1 / 142

บทที่ 5. ตัวแบบการขนส่ง

สวัสดีปีใหม่ 2554. บทที่ 5. ตัวแบบการขนส่ง. 5.1 ลักษณะของปัญหา. การจัดส่งสินค้าเป็นปัญหาที่เกี่ยวกับจัดสรรสินค้าจากจุดต้นทาง เช่น แหล่งวัตถุดิบ หรือโรงงาน ไปยังจุดปลายทางเช่น คลังสินค้า หรือร้านค้าเป็นต้น

Télécharger la présentation

บทที่ 5. ตัวแบบการขนส่ง

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. สวัสดีปีใหม่ 2554 บทที่ 5.ตัวแบบการขนส่ง

  2. 5.1 ลักษณะของปัญหา • การจัดส่งสินค้าเป็นปัญหาที่เกี่ยวกับจัดสรรสินค้าจากจุดต้นทาง เช่น แหล่งวัตถุดิบ หรือโรงงาน ไปยังจุดปลายทางเช่น คลังสินค้า หรือร้านค้าเป็นต้น • เป็นปัญหาของการค้นหาวิธีการขนส่งสินค้าจากจุดต้นทางไปยังปลายทางให้ได้ตามที่วัตถุประสงค์โดยใช้ต้นทุนต่ำที่สุด • ข้อมูลที่ใช้ในการตัดสินใจ • จำนวนจุดต้นทาง (m) • จำนวนจุดปลายทาง • จำนวนสินค้าที่มีอยู่ที่จุดต้นทางต่าง ๆ • จำนวนสินค้าที่ต้องการ ณ จุดปลายทางต่าง ๆ • ค่าใช้จ่ายในการขนส่งสินค้าจากจุดต้นทางไปยังจุดปลายทาง • เงื่อนไขในการจัดสรรสินค้า

  3. 5.1 ลักษณะของปัญหา • กำหนดให้ • aiคือจำนวนสินค้าที่มีอยู่ที่จุดต้นทาง i • bjคือจำนวนสินค้าที่จุดปลายทางที่ j ต้องการ • cijคือค่าใช้จ่ายในการขนส่งสินค้าหนึ่งหน่วยจากจุดต้นทางที่ iไปยังจุดปลายทางที่ j

  4. 5.2 วิธีเลือกใช้ตัวแบบ • การแก้ปัญหาตัวแบบการขนส่งสามารถใช้การแก้ปัญหาของตัวแบบกำหนดการเชิงเส้นได้ • กำหนดให้ • Xijเป็นจำนวนสินค้าที่ส่งจากจุดต้นทางที่ iไปยังจุดปลายทางที่ j • Z คือค่าใช้จ่ายในการขนส่ง • minimize Z = c11X11 + c12X12 + … + cmnXmn

  5. 5.2 วิธีเลือกใช้ตัวแบบ ภายใต้เงื่อนไข X11 + X12 + … +X1n<=a1 X21 + X22 + … +X2n<=a2 : : : : Xm1 + Xm2 + … +Xmn<=am X11 + X21 + … +Xm1=b1 X12 + X22 + … +Xm2=b2 : : : : X1n + X2n + … +Xmn=bn จำนวนสินค้าที่ส่งมาจากจุดเริ่มต้นที่ iจะต้องน้อยกว่าหรือเท่ากับ ai จำนวนสินค้าที่ส่งไปยังจุดปลายทางที่ j จะต้องเท่ากับ bj

  6. 5.2 วิธีเลือกใช้ตัวแบบ

  7. 5.2 วิธีเลือกใช้ตัวแบบ • ตัวอย่างที่ 5.1 บริษัทลักกี้เพ้นท์เป็นผู้ผลิตสีทาอาคาร ต้องการส่งสีให้ตัวแทนจำหน่าย 4 ราย จากคลังสินค้า 3 แห่งของบริษัท คลังสินค้าแต่ละแห่งมีสีที่จัดส่งได้เป็นจำนวน 1,200 กระป๋อง 800 กระป๋องและ 1,000 กระป๋องตามลำดับ ในขณะที่ตัวแทนจำหน่ายแต่ละรายต้องการสีจำนวน 1,000 กระป๋อง 600 กระป๋อง 900 กระป๋อง และ 500 กระป๋อง ตามลำดับ ค่าใช้จ่ายในการจัดส่งสีแสดงตามตาราง

  8. 5.2 วิธีเลือกใช้ตัวแบบ • minimize Z=4X11+6X12+14X13+15X14+10X21+14X22 +4X23+8X24+10X31+3X32+8X33+10X34 • ภายใต้เงื่อนไข X11+X12+X13+X14<=1,200 X21+X22+X23+X24<=800 X31+X32+X33+X34<=1,000 X11+X21+X31=1,000 X12+X22+X32=600 X13+X23+X33=900 X14+X24+X34=500

  9. 5.2 วิธีเลือกใช้ตัวแบบ • เราสามารถแก้ปัญหาของบริษัทลักกี้เพนท์ได้โดยใช้วิธีซิมเพล็กซ์หรือโปรแกรมสำเร็จรูปของตัวแบบกำหนดการเชิงเส้นได้ • ข้อดีของการใช้วิธีของตัวแบบกำหนดการเชิงเส้น • สามารถวิเคราะห์ความไวของการเปลี่ยนแปลง เช่นผลของการเปลี่ยนแปลงค่าใช้จ่ายในแต่ละเส้นทาง ผลของการเปลี่ยนแปลงจำนวนสินค้าที่จุดเริ่มต้นหรือจุดปลายทาง • สามารถวิเคราะห์ What if โดยใช้ข้อมูล Sensitivity Ranges และ Dual Value • ข้อเสียของการใช้วิธีของตัวแบบกำหนดการเชิงเส้น • เนื่องจากมีจำนวนตัวแปรเป็นจำนวนมากทำให้การป้อนข้อมูลจำนวนมากเข้าโปรแกรมสำเร็จรูปอย่าง QM for Windows หรือ Excel’s Solver ซึ่งต้องระมัดระวังอย่างสูงที่จะไม่ป้อนข้อมูลผิดพลาด

