1 / 41

ผ้าเนื้อหนา ไม่ค่อยยับ ด้ายพุ่งเข้าเกลียวน้อย เส้นใหญ่

ผ้าเนื้อหนา ไม่ค่อยยับ ด้ายพุ่งเข้าเกลียวน้อย เส้นใหญ่. Crash เนื้อหยาบ ด้ายขนาดหนา บางในเส้นไม่เท่ากัน duck,canvas ใช้ด้ายคู่เข้าเกลียวสูง เนื้อแน่นมาก ทำผ้าใบ Butcher rayon ผ้าเป็นมัน ใช้ด้ายเส้นใหญ่. ผ้าทอลายขัดไม่สมดุล( unbalanced plain weave ). 1.ผ้าลูกฟูกหนาปานกลาง

tilly
Télécharger la présentation

ผ้าเนื้อหนา ไม่ค่อยยับ ด้ายพุ่งเข้าเกลียวน้อย เส้นใหญ่

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. ผ้าเนื้อหนา ไม่ค่อยยับ ด้ายพุ่งเข้าเกลียวน้อย เส้นใหญ่ • Crash เนื้อหยาบ ด้ายขนาดหนา บางในเส้นไม่เท่ากัน • duck,canvas ใช้ด้ายคู่เข้าเกลียวสูง เนื้อแน่นมาก ทำผ้าใบ • Butcher rayon ผ้าเป็นมัน ใช้ด้ายเส้นใหญ่

  2. ผ้าทอลายขัดไม่สมดุล(unbalanced plain weave) 1.ผ้าลูกฟูกหนาปานกลาง • Broadcloth มีสันเล็ก นุ่ม ด้ายยืนมากกว่าด้ายพุ่งสองเท่า ด้ายพุ่งเข้าเกลียวน้อยกว่า ผ้าที่คุณภาพดีทำจากฝ้ายใยยาวชื่อ pima broadcloth • Poplin คล้ายbroadcloth สันนูนหนากว่า ด้ายพุ่งใหญ่กว่า • Taffeta สันเล็ก ทอจากใยยาว ผ้าเนื้อแน่น แข็งเป็นมัน ถ้าทำจากเรยอน แข็งเพราะตกแต่ง ทอจากอาซิเตดลายจะคงทน • Faille มีสันนูนหนา ด้ายยืนทำจากใยยาว ผ้ามีสันนูนตามขวาง ด้ายพุ่งมีขนาดใหญ่ ด้ายยืนเล็กแต่มีจำนวนมาก

  3. ผ้าลูกฟูกเนื้อหนา • ผ้ากลุ่มนี้สันนูนใหญ่ • Shantung มีสันหนาไม่เท่ากัน ใช้ด้ายผิวไม่เรียบ ขนาดไม่เท่ากัน • Rep ผ้าหนา หนัก หยาบ สันใหญ่ • Bengaline มักใช้เรยองเป็นด้ายยืน พุ่งเป็นฝ้าย บางครั้งด้ายยืนใช้สองเส้นควบ • Grosgrain ผ้ามีสันกลม ด้ายพุ่งหนาใหญ่

  4. ผ้าทอแบบสานตะกร้า (basket weave fabics) • ด้ายยืน ด้ายพุ่ง ควบครั้งละ 2 เส้นขึ้นไป การขัดกันในหนึ่งตารางนิ้วน้อยกว่าผ้าทอลายขัด ยืด หดง่ายกว่า ลุ่ยง่าย เนื้อนุ่ม • Monk’s Cloth ผ้าเนื้อห่าง หยาบ ถูกกดนานๆเป็นถุง ทำผ้าม่าน ปกหนังสือ ผ้าคลุมที่นอน • Oxford 2x1,3x2ด้ายยืนเล็ก เข้าเกลียวมากกว่าด้ายพุ่ง ทอหลวม ผ้านุ่ม

  5. ผ้าทอลายสองสองหน้า ลายทแยงด้านหน้าด้านหลังเหมือนกัน ด้ายยืนด้ายพุ่งเท่ากันหรือใกล้เคียง มักใช้2/2 • Surah เนื้อเบา มันคล้ายไหม พิมพ์ลาย ใช้ตัดชุด รองใน เนคไท • Tweed ทอจากด้ายอย่างน้อย2สีในเส้นเดียวกัน ผ้ามีจุดสีเล็กๆ • Glen tweed ด้ายพุ่ง ด้ายยืนมีสีสลับกัน ผ้ามีสีเป็นจุดสี่เหลี่ยมเล็กๆ • Twill flanned อาจทอ2/1หรือ2/2 ด้ายพุ่งเข้าเกลียวต่ำ เส้นใหญ่ ตะกุยขนผิวหน้า อ่อนนุ่ม

