1 / 11

ว 30202 ความหนืด (Viscosity)

ว 30202 ความหนืด (Viscosity). อ.กิติศักดิ์ บุญขำ สาขาวิชาฟิสิกส์ โรงเรียน มหิดลวิทยานุสรณ์. ความหนืด (Viscosity). ของเหลวทุกชนิดมีความหนืด (viscosity) ของเหลวที่มีความหนืดมาก จะมีแรงต้านการเคลื่อนที่มาก เรียกว่า แรงหนืด (viscous force) แรงหนืดในของเหลวแต่ละชนิดมีค่าไม่เท่ากัน.

Télécharger la présentation

ว 30202 ความหนืด (Viscosity)

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. ว 30202ความหนืด (Viscosity) อ.กิติศักดิ์ บุญขำ สาขาวิชาฟิสิกส์ โรงเรียน มหิดลวิทยานุสรณ์

  2. ความหนืด (Viscosity) • ของเหลวทุกชนิดมีความหนืด (viscosity) • ของเหลวที่มีความหนืดมาก จะมีแรงต้านการเคลื่อนที่มาก เรียกว่า • แรงหนืด (viscous force) • แรงหนืดในของเหลวแต่ละชนิดมีค่าไม่เท่ากัน

  3. ความหนืด (Viscosity) • ของไหลอุดมคติ • การไหลเป็นแบบสายกระแสไม่มีแรงเสียดทานระหว่างกระแส • ชั้นของของไหลอุดมคติเคลื่อนที่ด้วยความเร็วเท่ากันพนพื้นที่หน้าตัดเดียวกัน

  4. ความหนืด (Viscosity) • ของไหลที่มีความหนืด (viscous fluid) • สมบัติของของไหลที่ต้านการเคลื่อนที่ของวัตถุ เรียกว่า ความหนืด • เมื่อมีวัตถุเคลื่อนที่ผ่านหรือเมื่อมันไหลผ่านวัตถุใด ๆ จะมีแรงเสียดทานกระทำต่อวัตถุโดยของไหลนั้น ๆ เสมอ • แรงต้านการเคลื่อนที่ ที่เกิดจากการไหลเรียกว่า แรงหนืด (Viscous force)

  5. ความหนืด (Viscosity) • ตัวอย่างการไหลของของไหลที่มีความหนืด • ของไหลที่มีความหนืดอยู่ระหว่างแผ่นระนาบสองแผ่น • การไหลแบบนี้เรียกว่า laminar flow (การไหลแบบแผ่นบาง) • ซึ่งจะเกิดแรงเสียดทานภายในระหว่างชั้นลามินา • อัตราเร็วของของไหลแต่ละชั้นจะแตกต่างกัน • ความเค้นเฉือนจะแปรผันตรงกับอัตราการเปลี่ยนแปลงความเครียด

  6. ความหนืด (Viscosity) • พิจารณาอัตราการเปลี่ยนแปลงความเครียด (rate of change of strain หรือ strain rate) • อัตราการเปลี่ยนแปลงความเครียด • นิยามของความหนืด คือ • อัตราส่วนของความเค้นต่ออัตราการเปลี่ยนเปลี่ยนแปลงความเครียด • ใช้อักษรกรีก แทนสัมประสิทธ์ของความหนืด (เรียกสั้น ๆ ว่า ความหนืด) • จัดสมการใหม่ • แรงที่ใช้ในการทำให้ของไหล ไหล ซึ่งแปรผันตรงกับอัตราเร็ว • หน่วยเป็น N.s/m2 หรือ Pa.s

  7. ความหนืด (Viscosity) • กฎของปัวซอยย์ (Poiseuille’s Law) • พิจารณาอัตราการไหล ของของไหลที่มีความหนืดในท่อทรงกระบอกที่มีพื้นที่หน้าตัดคงที่ • อัตราการไหลมีค่ามากที่สุดตรงกลางท่อและอัตราเร็วเป็นศูนย์ที่ผนังท่อ

  8. ความหนืด (Viscosity) • กฎของปัวซอยย์ (Poiseuille’s Law) • พิจารณาชั้นลามินาที่มีรัศมี r จากสมการ • จะได้สมการที่บรรยายอัตราเร็วของการไหลที่ตำแหน่งต่าง ๆ บนหน้าตัดทรงกระบอก

  9. ความหนืด (Viscosity) • กฎของปัวซอยย์ (Poiseuille’s Law) • เพื่อหาอัตราการไหล (volume flow rate) • พิจารณาวงแหวนเล็ก ๆ ที่มีรัศมีภายใน r รัศมีภายนอก r+dr • อัตราการไหล dV/dt จะมีค่าเป็น vdA • อินทิเกรตจาก r = 0 ถึง r = R จะได้ • อัตราการไหลแปรผกผันกับความหนืด • อัตราการไหลแปรผันตรงกับกำลังสี่ของรัศมีของท่อ

  10. ความหนืด (Viscosity) • กฎของโต๊ก (Stokes’ Law) • เมื่อของไหลที่มีความหนืดไหลผ่านวัตถุที่มีรูปร่างเป็นทรงกลม • หรือวัตถุทรงกลมเคลื่อนที่ผ่านของไหลที่มีความหนืดที่อยู่นิ่ง • จะมีแรงเสียดทานกระทำต่อวงกลม ดังนี้ • ดาส

  11. ความหนืด (Viscosity) • กฎของโต๊ก (Stokes’ Law) • เมื่อของไหลที่มีความหนืดไหลผ่านวัตถุที่มีรูปร่างเป็นทรงกลม • หรือวัตถุทรงกลมเคลื่อนที่ผ่านของไหลที่มีความหนืดที่อยู่นิ่ง • ดาส

More Related