1 / 12

เศรษฐกิจไทยโดยนิด้าโมเดล: ผลของการส่งออกต่อการขยายตัวของ GDP NIDA Macro Forecast

กันยายน 2 555. เศรษฐกิจไทยโดยนิด้าโมเดล: ผลของการส่งออกต่อการขยายตัวของ GDP NIDA Macro Forecast. ผศ. ดร. ยุทธนา เศรษฐ ปราโมทย์ ผู้อำนวยการหลักสูตรเศรษฐศาสตร์การเงิน คณะพัฒนาการเศรษฐกิจ สถาบัน บัณฑิตพัฒ นบริหารศาสตร์. Key Assumptions.

wendi
Télécharger la présentation

เศรษฐกิจไทยโดยนิด้าโมเดล: ผลของการส่งออกต่อการขยายตัวของ GDP NIDA Macro Forecast

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. กันยายน 2555 เศรษฐกิจไทยโดยนิด้าโมเดล: ผลของการส่งออกต่อการขยายตัวของ GDPNIDA Macro Forecast ผศ. ดร. ยุทธนา เศรษฐปราโมทย์ ผู้อำนวยการหลักสูตรเศรษฐศาสตร์การเงิน คณะพัฒนาการเศรษฐกิจ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์

  2. Key Assumptions • เศรษฐกิจโลกจะทยอยฟื้นตัวอย่างช้าๆ ในปี 2012 และจะดีขึ้นในปี 2013 ส่งผลต่อมูลค่าการค้าโลกและราคาน้ำมันดิบในตลาดโลกจะค่อย ๆ ปรับตัวเพิ่มขึ้นช้า ๆ ในปี 2012 และจะเพิ่มขึ้นในอัตราที่สูงขึ้นในปี 2013 • นโยบายการขึ้นค่าจ้างแรงงานขึ้นต่ำจาก 215 บาทเป็น 300 บาท ไตรมาสที่ 2/2012 และคงที่จนถึงสิ้นปี 2013 • การใช้จ่ายภาครัฐในปี 2012 และ 2013 จะเพิ่มขึ้นจากปี 2011 โดยเฉพาะโครงการลงทุนขนาดใหญ่ และโครงการที่ล่าช้าจากปี 2011

  3. NIDA MACRO FORECAST: 2012 - 2013

  4. GDP GROWTH OUTLOOK: 2012 - 2013

  5. International Trade Outlook: 2012 - 2013

  6. International Trade OUTLOOK: 2012 - 2013

  7. Summary of Economics Outlook: 2555 • NIDA Macro Forecast ประมาณการว่าเศรษฐกิจในปี2555 จะขยายตัวร้อยละ 5.0 ลดลงจากค่าพยากรณ์ครั้งที่ผ่านมาเมื่อเดือนมิถุนายนและมีนาคมซึ่งคาดว่าเศรษฐกิจจะขยายตัวร้อยละ 5.5 และ 5.8 ตามลำดับ • เศรษฐกิจไทยในไตรมาสที่ 2 ที่ผ่านมาขยายตัวร้อยละ 4.2 (YoY) ซึ่งสาเหตุหลักมากจากการบริโภคและการลงทุนภาคเอกชนที่ขยายตัวต่อเนื่อง (ร้อยละ 5.3 และ 11.8 ตามลำดับ) • อย่างไรก็ตามการปรับลดประมาณการในไตรมาสนี้เกิดจากปัญหาเศรษฐกิจโลกที่ส่งให้มูลค่าการค้ารวมของโลกชะลอตัวโดยเฉพาะในช่วงไตรมาสที่ 3-4