  6. ผ้าลายสองหน้าเดียว • เห็นแนวทแยงด้านหน้าผ้า ด้ายพุ่งด้ายยืนจำนวนต่างกัน ด้ายเข้าเกลียวสูง ทอแน่น ผ้าแข็งแรง • Jean เป็นผ้าเนื้อหนาปานกลาง เนื้อนุ่ม ใช้ตัดเสื้อเชิ้ต ผ้าม่าน • Denim ด้ายยืนย้อมสี ด้ายพุ่งสีขาว ใช้ตัด blue jean • Garbardine แนวทแยงเห็นชัด ทนทาน ใช้ตัดสูท เทเลอร์ ผ้าลายสองก้างปลา (Herringbone fabrics)เกิดจากการทอลายสองแล้วทอกลับให้เส้นทแยงไปทางตรงกันข้าม

  7. ทอแบบต่วน(satin weave) • ดัดแปลงจากทอลายสอง แต่ด้ายลอยข้ามยาวไม่เห็นแนวทแยง ด้ายข้ามอย่างน้อย 4 เส้นขึ้นไปและขัดกับด้ายเส้นถัดไปเช่น4/1 ข้าม4สอด1 การขัดกันของด้ายต่อตารางนิ้วมีน้อย จำนวนเส้นด้ายต่อตารางนิ้วสูงมาก ถ้าทอแน่นเส้นด้ายชิดกันจะมองไม่เห็นด้ายด้านล่าง • ด้ายใดเป็นด้ายลอย ด้ายด้านนั้นมีจำนวนสูง เข้าเกลียวน้อย • ต่วนด้ายยืน(satin)ด้ายยืนเป็นด้ายลอย ต่วนด้ายพุ่ง(sateen)ด้ายพุ่งเป็นด้ายลอย

  8. Crepe-backed satin ผ้าด้านหน้าย่นแบบเครป ด้านหลังผิวเรียบและมัน ด้ายยืนเป็นด้ายลอยเข้าเกลียวต่ำ ด้ายพุ่งเป็นด้ายเครป เนื้อนุ่ม จีบเดรปดี • Brocade พื้นทอแบบใดก็ได้ แต่ยกดอกเป็นต่วน • Damask พื้นทอต่วนแล้วยกดอกต่วนคนละแนว • Tapestry การทอต่วนผสมกับการทอแบบอื่น

  9. การทอแบบเครปและผ้าเครป(Crepe)การทอแบบเครปและผ้าเครป(Crepe) • 1.ผ้าture crepe :ผ้าที่ทอด้วยด้ายเครปเข้าเกลียวแบบsและzนำมาทอด้วยกัน แยกประเภทดังนี้ • 1.1 ผ้าเครปด้ายพุ่ง ด้ายพุ่งใช้ด้ายเครปเข้าเกลียวต่ำ ด้ายยืนเป็นด้ายธรรมดา • flat crepeเป็นเครปด้ายพุ่ง ด้ายยืนเป็นอาซิเตดเข้าเกลียวต่ำ ด้ายพุ่งเป็นเรยองเครป • 1.2 ผ้าเครปด้ายยืน ด้ายยืนเป็นเครป พุ่งเป็นด้ายธรรมดา ผ้ายับง่าย หดมาก ลู่ตัวเช่น ผ้าbemberg

