ระบบ)- บทบาทกระทรวงสาธารณสุข (11 บทบาท+เขตสุขภาพ)- โครงสร้าง สป. (3 cluster)- KPI กระทรวงสาธารณสุข (3 ยุทธศาสตร์)- แผนสุขภาพเขต 25 แผน

  4. ข้อเสนอการเปลี่ยนแปลงการทำงานกระทรวงสาธารณสุขข้อเสนอการเปลี่ยนแปลงการทำงานกระทรวงสาธารณสุข คณะกรรมการนโยบายระบบสาธารณสุข(PHSPB) กระทรวงสาธารณสุข สำนักงานรัฐมนตรี สำนักงานบริหารยุทธศาสตร์/ยกระดับ สนย. สำนักงานปลัด กระทรวงสาธารณสุข กลุ่มภารกิจด้านพัฒนาการแพทย์ กลุ่มภารกิจด้านพัฒนาการสาธารณสุข กลุ่มภารกิจด้าน สนับสนุนงานบริการสุขภาพ คณะกรรมการ เขตสุขภาพ(AHB) • หน่วยงานในกำกับ : • สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข • สำนักงานสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ • สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ • สำนักงานคณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติ • สถาบันการแพทย์ฉุกเฉินแห่งชาติ • องค์การมหาชน : • โรงพยาบาลบ้านแพ้ว • สถาบันรับรองคุณภาพ • สถานพยาบาล • รัฐวิสาหกิจ : • องค์การเภสัชกรรม 4

  5. (4 ระบบ) การเปลี่ยนแปลงเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพกระทรวงสาธารณสุข บรรยาย โดยนพ.ณรงค์ สหเมธาพัฒน์ 11 กันยายน 2556

  6. ข้อเสนอพัฒนา(ปฏิรูป)บทบาทกระทรวงสาธารณสุขข้อเสนอพัฒนา(ปฏิรูป)บทบาทกระทรวงสาธารณสุข 1.ระบบบริการสุขภาพ 2.ระบบการสร้างเสริม สุขภาพ แพทย์ แผนไทย สบส. สุขภาพจิต อนามัย สป. กรมแพทย์ อย. วิทย์ฯ ควบคุมโรค 4. ระบบยาและการคุ้มครองผู้บริโภค 3. ระบบการควบคุมและป้องกันโรค 11 บทบาท+ เขตสุขภาพ

  7. ข้อเสนอพัฒนา(ปฏิรูป)บทบาทกระทรวงสาธารณสุขข้อเสนอพัฒนา(ปฏิรูป)บทบาทกระทรวงสาธารณสุข 1.ระบบบริการสุขภาพ 2.ระบบการสร้างเสริม สุขภาพ แพทย์ แผนไทย สบส. สุขภาพจิต อนามัย สป. กรมแพทย์ อย. วิทย์ฯ ควบคุมโรค 4. ระบบยาและการคุ้มครองผู้บริโภค 3. ระบบการควบคุมและป้องกันโรค 11 บทบาท+ เขตสุขภาพ

  8. สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุขสำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร ศูนย์ปฏิบัติการต่อต้านการทุจริต ข้อเสนอโครงสร้างแบ่งส่วนราชการสำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข กลุ่มตรวจสอบภายใน 3 CLUSTER กลุ่มภารกิจด้านสนับสนุน กลุ่มภารกิจด้านยุทธศาสตร์ กลุ่มภารกิจด้านประสานบริการ สำนักพัฒนาระบบบริการสาธารณสุข สำนักตรวจและประเมินผล สำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ (บทบาทระดับชาติ/กระทรวง/สป.) สำนักบริหารกลาง สำนักการพยาบาล • IHPP , HITAP - กลุ่มบริหารทั่วไป - กลุ่มคลังและพัสดุ - กลุ่มเสริมสร้างวินัยและระบบคุณธรรม สำนักวิชาการ สำนักพัฒนานโยบายการคลังและเศรษฐกิจสุขภาพ (CFO กลาง) สำนักสาธารณสุขฉุกเฉิน สำนักบริหารงานบุคคล สำนักนโยบายและยุทธศาสตร์กำลังคนด้านสุขภาพ สำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมพัฒนากฎหมายเพื่อสุขภาพ สำนักการคลังเขตสุขภาพ (CFO ระดับเขต) สำนักการสาธารณสุขระหว่างประเทศ สบช./วนส./แก้วกัลยา/สบพช. สำนักส่งเสริมและสนับสนุน อาหารปลอดภัย ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศฯ สำนักงานสาธารณสุขเขต 1-12 สำนักสารนิเทศ ศูนย์อำนวยการป้องกันและปราบปรามยาเสพติด สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด หน่วยงานที่ตั้งเป็นการภายใน สป. สำนักงานสาธารณสุขอำเภอ • ศูนย์ประสานการแก้ปัญหาข้อร้องเรียน • - ศูนย์สันติวิธีสาธารณสุข • - กลุ่มกระจายอำนาจ, อื่นๆ AREA HEALTH BOARD

