1 / 54

แผนการให้บริการช่วยเหลือเฉพาะครอบครัว Individualized Family Service Plan

แผนการให้บริการช่วยเหลือเฉพาะครอบครัว Individualized Family Service Plan. IFSP. ดร.สมพร หวานเสร็จ ผู้อำนวยการเชี่ยวชาญ โรงเรียนพิบูลประชาสรรค์. ขั้นตอนกระบวนการปรับเปลี่ยนทางอารมณ์ ของผู้ปกครอง ตั้งแต่รู้ว่ามีลูกพิการ. ยอมรับ. เรียบเรียงความคิด. ไม่ตอบสนอง. เศร้า. โกรธ. ปฏิเสธ.

riona
Télécharger la présentation

แผนการให้บริการช่วยเหลือเฉพาะครอบครัว Individualized Family Service Plan

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. แผนการให้บริการช่วยเหลือเฉพาะครอบครัวแผนการให้บริการช่วยเหลือเฉพาะครอบครัว Individualized Family Service Plan IFSP ดร.สมพร หวานเสร็จผู้อำนวยการเชี่ยวชาญ โรงเรียนพิบูลประชาสรรค์

  2. ขั้นตอนกระบวนการปรับเปลี่ยนทางอารมณ์ ของผู้ปกครอง ตั้งแต่รู้ว่ามีลูกพิการ ยอมรับ เรียบเรียงความคิด ไม่ตอบสนอง เศร้า โกรธ ปฏิเสธ ตกใจ

  3. รูปแบบการพัฒนาศักยภาพเด็กพิการโดยครอบครัวรูปแบบการพัฒนาศักยภาพเด็กพิการโดยครอบครัว รูปแบบที่ 1 ปฏิบัติตามคำแนะนำของผู้เชี่ยวชาญ (Expert Model) รูปแบบที่ 2 การส่งต่อความรู้ (Transplant Model) รูปแบบที่ 3 ผู้ปกครองเป็นลูกค้าที่มารับบริการ (Consumer Model) รูปแบบที่ 4 การมีส่วนร่วมระหว่างผู้ปกครอง กับผู้เชี่ยวชาญ (Partnership Model )

  4. หลักการสำคัญของ IFSP • ตระหนักว่าครอบครัวเป็นรากฐานที่สำคัญของชีวิต • อื้ออำนวยให้เกิดการประสานความร่วมมือระหว่าง ครอบครัวและบุคลากรที่เกี่ยวข้อง • รู้และเข้าใจถึงศาสนา วัฒนธรรมและฐานะทางการเงินของครอบครัว • เข้าใจถึงจุดแข็งและความแตกต่างของวิถีชีวิตของแต่ละครอบครัว • ครอบครัวได้แลกเปลี่ยนข้อมูลต่างๆ เพื่อช่วยในการตัดสินใจช่วยเหลือ • ตระหนักถึงความสำคัญของพัฒนาการที่จำเป็นของเด็กและครอบครัว • จัดหาบริการต่างๆ อย่างต่อเนื่องให้กับครอบครัว • จัดให้มีบุคลากรที่เกี่ยวข้องทำการประเมิน รักษา แนะนำ และให้บริการอย่างมีคุณภาพ

  5. หลักการสำคัญของ IFSP • จัดให้มีบริการสนับสนุนและบรรเทาความเครียด ด้านอารมณ์ การเงิน การศึกษา การรักษาพยาบาลแก่ครอบครัว • สนับสนุนการสร้างเครือข่ายของผู้ปกครอง • เคารพสิทธิของครอบครัวในการเลือกรับบริการ • จัดทำแผนการช่วยเหลือตามลำดับและตรงตามความต้องการของครอบครัว • มีความยืดหยุ่น เหมาะสมกับสภาพแวดล้อมและเป็นประโยชน์ต่อเด็ก

  6. ความหมาย The Nebraska Department of Education (2004) “เป็นแผนที่บันทึกเป็นลายลักษณ์อักษรซึ่งเกิดจากกระบวนการประชุมกันระหว่างครอบครัวและนักวิชาชีพ เพื่อพัฒนาเด็กพิการตั้งแต่แรกเกิดถึง 3 ขวบ ถือเป็นส่วนหนึ่งของกฎหมายด้านการศึกษาพิเศษ”

  7. กระบวนการให้บริการ IFSP

  8. 1

  9. ขั้นตอนการส่งต่อ(Referral) เพื่อประสานการรับบริการ • คำนึงถึงการยินยอมจากครอบครัวและประโยชน์ที่เด็กจะได้รับ

  10. 2

  11. 2. ครอบครัวเด็กพบผู้ประสานงานเพื่อรับบริการในครั้งแรก • ครอบครัวมีการแลกเปลี่ยนข้อมูลและพูดถึงปัญหาความต้องการของเด็ก • ผู้ประสานงานให้ความรู้เกี่ยวกับสิทธิและการให้บริการช่วยเหลือระยะแรกเริ่ม บทบาทหน้าที่ของครอบครัว

  12. 3

  13. 3. ทีมสหวิชาการ (นักการศึกษา นักจิตวิทยา นักแก้ไขการพูด นักกายภาพบำบัด นักกิจกรรมบำบัด นักตรวจการได้ยิน พยาบาล แพทย์ ฯลฯ) ประเมินความสามารถพื้นฐาน/พัฒนาการ