  10. 1.3ผ้าเครปสมดุล ด้ายยืนและด้ายพุ่งเป็นเครป ส่วนมากเป็นผ้าบางเบา เส้นด้ายเข้าเกลียวสูงมาก เช่นผ้าchiffon georgette • 1.4 ผ้าเครปแบบพลิกแพลง ใช้ด้ายเครปกับด้ายธรรมดาทอสล้บกันจนเกิดรอยย่นนูน เช่น ผ้าpuckered rayon หรือseersucker ,matelasse เป็นผ้าย่นที่เกิดจากการนำกลุ่มด้ายธรรมดากับกลุ่มด้ายเครปทอสลับกัน เมื่อนำไปตกแต่งด้ายเครปจะหดตัวตามขวางทำให้ด้ายธรรมดาหดตาม • 2. ผ้าย่นที่เกิดจากการใช้ด้ายพิเศษ เนื้อผ้าหนากว่าtrue crepe ด้ายยืนเป็นด้ายธรรมดา ด้ายพุ่งเป็นด้ายพิเศษ ทอลายขัดธรรมดา เมื่อนำไปตกแต่งผ้าหดเกิดรอยย่นมาก เนื้อหนา แน่น แข็ง จับเดรปไม่ได้ ไม่ต้องรีด

  11. 3. ผ้าย่นที่เกิดจากการทอ(Crepe Effect by weaving) • 3.1 การทอแบบเครป(crepe weave)เป็นการทอโดยด้ายพุ่งข้ามด้ายยืนเป็นช่วงๆไม่เท่ากัน ผิวหน้าของผ้าหยาบ เป็นเส้นและเม็ดเล็กๆ • Sand crepe ด้ายข้ามไม่เกิน2เส้น ใช้ด้ายเครปจำนวนด้ายต่อตารางนิ้ว 120x60 ถึง 135x72 ขนาด 100-150 denier ผ้าเนื้อแน่น ละเอียด ใช้ตัดชุด • Moss crepe ใช้ด้ายเครปเป็นด้ายคู่ และด้ายธรรมดาเป็นด้ายคู่ ผ้าจะมีน้ำหนัก • ผ้าทอแบบเครป ค่อนข้างมีราคา ห้ามใช้แปรง รีดตามแนวด้ายลอย

  12. 3.2 การทอแบบผ่อนด้าย ด้ายยืนขึงบนแกนสองแกน แกนหนึ่งขึงด้ายตึงธรรมดา อีกแกนขึงด้ายหย่อน เมื่อกระทบด้ายพุ่ง ด้ายยืนที่หย่อนจะย่นเข้ามา เช่นผ้า seersucker ผ้าย่นเป็นทางยาว แถวหนึ่งย่น แถวหนึ่งเรียบสลับกันไป มีลักษณะการย่นแบบถาวร ส่วนใหญ่หน้าผ้ากว้าง สีเรียบ ลายทาง มีทั้งตาเล็ก ตาใหญ่ • 4.ผ้าย่นเกิดจากการตกแต่ง โดยใช้ความร้อนหรือสารเคมี • Plisse’ ตกแต่งโดยพิมพ์โซเดียมไฮด๊อกไซด์ ส่วนถูกด่างจะหดตัวดึงส่วนที่ไม่ถูกย่นเข้ามา • Embossed crepe ใช้ลูกกลิ้งร้อนกดลงบนผ้า บางทีเรียกผ้าย่น ราคาถูก ก่อนตัดเย็บไม่จำเป็นต้องหดน้ำก่อน

  13. ผ้าขน (File Fabrics or Tufted Fabrics) • ผ้าทอขนที่มีจำนวนเส้นด้ายต่อตารางนิ้วสูง จะทนทาน สวยงาม ทำพรม ผ้าบุเครื่องเรือน ผ้าคลุมเตียง • ผ้าขนเป็นห่วงจากด้ายฝ้ายเข้าเกลียวต่ำ อ่อนนุ่ม ซับน้ำดี ใช้ทำผ้าเช็ดตัว • ทำให้น่าสนใจโดย ตัดขนสั้น ยาว ทอพื้นเรียบสลับกับทอขน ทอด้วยด้ายที่หยิกงอ พิมพ์ลวดลาย แปรงขน • ผ้ากำมะหยี่ มีวิธีทำให้ขนตั้ง แต่งขนให้ไปทิศทางเดียวกัน จะมีทิศทางขึ้นและลงของขน ในการตัดเย็บ ต้องระวังทิศทางของขน มิฉะนั้นจะดูเหลือบเป็นสองสี