  9. KPI กระทรวงสาธารณสุข เป้าหมาย ตัวชี้วัด ปี 2557

  10. 2. งานทันตสาธารณสุขปี 2557 - สถานการณ์ทันตสุขภาพตามตัวชี้วัดสำคัญ- มาตรการตามกลุ่มวัย

  11. 1.1แนวโน้มฟันผุในเด็ก 3 และ 5ปี (2532-2555)

  12. 1.2 ร้อยละการเกิดโรคฟันผุ ในเด็กอายุ 12 ปี (ปราศจากฟันผุ เพิ่มขึ้น เป็น ร้อยละ 47) ฟันผุระยะเริ่มต้น 19.37%

  13. 1.3 ค่าเฉลี่ยฟันผุ ถอน อุด ในเด็กอายุ 12 ปี

  14. 1.4 ร้อยละเด็กไม่ดื่มน้ำหวานและน้ำอัดลม

  15. 1.5 ร้อยละของวัยทำงานและผู้สูงอายุที่มีฟันใช้งาน 20 ซี่ขึ้นไป เป้าหมายปี 2558 ผส.ร้อยละ 60 (95.6-99.1) (46.7-69.8) การสำรวจสภาวะทันตสุขภาพแห่งชาติ สำนักทันตสาธารณสุข กรมอนามัย

  16. 1.6 ร้อยละผส.ที่สูญเสียฟันทั้งปากและความจำเป็นต้องใส่ CD (3.7-11.2) 8.2 % 7.2 % 5.3 % (1.6-4.1) 2.5 % การสำรวจสภาวะทันตสุขภาพแห่งชาติ สำนักทันตสาธารณสุข กรมอนามัย

  17. มาตรการสร้างเสริมสุขภาพช่องปากตามกลุ่มวัยมาตรการสร้างเสริมสุขภาพช่องปากตามกลุ่มวัย

  18. 2.1 เด็กเล็ก Amid I Ismail, 1998

  19. กิจกรรมสำคัญ • 1. หญิงมีครรภ์ - ตรวจ แนะนำควบคุม plaque +บริการที่จำเป็น- หญิงตั้งครรภ์ที่ได้รับบริการ ช่วยป้องกัน preterm 2. เด็ก 0-2 ปี - การตรวจช่องปาก(คำแนะนำ) - ผู้ปกครอง ได้ฝึกแปรงฟัน - เด็กเสี่ยงฟันผุได้ทา fluoride varnish (plaque, white lesion, decay) 3. เด็ก 3-5 ปี - แปรงฟันทั่วทั้งปากด้วยยาสีฟันฟลูออไรด์ ที่ศพด./รร.อนุบาล และที่บ้านทุกวัน - ควบคุมอาหารหวาน จัดผลไม้ จัดอาหารเช้า - ตรวจช่องปากแจ้งผู้ปกครอง / บริการอุดฟันอย่างง่าย

  20. 2.2เด็กวัยเรียน ลดการบริโภคอาหารหวาน สร้างทักษะการแปรงฟัน เป้าหมาย สุขนิสัย

  21. กิจกรรมสำคัญ • 1. แปรงฟันด้วยยาสีฟันผสมฟลูออไรด์ • 2. ลดการบริโภคอาหารหวาน : น้ำตาล snack & soft drink • 3. การเข้าถึงบริการสุขภาพช่องปาก - ตรวจสุขภาพช่องปาก - บริการทันตกรรมป้องกัน :การใช้ฟลูออไรด์เฉพาะที่ การเคลือบหลุมร่องฟัน บริการรักษา