  8. International Trade Outlook • อย่างไรก็ตามการปรับลดประมาณการในไตรมาสนี้เกิดจากปัญหาเศรษฐกิจโลกที่ส่งให้มูลค่าการค้ารวมของโลกชะลอตัวโดยเฉพาะในช่วงไตรมาสที่ 3 • ผลกระทบต่อการส่งออกส่งผลเร็วและแรงกว่าที่คาดการณ์ในเดือนก.ค.ที่ผ่านมา (-4.5%) ในขณะที่มูลค่าการนำเข้ายังคงขยายตัวต่อเนื่อง (+13.7%) ดังนั้นในช่วง ม.ค.- ก.ค.2555 ที่ผ่านมาจึงมียอดสะสมการขยายตัวของมูลค่าการส่งออกและการนำเข้าที่ -0.4% และ +10.5% • คาดการณ์ว่าทั้งปี 2555 มูลค่าการส่งออกคิดเป็น USD จะขยายตัวร้อยละ 6.4ในขณะที่มูลค่าการนำเข้าคิดเป็น USD จะขยายตัวร้อยละ 8.8

  9. Summary of Economics Outlook: 2556 • ปี 2556 คาดว่าเศรษฐกิจจะขยายตัว 5.4% จากการฟื้นตัวของการส่งออกที่คาดว่าจะมีแนวโน้มดีขึ้นจากเศรษฐกิจสหรัฐฯ ที่น่าจะดีขึ้นตามนโยบายการกระตุ้นเศรษฐกิจ • การลดการสะสมสินค้าคงคลังในประเทศพัฒนาแล้วในช่วงที่วิกฤต EURO ZONE มีความเสี่ยงสูง ซึ่งส่งผลต่อมูลค่าการนำเข้าโลกในปี 2555 จะลดลง และการสะสมสินค้าคงคลังใหม่จะเกิดขึ้นในปี 2556 (คล้ายคลึงกับเหตุการณ์ในปลายปี 2551 – 2552 • มูลค่าการส่งออก (ในรูป USD) น่าจะขยายตัวร้อยละ 19.0ในปี 2556

  10. Inflation Pressure: 2555 - 2556 • แรงกดดันเงินเฟ้อของไทยในปี 2555 ลดลงจากช่วงต้นปีตามการลดลงของราคาน้ำมันดิบและสินค้าโภคภัณฑ์ในตลาดโลก • การต่ออายุการอุดหนุนด้านพลังงานมีผลต่อการลดลงของเงินเฟ้อเช่นกัน • เงินเฟ้อในไตรมาสที่ 4 มีแนวโน้มปรับตัวสูงขึ้นตามการเพิ่มขึ้นของราคาพลังงานและผลต่อเนื่องจากการขึ้นค่าจ้างแรงงานขั้นต่ำ • คาดการณ์ว่าในปี 2555 นี้อัตราเงินเฟ้อทั่วไปและอัตราเงินเฟ้อพื้นฐานจะเพิ่มขึ้นเป็นร้อยละ 3.1 และ 2.2 ตามลำดับ • ในปี 2556 แรงกดดันเงินเฟ้อจะอยู่ในระดับใกล้เคียงกับปี 2555 โดยอัตราเงินเฟ้อทั่วไปและอัตราเงินเฟ้อพื้นฐานจะอยู่ที่ร้อยละ 3.1และ 1.7ตามลำดับ

  11. Monetary Policy in 2555 - 2556 • ในช่วงครึ่งปีหลังคาดว่าอัตราดอกเบี้ยน่าจะทรงตัว แต่อาจมีการปรับลงได้หากแนวโน้มการค้าโลกยังคงชะลอตัวต่อเนื่อง • อัตราดอกเบี้ยที่แท้จริงที่ยังติดลบหรือใกล้เคียงกับศูนย์มาก เป็นแรงกดดันให้การลดดอกเบี้ยยังไม่เกิดขึ้นในปัจจุบัน เพราะอาจก่อให้เกิดการขยายตัวของสินเชื่อที่สูงเกินไปและการเพิ่มขึ้นของราคาสินทรัพย์โดยเฉพาะอสังหาริมทรัพย์ในลักษณะฟองสบู่

  12. www.facebook.com/NIDAMacroForecast

More Related