  14. การผลิตผ้าขน • 1. ผ้าขนที่เกิดจากการทอ เป็นการทอใช้ด้ายยืนหรือด้ายพุ่งชุดพิเศษมาขัดเพื่อให้เป็นขนหรือหว่ง • 1.1 ผ้าทอขนด้ายพุ่ง(Filling Pile Fabrics) ใช้ด้ายพุ่งเป็นขน ใช้ด้ายพุ่ง2ชุด ด้ายยืน1ชุด ใช้ด้ายพุ่งพิเศษทอลอยข้ามด้ายยืน แล้วใช้เครื่องตัดเส้นลอย แปรงขน ถ้าด้ายลอยข้ามซ้ำแบบลายขัดธรรมดาได้ผ้าขนตั้งเป็นแถวเรียงตามยาวผ้า ถ้าด้ายลอยข้ามแบบต่วนได้ผ้ากำมะหยี่มีขนกระจายทั่วไป • Velveteen พื้นทอลายขัดหรือลายสอง ขนยาวไม่เกิน1/8นิ้ว มักผลิตจากฝ้ายใยยาว ขัดมัน หรือใช้ใยเรยอง • Corduroy ผ้ากำมะหยี่ลูกฟูก ขนตั้งเป็นแถว พื้นหลังมีทั้งลายขัดและลายสอง

  15. 1.2 ผ้าทอขนด้ายยืน(Warp Pile Fabrics)ใช้ด้ายยืน2ชุด ด้ายพุ่ง1ชุด ด้ายยืน1ชุดจะเป็นด้ายพิเศษ • 1.2.1 การทอผ้าสองชั้น(double method)เป็นการทอผ้าทีละสองผืน ใช้ด้ายยืน ด้ายพุ่งอย่างละ2ชุด ทอเป็นพื้นสองผืน ด้ายยืนชุดที่3เป็นตัวยึดผ้าสองชิ้นและเป็นขน อาจเป็นvหรือw ถ้าเป็นv ขนจะแน่น เป็นwขนจะห่าง เป็นวิธีที่นิยมเพราะทอได้เร็ว • Velvet ผ้ากำมะหยี่ขนกระจาย ขนยาวไม่เกิน1/16นิ้ว • panne velvet ผ้ากำมะหยี่ขนเรียบ ทิศทางขนไปทางเดียวกัน นน.เบา ขนเป็นมัน ดูแลยาก ใช้ไปขนไม่มีทิศทาง ใช้ตัดชุดราตรี • Pannette เหมือนpanne แต่ไม่มัน ใช้ทำผ้าม่าน ผ้าบุเครื่องเรือน

  16. Jardiniere พื้นทอซาติน ลวดลายเป็นกำมะหยี่ เล่นความสูงต่ำของขน สวยงาม อาจตัดขนหรือไม่ตัดขน • Velour ผ้าทอเนื้อหนา แน่น หนัก ขนยาวกว่าvelvet ถ้าเป็นฝ้ายใช้ทำผ้าม่าน เป็นขนสัตว์ใช้ตัดโค๊ท • Furlike fabric ทำขนเฟอร์เทียม • 1.2.2 การทอโดยการใช้ลวด ใช้ด้ายยืนสองชุด ชุดหนึ่งขัดด้ายพุ่งเป็นพื้น อีกชุดเป็นขนทอข้ามเส้นลวดไปขัดกับด้ายพุ่ง ความยาวขนขึ้นกับขนาดของลวด

  17. 1.2.3 การทอผ่อนด้ายหรือทอผ้าเช็ดตัว ใช้ด้ายยืน2ชุด ชุดหนึ่งขัดกับด้ายพุ่ง อีกชุดเป็นห่วง • 2. ผ้าทอขนโดยการใช้เข็ม ใช้เข็มนำด้ายชุดพิเศษแทงลงบนพื้นผ้า ทากาวยางเพื่อยึดพื้นให้ติดกัน • 3. ผ้าขนเกิดจากใช้ด้ายเชอนิล ผ้ามีลักษณะเป็นขนสั้นๆทั้งด้านหน้าและด้านหลัง • 4. ผ้าขนจากการถักนิต ใช้เครื่องผลิตผ้าถักเจอร์ซี่แบบปล่อยห่วง ตัดขน และไม่ตัด มีความอ่อนนุ่ม ทำผ้าห่มเด็ก ผ้าทำตุ๊กตา • 5. ผ้าติดขน ใช้ขนติดผ้าหรือเส้นด้าย ราคาถูก • 6. ผ้าขนเกิดจากการตะกุย ผ้าทำด้ายเข้าเกลียวหลวม ทอธรรมดา เช่นผ้าสำลี