  22. กิจกรรมส่งเสริมสุขภาพช่องปากและป้องกันโรคเด็กในโรงเรียนกิจกรรมส่งเสริมสุขภาพช่องปากและป้องกันโรคเด็กในโรงเรียน - งด/ลดการบริโภคขนมลูกอม และเครื่องดื่ม(น้ำอัดลม และเครื่องดื่มน้ำตาลสูง) - จัดกิจกรรมบูรณาการในหลักสูตร - จัดกิจกรรมแปรงฟันหลังอาหารกลางวันด้วยยาสีฟันผสมฟลูออไรด์ - สนับสนุนการพัฒนาบุคลากรและเครือข่ายให้มีความรู้พื้นฐานในประเด็นสุขภาพช่องปาก - สนับสนุนการจัดบริการทันตสุขภาพ

  23. โครงการหลัก • สพป.อ่อนหวาน/โรงเรียนปลอดน้ำอัดลม • เครือข่ายโรงเรียนเด็กไทยฟันดี • โครงการทันตสุขภาพ ใน กพด. • โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ • โครงการนักเรียนไทยสุขภาพดี • หลักสูตรสถานศึกษา/สุขบัญญัติ

  24. 2.3 วัยทำงานและสูงอายุ เป้าหมาย • ผสมผสานการส่งเสริม ป้องกัน รักษาและฟื้นฟูสภาพช่องปาก • บูรณาการกับการดูแลสุขภาพและโรคทางระบบ

  25. ผสมผสานการส่งเสริม ป้องกัน รักษา ฟื้นฟูสภาพช่องปาก Bureau of Dental Health

  26. 3. ทิศทางการดำเนินงานทันตสาธารณสุข - ภารกิจ - ตัวชี้วัดงานทันตสาธารณสุข - การพัฒนาเทคโนโลยีและการสนับสนุน

  27. ทิศทางการดำเนินงานทันตสาธารณสุขทิศทางการดำเนินงานทันตสาธารณสุข ปี 2557-2559 เน้นการเพิ่มศักยภาพทันตบุคลากรและภาคีเครือข่าย ด้านการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม การจัดสภาพแวดล้อม มุ่งสู่ชุมชนเข้มแข็งและการบริการคุณภาพ

  28. ภารกิจ • สร้าง /กำหนดนโยบาย /ตัวชี้วัด • ประเมินเทคโนโลยีและกำหนดมาตรฐาน • จัดหลักสูตรและพัฒนาบุคลากรและสร้างเครือข่าย • จัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้และจัดการความรู้ • จัดระบบเฝ้าระวังและติดตามประเมินผลและ • สร้างฐานข้อมูลสารสนเทศเชื่อมโยงทันตสุขภาพ • ของอาเซียน, โลก

  29. ยุทธศาสตร์ที่2 พัฒนาและจัดระบบบริการที่มีคุณภาพฯ(KPI) กระทรวงสาธารณสุข ปี 2557 ตัวชี้วัดงานทันตสาธารณสุข คุณภาพบริการ จำนวน รพ.สต.ที่ให้บริการสุขภาพช่องปาก เพิ่มขึ้นในแต่ละเขตบริการ (ทุกกลุ่มวัย)

  30. ยุทธศาสตร์ที่1 พัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัย(KPI) กระทรวงสาธารณสุข และ กรมอนามัย ปี 2557 ตัวชี้วัดงานทันตสาธารณสุข กรมอนามัย (บูรณาการ) 1. ร้อยละของเด็กที่มีพัฒนาการสมวัย (>85) - ร้อยละเด็กปฐมวัย (3 ปี) มีปัญหาฟันน้ำนมผุ(<57) 2. ร้อยละของเด็กนักเรียนมีภาวะอ้วน (<15) - ร้อยละโรงเรียนปลอดน้ำอัดลม(ควบคุมน้ำหวานและ ขนมกรุบกรอบ)(<75) - ร้อยละของเด็กประถม1 ได้รับการตรวจช่องปาก (85) และเคลือบหลุมร่องฟัน (30)

  31. 3. อัตราตายจากโรคหลอดเลือดหัวใจ (<20ต่อประชากรแสนราย) - จำนวนหน่วยบริการที่มีการตรวจคัดกรองสุขภาพช่องปากใน กลุ่มวัยทำงานร่วมกับการคัดกรองเบาหวานและความดันโลหิตสูง 4. ร้อยละของผู้สูงอายุในช่วงอายุ 60-70 ปีเป็นโรคหลอดเลือด สมอง(14.54) - จำนวนหน่วยบริการที่มีการคัดกรองสุขภาพช่องปากในกลุ่ม ผู้สูงอายุ/ผู้พิการร่วมกับการคัดกรองเบาหวานและความดัน ตัวชี้วัด(ต่อ) โครงการเฉลิมพระเกียรติ ฯ- จำนวนผู้สูงอายุและก่อนวัยผู้สูงอายุได้รับบริการใส่ฟันเทียม (35,000 ราย)