  10. 5.2 วิธีเลือกใช้ตัวแบบ • การแก้ปัญหาโดยใช้ตัวแบบการขนส่งจะใช้เวลาในการคำนวณน้อยกว่า • ก่อนการคำนวณจะต้องตรวจสอบก่อนว่า Sai=Sbjหรือไม่ซึ่งจากปัญหาของบริษัทลักกี้เพนท์ จำนวนสินค้าของคลังสินค้าทั้ง 3 เท่ากับ 3,000 กระป๋อง ซึ่งเท่ากับจำนวนสินค้าที่ตัวแทนจำหน่ายทั้ง 4 ต้องการพอดี

  11. 5.2.1 (Sai!=Sbj) • ในทางปฏิบัติแล้วเป็นไปไม่ได้ที่จำนวนสินค้าที่จุดเริ่มต้นจะมีเท่ากับจำนวนสินค้าที่ต้องการที่จุดปลายทาง • จึงจำเป็นต้องเพิ่มตัวแปรสมมติ (Dummy Variable) ซึ่งอาจจะเป็นตัวแปรจุดต้นทางสมมติ (Dummy Origin) หรือตัวแปรจุดปลายทางสมมติ (Dummy Destination)

  12. 5.2.1 กรณี Sai<Sbj

  13. 5.2.1 กรณี Sai>Sbj

  14. 5.3.2 การแก้ปัญหาการจัดส่งสินค้าโดยใช้ตัวแบบการขนส่ง

  15. 5.4 ขั้นตอนการแก้ปัญหาตัวแบบการขนส่ง • การแก้ปัญหาโดยตัวแบบการขนส่งมีอยู่หลายวิธีด้วยกันคือ • วิธีมุมพายัพ (Northwest Corner Model) • วิธีแถวนอนเหนือใต้ (North to South Row Method) • วิธีการประมาณค่าของโวเกล(Vogel’s Approximation Method) • วิธีช่องทางที่ค่าใช้จ่ายต่ำสุด (Minimum Cost Method) • ไม่ว่าจะเป็นวิธีใดก็ตามจะประกอบด้วย 2 ขั้นตอนด้วยกันคือ • เลือกช่องทางที่จะจัดส่งสินค้า • กำหนดจำนวนสินค้าในช่องทางนั้น

  16. วิธีมุมพายัพ • เลือกตัวแปร Xijที่อยู่ที่ทิศตะวันตกเฉียงเหนือที่สุด • กำหนดค่าของ Xijที่ถูกเลือกให้เท่ากับ min(ai,bj) • หักจำนวนสินค้าออกจากai และ bj • ถ้าสินค้าทั้งหมดถูกใช้หมดแล้วให้หยุด • ถ้าสินค้า ai หมดให้ลบแถว iแต่ถ้าสินค้า bj หมดให้ลบสดมภ์ j • กลับไปทำงานขั้นตอนที่ 1 ใหม่

  17. วิธีมุมพายัพ

  18. วิธีมุมพายัพ

  19. วิธีมุมพายัพ

  20. วิธีมุมพายัพ

  21. วิธีมุมพายัพ

  22. วิธีมุมพายัพ

  23. วิธีมุมพายัพ

  24. วิธีมุมพายัพ

  25. วิธีมุมพายัพ

  26. วิธีมุมพายัพ

  27. วิธีมุมพายัพ

  28. วิธีมุมพายัพ

  29. วิธีมุมพายัพ

  30. วิธีมุมพายัพ

  31. วิธีมุมพายัพ

  32. วิธีมุมพายัพ

  33. วิธีมุมพายัพ

  34. วิธีมุมพายัพ

  35. วิธีมุมพายัพ

  36. วิธีมุมพายัพ • Z=1000*4+200*6+400*14+400*4+500*8+500*10 = 21,400 บาท

  37. วิธีแถวนอนเหนือใต้ • เลือกตัวแปร Xijที่อยู่แถวนอนเหนือสุดและมีค่าใช้จ่ายต่ำสุด • กำหนดค่าของ Xijที่ถูกเลือกให้เท่ากับ min(ai,bj) • หักจำนวนสินค้าออกจากai และ bj • ถ้าสินค้าทั้งหมดถูกใช้หมดแล้วให้หยุด • ก. ถ้าสินค้า ai ยังไม่หมดให้เลือก Xijที่มีค่าใช้จ่ายต่ำสุดของแถวนั้นอันต่อไปแล้วไปทำงานที่ขั้นตอนที่ 2 ข. ลบแถวออกแล้วไปทำงานที่ขั้นตอนที่ 1

  38. วิธีแถวนอนเหนือใต้

  39. วิธีแถวนอนเหนือใต้

  40. วิธีแถวนอนเหนือใต้

  41. วิธีแถวนอนเหนือใต้

  42. วิธีแถวนอนเหนือใต้

  43. วิธีแถวนอนเหนือใต้

  44. วิธีแถวนอนเหนือใต้

  45. วิธีแถวนอนเหนือใต้

  46. วิธีแถวนอนเหนือใต้

  47. วิธีแถวนอนเหนือใต้

  48. วิธีแถวนอนเหนือใต้

  49. วิธีแถวนอนเหนือใต้

  50. วิธีแถวนอนเหนือใต้

More Related