  18. ผ้าถักนิต(Knitted Fabrics) เส้นด้ายคล้องกันเป็นห่วงตามแนวขวางหรือตามแนวยืนตลอดผ้า • 1.การถักนิตตามขวาง(filling knitting)ใช้ด้ายเส้นเดียวถักไปที่ละห่วงตามขวางจนหมดแถว แถวใหม่ถักคล้องกับแถวเดิม แบ่งออกเป็น • 1.1 plain or single jersey เป็นการถักนิตแถวเพิร์ลแถวสลับกัน ด้านหน้าเป็นลายก้างปลาตามแนวยืน ด้านหลังเป็นแถวคล้ายคลื่นตามขวาง ผ้ายืดได้ทั้งตามยาวและตามขวาง ทำเสื้อsweather • 1.2 rib structure ลักษณะเป็นสันลูกฟูก แนวก้างปลาตามแนวยืนทั้งสองด้าน เกิดจากถักนิต1ห่วงเพิร์ล1ห่วงสลับกันหรือ2x2,3x3แล้วแต่ต้องการสันฟูกใหญ่แค่ไหนส่วนมากใช้ถักขอบข้อมือ คอเสื้อ ขอบถุงเท้า

  19. 1.3 double knits ลักษณะเหมือนrib สองชั้นซ้อนกัน แต่เป็นผ้าชั้นเดียว เกิดจากการใช้เข็ม2ชุด ทำหน้าที่ถักและเกี่ยวยึด(interlock )ช่วยป้องกันไม่ให้ผ้าขาดแล้วหลุดต่อเนื่อง(run resistant)ผ้ามีเนื้อค่อนข้างหนา เห็นลายก้างปลาเหมือนกันทั้งสองด้าน • 2.การถักนิตตามแนวยืน(warp knitting)ใช้มือถักไม่ได้ มีความคงรูป • 2.1 tricot เนื้อเรียบ ละเอียด ด้านหน้าเป็นแนวก้างปลาตามแนวยืน ด้านหลังเป็นตามแนวขวางแบ่งเป็น one-bar,two-bar,three-bar,four-bar

  20. 2.2 Raschel ผลิตผ้าหลายรูปแบบ ผ้าถักนิตลูกไม้บางเบาจนถึงผ้าใช้งานหนัก สามารถทำลวดลายหลายอย่างเช่น ผ้าโปร่งตาข่าย ผ้าลูกไม้ ส่วนยืดเสื้อยกทรง ชุดว่ายน้ำ เสื้อเทเลอร์ พรม • 2.3 Simplex ผ้าเนื้อค่อนข้างหนา ทำผลิตภัณฑ์ใช้งานหนัก เช่น ถุงมือตีกอล์ฟ กระเป๋าเดินทาง • 2.4 Melanese คล้ายตริโก ลักษณะแบบrib knit เนื้อละเอียด ด้านหน้าสันนูนตามยาว ด้านหลังสันนูนทแยง ผ้าไม่run ทนทาน คงรูป ไม่ค่อยยืดหด ใช้ทำถุงมือ ชุดชั้นในสตรี

  21. 3. พัฒนาการเครื่องถักนิต ใช้เครื่องraschelผสมผสานการทอกับการถักเข้าด้วยกัน โดยการสอดเส้นด้ายชุดพิเศษผ่านห่วงถักตลอดแถวแนวขวางหรือแนวยืน ทำให้ดูเหมือนผ้าทอเรียกfall plate • Co-we-nit และ metap ใช้ทั้งด้ายสอด และด้ายเกี่ยวคล้องห่วงระหว่างแถว ทำให้ได้ผ้าเนื้อแน่นขึ้น

  22. ผ้าลูกไม้และผ้าทอลวดลายผ้าลูกไม้และผ้าทอลวดลาย • 1. ผ้าลูกไม้(Lace)ด้ายควรเป็นด้ายที่เข้าเกลียวแน่น ผิวเรียบ จะทนทาน • 1.1 needle point lace วาดลวดลายลงบนกระดาษหรือผ้าแข็งโปร่งแสง วางทาบกับผ้าลินิน ปักเหมือนทำรังดุม • 1.2 bobbin lace or pillow lace ทำลวดลายบนหมอน ใช้เข็มหมุดตรึงตามลายใช้ด้ายพันผูกตามลาย • 1.3 filet lace ลูกไม้โปร่ง ใช้ด้ายสานไปมา แล้วสานทับเป็นลาย