  32. ประเมินเทคโนโลยีและกำหนดมาตรฐานประเมินเทคโนโลยีและกำหนดมาตรฐาน • เทคโนโลยีส่งเสริมสุขภาพ&ป้องกันโรคตามกลุ่มวัย • มาตรฐานการดำเนินงานที่บูรณาการตาม Setting • สิ่งแวดล้อมและผลิตภัณฑ์ทันตสุขภาพ

  33. หลักสูตรพัฒนาทันตบุคลากร/ เครือข่าย • การพัฒนาวิชาการ, การศึกษาวิจัย • การพัฒนาผู้นำด้านทันตสุขภาพ (Leadership) • การพัฒนาด้านชุมชน (Community base)

  34. เวทีแลกเปลี่ยน เรียนรู้ การจัดการความรู้ • มหกรรมการประชุมวิชาการทันตสาธารณสุขแห่งชาติครั้งที่ 3“ตำบลฟันดีสุขภาพดี” • เครือข่ายฟันเทียมพระราชทานและการส่งเสริมฯ • เครือข่ายโรงเรียนเด็กไทยฟันดี • เครือข่ายลูกรักฟันดี • พัฒนาระบบ, เขตสุขภาพ

  35. สื่อสารสาธารณะ • รณรงค์ “คนไทยฟันดี สดุดีสมเด็จย่า” • 21ตุลาคม วันทันตสาธารณสุขแห่งชาติ • สื่อสารผ่านสื่อต่างๆ

  36. พัฒนาระบบสนับสนุน • การติดตามประเมินผล ตามเขตสุขภาพ • (จัดบุคลากรรับผิดชอบที่ชัดเจน) • สร้าง พัฒนาระบบข้อมูลสารสนเทศ • - บุคคล • - ชุมชน • - เฝ้าระวัง • - ทรัพยากร

  37. สรุป... ปี 2557 • พัฒนาระบบ ส่งเสริมสุขภาพ ป้องกันโรค • การรักษา/ฟื้นฟูสภาพ/คุ้มครองผู้บริโภค • พัฒนากำลังคน ภาคีเครือข่าย • พัฒนาระบบ/กลไกสนับสนุน

  38. 4. ตำบลฟันดี สุขภาพดี ชีวีมีสุข

  39. ทุนเดิมที่มีอยู่ มีการพัฒนางานส่งเสริมทันตสุขภาพในกลุ่มวัยต่างๆ - แม่และเด็ก ..ลูกรักฟันดีเริ่มที่ซี่แรก…ANC/WBC/ศพด. - วัยเรียน ..โรงเรียนต้นแบบ..เครือข่ายโรงเรียน - ผู้สูงอายุ..ฟันเทียม/ชมรมผู้สูงอายุ /บริการป้องกัน ..LTC มีนโยบาย/กฎหมาย/มาตรการที่สนับสนุนงาน - มีการจัดการปัจจัยเสี่ยง ..ฟลูออไรด์/แปรง-ยาสีฟัน/น้ำตาล - รร.ปลอดน้ำอัดลม ขนม มีการพัฒนาระบบและกลไกการทำงาน -กำลังคน..การบริหารงานทันตฯ..ข้อมูลสารสนเทศ Bureau of Dental Health

  40. ทุนเดิมที่มีอยู่ มีการพัฒนาศักยภาพในกระบวนการทำงานกับ ภาคีเครือข่าย • จังหวัดดีเด่น / CUP ดีเด่น / รพ.สต.ดีเด่น • ชมรมผู้สูงอายุด้านการส่งเสริมสุขภาพช่องปาก • อาสาสมัครดูแลผู้สูงอายุ • อสม.ด้านทันตสาธารณสุข มีการพัฒนางานทันตสุขภาพในพื้นที่ - แผนชุมชน..กองทุนสุขภาพตำบล..แผนงานสาธารณสุขของอปท. Bureau of Dental Health

  41. บูรณาการ : “ตำบลฟันดี สุขภาพดี ชีวีมีสุข” แนวคิด ☻ประชาชนทุกกลุ่มวัยดูแลสุขภาพช่องปากด้วยตนเอง ☻ ชุมชนมีศักยภาพในการดูแลและจัดการปัญหา ☻ ภาคีเครือข่ายมีส่วนร่วมสนับสนุน ☻ ประชาชนทุกกลุ่มวัยเข้าถึงบริการที่มีคุณภาพ • ชุมชนเข้มแข็ง ท้องถิ่นเป็นแกน ภาคีมีส่วนร่วม บริการทั่วถึงมีคุณภาพ Bureau of Dental Health

