1 / 15

แผนการพัฒนาระบบบริการสุขภาพ ( Service plan ) สาขาสุขภาพช่องปาก จังหวัดกำแพงเพชร ปี 2557

แผนการพัฒนาระบบบริการสุขภาพ ( Service plan ) สาขาสุขภาพช่องปาก จังหวัดกำแพงเพชร ปี 2557. อัตรากำลัง ทันต บุคลากรจังหวัดกำแพงเพชร ปี 2557. สัดส่วนยู นิต ทันตก รรม. ปัญหาสุขภาพช่องปากของประชาชนจังหวัดกำแพงเพชร ปี 2557. 1. โรคฟันผุในเด็กเล็ก และเด็กวัยเรียน 2. การบดเคี้ยวในกลุ่มผู้สูงอายุ

yamal
Télécharger la présentation

แผนการพัฒนาระบบบริการสุขภาพ ( Service plan ) สาขาสุขภาพช่องปาก จังหวัดกำแพงเพชร ปี 2557

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. แผนการพัฒนาระบบบริการสุขภาพ(Service plan )สาขาสุขภาพช่องปากจังหวัดกำแพงเพชร ปี 2557

  2. อัตรากำลังทันตบุคลากรจังหวัดกำแพงเพชร ปี 2557 สัดส่วนยูนิตทันตกรรม

  3. ปัญหาสุขภาพช่องปากของประชาชนจังหวัดกำแพงเพชร ปี 2557 1.โรคฟันผุในเด็กเล็ก และเด็กวัยเรียน 2.การบดเคี้ยวในกลุ่มผู้สูงอายุ 3.การเข้าถึงบริการสุขภาพช่องปาก

  4. กลุ่มเด็กปฐมวัย(อายุ 3ปี) เกิดโรคฟันผุในฟันน้ำนมไม่เกิน ร้อยละ 57(ผลการสำรวจรายCUP จังหวัดกำแพงเพชรปี 2556) ปัจจัยเสี่ยงสาเหตุ 1 อนามัยช่องปากไม่สะอาด 2. มีพฤติกรรมการดื่มนมหวาน ดูดนมหลับคาปาก 3. ไม่ได้แปรงฟัน แปรงไม่สะอาด 4.รับประทานรสหวาน ขนมกรุบกรอบเกินวันละ 2 ครั้ง 4

  5. กลุ่มเด็กวัยเรียน(อายุ 12 ปี /นร. ป.6) เกิดโรคฟันผุในฟันถาวรไม่เกินร้อยละ 55(ผลการสำรวจราย CUP จังหวัดกำแพงเพชรปี 2556 ) ปัจจัยเสี่ยงสาเหตุ 1 อนามัยช่องปากไม่สะอาด 2. มีพฤติกรรมการบริโภคอาหารรสหวาน ดื่มน้ำอัดลม รับประทานขนมกรุบกรอบเกินวันละ 2 ครั้ง 5

  6. ผู้สูงอายุมีฟันใช้งานได้อย่างเหมาะสมมีฟันหลัง 4 คู่สบขึ้นไปร้อยละ 52 (ผลการสำรวจรายCUP จังหวัดกำแพงเพชร ปี 2556) ปัจจัยเสี่ยงสาเหตุ 1 วัยทำงานและผู้สูงอายุเป็นโรคแล้วไม่ได้รับการรักษา 2. เข้าไม่ถึงบริการ แพง เสียเวลาทำงาน ไม่มีคนพาไป 3. สูญเสียฟันยังไม่ได้ใส่ฟันเทียม

  7. เป้าหมาย Oral Health Service Plan ปี 2557 • ลดอัตราป่วย • เด็กอายุ 3 ปี มีฟันน้ำนมผุ ไม่เกินร้อยละ 55 • เด็กอายุ 12 ปี มีฟันแท้ผุ ไม่เกิน ร้อยละ 45 • ผู้สูงอายุมีฟันใช้บดเคี้ยวฟันหลัง 4 คู่สบ ร้อยละ 52 • ลดระยะเวลารอคอย • ประชาชน รอคิวทำฟันเทียมและงานบริการทันตกรรมอื่นๆ ไม่เกิน 3 เดือน • เพิ่มการเข้าถึงบริการสุขภาพช่องปาก • อัตราการใช้บริการทันตกรรมทุกสิทธิ์ต่อ 1000 ประชากรเป็น 2 เท่าของปี 2555 ในปี 2560 (500 ครั้ง ต่อ 1000 ประชากร) • จัดบริการทันตกรรมใน รพ.สต. ร้อยละ 45

  8. กระบวนการแก้ปัญหาโรคในช่องปากปี 2557 งบประมาณ ปี 2557 11,500,651.96 บาท

  9. แผนการดำเนินงาน ปี 2557 ลดอัตราป่วย เด็กปฐมวัยอายุ 3 ปี มีฟันน้ำนมผุไม่เกินร้อยละ 55 • หญิงตั้งครรภ์ได้รับการตรวจและบันทึกสุขภาพช่องปาก/ฝึกทักษะ • หญิงตั้งครรภ์ได้รับการรักษาแบบผสมผสาน • เด็กอายุต่ำกว่า 3ปีได้รับการตรวจสุขภาพช่องปาก • พ่อแม่ผู้ดูแลเด็กได้รับการฝึกแปรงฟันให้ลูก • เด็กอายุต่ำกว่า3ปีที่มีความเสี่ยงฟันผุ ได้รับการทาฟลูออไรด์วาร์นิชเพื่อป้องกันฟันผุ • เด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กได้รับการตรวจสุขภาพช่องปาก ผปค.และผดด.ได้รับการให้ทันตสุขศึกษา • พัฒนาศูนย์พัฒนาเด็กเล็กอ่อนหวาน