  23. ผ้าทอลวดลาย(figure weave) • 2.1 การทอดอกแบบดอบปี ใช้เครื่องประกอบdobbyช่วยเช่นผ้าbird’s eye • 2.2 การทอลวดลายโดยใช้ด้ายชุดพิเศษ • 2.3 การทอแบบลิโน เหมือนผ้ามุ้ง ใช้เครื่องประกอบdoupติดกับเครื่องทอลายขัด • 2.4 ผ้าทอปิเก(pique’ weave)มีสันนูนโดยมีด้ายหนุนด้านหลัง

  24. การผลิตผ้าโดยวิธีอื่นการผลิตผ้าโดยวิธีอื่น • 1. การอัดสักหลาด(felting)การอัดเส้นใยขนสัตว์ให้เป็นแผ่น ปัจจุบันใช้ทอออกมาเป็นผืน นำมาตะกุยขนแล้วอัดเป็นแผ่น เป็นผ้าไม่มีทิศทางเส้นด้าย เนื้อค่อนข้างแข็ง ให้ความอบอุ่น กันเสียงสะท้อน ใช้ทำหมวก ปูโต๊ะบิลเลียด กรุผนังห้อง หุ้มลูกเทนนิส • 2. bonding การทำให้เส้นใยติดกันเป็นแผ่น โดยใช้เส้นใยที่ผลิตใหม่ เหลือจากการผลิต จากเส้นใยสังเคราะห์จากธรรมชาติ

  25. วิธีการผลิตแบบbonding • 1.ใช้ความร้อน ใช้กับเส้นใยที่หลอมละลาย • 2. ใช้สารละลาย • 3. ใช้สารช่วยติด • 4. ใช้เข็ม • 5. ใช้วิธีแบบอัดกระดาษ

  26. 3. ฟิล์ม(Films) • การทำสารละลายให้เป็นแผ่น เรียกว่า พลาสติคหรือผ้ายาง • ผลิตจากสารละลายvinyle or polyurethane • คุณสมบัติกันน้ำ น้ำหนักเบา ดึงปรับขนาดหนา บางได้ ใช้ในงานแพทย์ ร่ม ผ้าปูโต๊ะ เคลือบติดกับผ้าใช้บุเก้าอี้ ทำหนังเทียม • 4. ฟองน้ำ(Foams)ผลิตจากยางและpolyurethane ใช้ประกอบกับผ้าได้ • 5. หนังแท้ ทำจากผิวหนังของสัตว์ ส่วนมากใช้ส่วนด้านหลังและด้านข้าง suede นิยมมาก มีความนุ่ม มีขนบางๆ ทนทาน

  27. 6. เฟอร์ เป็นหนังสัตว์ที่ขนติดอยู่ ทั่วไปเป็นขนสองชั้น ชั้นล่างขนสั้นละเอียด ช่วยหนุนให้ขนที่ยาว พองฟู ควรเก็บในที่เย็น ควบคุมอุณหภูมิและความชื้น มีเฟอร์ผสมระหว่างขนสัตว์กับใยสัเคราะห์ • 7. การทำผ้าติดกันหลายชั้น ใช้กาว ความร้อน เช่น อัดฟิล์มกับผ้า ฟองน้ำหรือแผ่นเส้นใย • อัดผ้าถักนิตกับผ้าธรรมดาทำให้ผ้าไม่ยืดย้วย คงรูป ไม่หลุดลุ่ยง่าย

  28. การตกแต่งผ้า(Finishing) • แบ่งตามความคงทนได้ 4 ประเภท • 1. การตกแต่งแบบถาวร(Permanent)เช่นการอัดพลีท ตะกุยขน ย้อมสี การทำย่นจากใยสังเคราะห์ • 2. การตกแต่งอย่างคงทน(Durable)เช่นการกันยับด้วยเรซิน • 3. การตกแต่งชั่วคราว(Temporary)เช่นการลงแป้ง การรีด • 4. การตกแต่งใหม่(Renewable)เช่น การย้อมสี การรีดจับเกล็ด