  42. เป้าประสงค์ • ประชาชนทุกกลุ่มวัย- มีพฤติกรรมดูแลสุขภาพช่องปากตนเอง - อยู่ในสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ - สามารถเข้าถึงบริการทันตสุขภาพมากขึ้น ทั้งส่งเสริม ป้องกัน รักษา ฟื้นฟู • ชุมชนมีศักยภาพในการดูแลและจัดการปัญหาสุขภาพช่องปากของชุมชนได้อย่างเหมาะสม Bureau of Dental Health

  43. ยุทธศาสตร์ : ตำบลฟันดี สุขภาพดี ชีวีมีสุข 1. ชุมชนเข้มแข็ง ท้องถิ่นเป็นแกน สาธารณสุขสนับสนุน 2. สร้างกระแสและขับเคลื่อนสังคม 3. พัฒนาการเข้าถึงบริการสุขภาพช่องปาก โดยเฉพาะระดับปฐมภูมิ (ครอบคลุม ได้มาตรฐาน คุณภาพ) 4. พัฒนาศักยภาพทันตบุคลากรและภาคีครือข่าย/ แกนนำชุมชน เช่น อสม. ผู้สูงอายุ อผส. ผดด. เป็นต้น เพื่อการดูแลและจัดการปัญหา 5. พัฒนา กลไกการบริหารจัดการ และระบบเฝ้าระวัง สารสนเทศ การติดตามประเมินผล Bureau of Dental Health

  44. กระบวนการดำเนินงานตำบลฟันดีกระบวนการดำเนินงานตำบลฟันดี • รพ.สต.มีบริการส่งเสริมป้องกันในทุกกลุ่มอายุ • ท้องถิ่น (อบจ./อบต./เทศบาล)ให้การสนับสนุน • มีโครงการขับเคลื่อนในพื้นที่ที่ชุมชนมีส่วนร่วม • จังหวัดและ CUP มีระบบสนับสนุนการดำเนินงานส่งเสริมสุขภาพ Bureau of Dental Health

  45. ผลผลิต 1.นโยบายสาธารณะ 2.สิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อทันตสุขภาพ 3.พฤติกรรมเสี่ยงของประชาชนทุกกลุ่มวัยลดลง 4.การเข้าถึงบริการส่งเสริมสุขภาพช่องปาก ทุกกลุ่มวัย 5. นวัตกรรมทันตสุขภาพในท้องถิ่น/ชุมชน Bureau of Dental Health

  46. ผลที่คาดว่าจะได้รับ ผลลัพธ์ -เด็กปราศจากฟันผุ ( caries free) หรือรวมเด็กที่ได้รับการอุดฟันแล้วด้วย -ผู้ใหญ่มีฟันใช้งานได้มากกว่า 20 ซี่ ผลกระทบ - ประชาชนทุกกลุ่มวัยมีสุขภาพและคุณภาพชีวิตดีขึ้น Bureau of Dental Health

  47. ยุทธศาสตร์ “ตำบลฟันดี สุขภาพดี ชีวีมีสุข” • ชุมชนเข้มแข็ง • ท้องถิ่นเป็นแกน • สาธารณสุขสนับสนุน • บริการมีคุณภาพ

  48. รณรงค์ “คนไทยฟันดี สดุดีสมเด็จย่า”21 ตค. วันทันตสาธารณสุขแห่งชาติ ๗-๘ ตค.๕๖ การประชุมพัฒนานโยบายโรงเรียนปลอดน้ำอัดลม เพื่อเด็กไทย สุขภาพดี ๑๔ ตค.๕๖ การอบรมนักจัดรายการวิทยุ ๑๗ ตค.๕๖ การประกวด “๑๐ ยอดฟันดี วัย ๘๐ และ ๙๐ปี” ๑๘ ตค.๕๖ การจัดนิทรรศการและพิธีเปิดโครงการ ณ โรงเรียนเทศบาลวัดละหาร อ.บางบัวทอง จ.นนทบุรี ๒๑ ตค.๕๖ รณรงค์จัดบริการทางทันตสาธารณสุขแก่ประชาชนโดยไม่คิดมูลค่า โดยหน่วยบริการสาธารณสุขทุกสังกัดทั่วประเทศ ตลอดเดือนตค.๕๖ เผยแพร่ประชาสัมพันธ์ผ่านสื่อสาธารณะ

More Related