  10. แผนการดำเนินงาน ปี 2557 ลดอัตราป่วย โรคฟันผุในเด็กวัยเรียน เด็กอายุ 12 ปี มีฟันแท้ผุ ไม่เกินร้อยละ 45 • เด็กนักเรียนป.1 ได้รับการตรวจและบันทึกสุขภาพช่องปาก • เด็กนักเรียนป.1 ได้รับการเคลือบหลุมร่องฟัน • เด็กนักเรียนป.1 ได้รับการรักษา Comprehensive care • พัฒนา/ขยาย กลุ่มโรงเรียนเครือข่ายเด็กไทยฟันดี สูงอายุมีฟันใช้งานได้อย่างเหมาะสมมีฟันหลัง 4 คู่สบขึ้นไป ร้อยละ 52 • การตรวจสุขภาพช่องปากผู้สูงอายุ การขูดหินปูน • การทาฟลูออไรด์วานิชเพื่อป้องกันฟันผุบริเวณรากฟัน • การจัดบริการใส่ฟันเทียม • การส่งเสริมสุขภาพช่องปากในชมรมผู้สูงอายุ

  11. แผนการดำเนินงาน ปี 2557 4. เพิ่มการเข้าถึงบริการทุกกลุ่มวัย - เพิ่มการเข้าถึงบริการทันตกรรม2 เท่า (500 ครั้ง:1000 ประชากร) - จัดบริการสุขภาพช่องปากคุณภาพครอบคลุม รพ.สต. และ ศสม. ร้อยละ 45 (อยู่ประจำและหมุนเวียน อย่างน้อย 1 วัน/สัปดาห์) • วางแผนพื้นที่ออกให้บริการ กำลังคน และครุภัณฑ์(ยูนิตทำฟัน) • เพิ่มสัดส่วนทันตาภิบาลใน รพ.สต.(โครงการเร่งผลิต) • เพิ่มการหมุนเวียนทันตบุคลากร ไปให้บริการทันตกรรมในรพ.สต.

  12. การดำเนินงานตามระดับหน่วยบริการการดำเนินงานตามระดับหน่วยบริการ • ปฐมภูมิ • จัดบริการทันตกรรมรักษาขั้นพื้นฐาน และส่งเสริมป้องกันตามกลุ่มวัย • เพิ่มจำนวน รพ.สต.ให้บริการทันตกรรม • พัฒนา การส่งต่อการรักษาทางทันตกรรม • พัฒนาระบบสารสนเทศ เชื่อมระบบข้อมูล รพ.สต.รพช./ รพท. และ สสจ. • ประสานความร่วมมือชุมชนให้มีส่วนร่วมในการจัดระบบบริการทันตกรรม

  13. การดำเนินงานตามระดับหน่วยบริการการดำเนินงานตามระดับหน่วยบริการ • ทุติยภูมิ • จัดบริการทันตกรรม ส่งเสริม ป้องกัน รักษา และฟื้นฟู • จัดบริการทันตกรรมหมุนเวียนไปเพิ่มจุดบริการทันตกรรมที่ รพ.สต. • พัฒนาศักยภาพทันตาภิบาลใหม่ในพื้นที่ • พัฒนาระบบสารสนเทศ บุคลากร การนำเข้าข้อมูล และการเชื่อมโยงข้อมูล • ตติยภูมิ • จัดบริการทันตกรรมเฉพาะทาง และมีแผนจัดตั้งศูนย์ทันตกรรมเชี่ยวชาญศัลยศาสตร์ช่องปาก • พัฒนาศักยภาพทันตแพทย์ ให้มีความเชี่ยวชาญเฉพาะทาง และทพ.จบใหม่ • ปรับปรุง พัฒนาระบบส่งต่อภายในเครือข่าย (Node) • พัฒนาระบบสารสนเทศ

  14. ปัญหาและอุปสรรค • ด้านกำลังคน ความไม่เพียงพอของทันตบุคลากร โดยเฉพาะทันตาภิบาล และผู้ช่วยทันตแพทย์ เนื่องจากผลิตน้อยและขาดความก้าวหน้าในวิชาชีพ • ด้านครุภัณฑ์ : เช่น ยูนิตทันตกรรมยังไม่เพียงพอต่อการขยายบริการทันตกรรมในรพ.สต. และที่มีอยู่ไม่สามารถใช้งานได้อย่างเต็มประสิทธิภาพเนื่องจากเกิดการชำรุดไม่ได้รับการซ่อมแซมหรือจัดสรรใหม่ • ด้านข้อมูลสารสนเทศ ระบบการจัดเก็บข้อมูล และการเชื่อมโยงข้อมูลระหว่างระดับ รพ.สต.รพช./รพท. และสสจ.

  15. แนวทางแก้ไข/พัฒนา ปี 2557 • ได้รับจัดสรรทันตาภิบาลเพิ่ม 17 คน จาก โครงการเร่งผลิตทันตาภิบาล โดยการร่วมผลิตระหว่างหน่วยบริการในพื้นที่และวิทยาลัยสาธารณสุขสิรินทร • จัดทำแผนความต้องการกำลังคน/ยูนิตทันตกรรมและเสนอต่อผู้บริหาร • ระบบสารสนเทศ แต่งตั้งคณะกรรมการด้านสารสนเทศงานทันตสาธารณสุข เพื่อบริหารจัดการระบบข้อมูลต่างๆทางทันตฯและเชื่อมโยงข้อมูลในระบบ MIS ของจังหวัด

More Related