  29. การตกแต่งตามวัตถุประสงค์การผลิตการตกแต่งตามวัตถุประสงค์การผลิต • การตกแต่งประจำ • 1.1 การทำความสะอาด เช่น Kier boiling Degumming scouring desizing • 1.2 การฟอกขาว(Bleaching) สารฟอกขาวส่วนใหญ่เป็น oxidizing agent เช่น สารฟอกขาวออกซิเจนผง อ่อนกว่าสารฟอกขาวคลอลีน สารฟอกขาวเปอร์ออกไซด์ ใช้กับเส้นใยเซลลูโลสและโปรตีน ความเข้มข้น3%ที่อุณ.ห้อง • 1.3 การชุบมัน(Mercerization)ทำให้ผ้าหดตัว แข็งแรง เป็นมัน ดูดน้ำ ใช้กับเส้นใยเซลลูโลส

  30. การตกแต่งโดยใช้แอมโมเนีย มีชื่อทางการค้าว่า Duralized และ Sanforset • 1.4 การเผาขน ทำให้พื้นผิวผ้าเรียบ ใช้กับผ้าทอจากใยสั้น ทำได้สองวิธีคือ ผ่านผ้าเร็วๆไปบนเปลวแก๊ส กับการผ่านผ้าบนแผ่นโลหะที่เผาร้อน แล้วผ่านลงในน้ำ ผ้าthermoplastic ทำหลังการย้อมสีแล้ว • 1.5 การตัดขน • 1.6 การแปรงขน • 1.7 การทำให้ผ้าคงตัว โดยการเป่าลมร้อนหรือไอน้ำ • 1.8 การทุบ • 1.9 การรีด ทำให้ผ้าเรียบเป็นมัน • 1.10 การดึงให้ตรง 1.11 การตรวจ

  31. 2. การตกแต่งเพื่อความสวยงาม • 2.1 การรีดให้ผ้ามัน(calendering)และการตกแต่งลายน้ำ(moireing)ใช้ friction calender เป็นลูกกลิ้งต่างระดับความร้อนและน้ำหนัก • 2.2 การลดความมันของผ้า ทำขณะเป็นเส้นใยเติมสาร titaniumdioxide หลังจากเป็นผืนผ้าแล้วใช้การเคลือบ • 2.3 การตกแต่งให้ผ้าย่น โดยการใช้เชิงกล และสารเคมี • 2.4 การทำให้ผ้าโปร่งแสง โดยการใช้กรดกำมะถัน • 2.5 การใช้กรดละลายเส้นใยบางส่วน • 2.6 การเพิ่มขนาดและน้ำหนัก

  32. การตกแต่งเพื่อประโยชน์ใช้สอยการตกแต่งเพื่อประโยชน์ใช้สอย • 3.1 การตกแต่งกันหด วิธีที่ง่ายใช้กับผ้าทั่วไปโดยแช่ผ้าในน้ำ บีบน้ำออก ตาก รีดให้แห้ง การกันหดเรียกทางการค้าว่า sanforize เมื่อนำไปซักผ้าหดอีกประมาณ 1.2% ผลพลอยได้ผ้าไม่ค่อยยับ • 3.2 การตกแต่งไม่ค่อยยับ ใช้กับผ้าที่ยับง่าย รีดยาก ข้อเสียคือ ผ้ากระด้าง ซับน้ำน้อย • 3.3 การตกแต่งให้ผ้าดูดซับน้ำ น้ำยาที่ใช้มีชื่อการค้าเช่น hysorb telezorbant sobtex • 3.4 การตกแต่งทนไฟ ทำเองได้โดยใช้สารละลาย boric acid 3 ออนซ์ + น้ำ 3 ถ้วย , borax 7 ozs+น้ำ8ถ้วย

  33. 3.5 การตกแต่งกันน้ำและสะท้อนน้ำ • 3.6 การตกแต่งกันแบคทีเรีย • 3.7 การตกแต่งกันไฟฟ้าสถิต • 3.8 การตกแต่งให้ผ้านุ่ม • การตกแต่งด้วยเรซิน ผ้าจะแข็งกระด้าง ดูดซับคลอลีน ผ้าเปลี่ยนสี สกปรกง่าย เกิดไฟฟ้าสถิตง่าย การดูแล เรซินละลายน้ำได้ ห้ามขยี้ แปรงแรงๆ ไม่ควรใช้สารฟอกขาวคลอลีน ไม่บิดแรง ตากในร่ม

More Related