  14. 4

  15. 4. ประชุมทีมสหวิทยาการ เพื่อจัดทำร่าง IFSP

  16. 4

  17. 5. ชี้แจงและแลกเปลี่ยน ข้อมูลผลการประเมินกับครอบครัว

  18. ถ้าครอบครัวไม่เห็นด้วยถ้าครอบครัวไม่เห็นด้วย ส่งต่อเพื่อรับบริการอื่นหรือ ออกจากบริการ ถ้าครอบครัว เห็นด้วย จัดทำแผนให้บริการเฉพาะครอบครัว

  19. 4

  20. 6. การจัดตั้งทีมให้บริการ ได้แก่ 6.1 ครอบครัว พ่อแม่ เพราะมีข้อมูล รับรู้ความต้องการ ของเด็ก และเป็นผู้ตัดสินใจรับบริการ 6.2 สมาชิกในครอบครัวคนอื่นที่พ่อแม่พิจารณาเห็นว่ามีส่วนช่วยในการดูแลเด็ก 6.3 บุคคลอื่นที่พ่อแม่เห็นว่ามีส่วนสนับสนุนการให้บริการตาม IFSP 6.4 ผู้ประสานงานหรือผู้รับผิดชอบหลักในการจัดทำ IFSP 6.5 ผู้ประเมินความสามารถ/พัฒนาการของเด็ก 6.6 บุคคลอื่นที่เกี่ยวข้องกับการให้บริการ เช่นแพทย์ นักแก้ไขการพูด ฯลฯ

  21. 4

  22. 7.การประเมินโดยละเอียด ก่อนการให้บริการตาม IFSP รวบรวมข้อมูลที่ได้จากการสังเกต การประเมิน และสัมภาษณ์ เช่น • ความสามารถหรือพัฒนาการเด็ก • กิจวัตรประจำวันของเด็กและครอบครัว • ความสามารถของครอบครัวในการดูแลเด็ก • สภาพแวดล้อมของเด็ก • โอกาสในการใช้สิ่งแวดล้อม เพื่อการเรียนรู้ เช่น สนามหญ้า เพื่อใช้ฝึกการคลาน การนั่งบนกะบะทราย • ปัญหาและความต้องการของครอบครัว • จุดแข็งและสิ่งที่สามารถช่วยสนับสนุน ครอบครัวให้เผชิญกับปัญหา

  23. 4

  24. 8. ประชุมทีมผู้ให้บริการเพื่อวางแผนการให้บริการ โดยคำนึงถึง • ความสะดวกของครอบครัว วัฒนธรรมและภาษาที่ใช้ในการสื่อสารภายในครอบครัว • ลำดับความสำคัญของกิจกรรม • กำหนดกิจวัตรประจำวัน การเก็บรวบรวมข้อมูล การกำหนดกำหนดเป้าหมายและแผนการดำเนินกิจกรรมร่วมกัน

  25. 4

  26. 9. เริ่มแผนการบริการตามแผน ภายใน 5 วันหลังการได้รับการยินยอมจากครอบครัว ซึ่งครอบครัวมีสิทธิปฏิเสธแผนฯได้ หากเห็นว่าไม่เหมาะสม

  27. 4

  28. 10. ทบทวน IFSPภายใน 6 เดือนหรือตามเหมาะสม

  29. 4

  30. 10. ออกจากบริการ เมื่อ • บุคลากรลงความเห็น ตรงกัน • เด็กมีพัฒนาการก้าวหน้า ตามเป้าหมาย • ผู้ปกครองตัดสินใจไม่รับ บริการต่อ • อายุเกิน

  31. องค์ประกอบของ IFSP • ระดับพัฒนาการของเด็ก • การรวบรวมความต้องการจำเป็น • การกำหนดเป้าหมาย และ เกณฑ์การชี้วัดความสำเร็จ • บริการช่วยเหลือระยะแรกเริ่ม • บริการที่เหมาะสมกับแต่ละครอบครัว

  32. องค์ประกอบของ IFSP • ระบุวันเริ่มรับบริการ ช่วงระยะเวลาที่คาดการณ์ไว้สำหรับให้บริการ • ระบุชื่อผู้ประสานงาน • การเตรียมการเพื่อนำไปสู่การปรับแผนครั้งต่อไป

  33. ประโยชน์ของ IFSP • มีแนวทางในการพัฒนาเด็กอย่างถูกวิธี • ครอบครัวทราบเกี่ยวกับบริการ สถานที่ ระยะเวลาและกระบวนการช่วยเหลือ • ครอบครัวได้พัฒนาศักยภาพและมีส่วนร่วมในการกระตุ้นพัฒนาการเด็ก • ครอบครัวและบุคลากรที่เกี่ยวข้องเข้าใจพัฒนาการและความต้องการของเด็ก • ทำให้เกิดการเรียนรู้และมีการแลกเปลี่ยนประสบการณ์ระหว่างผู้เกี่ยวข้อง ทีมงาน ในการช่วยเหลือเด็กอย่างมีประสิทธิภาพ

  34. ตัวอย่างกิจกรรมในแผนการให้บริการช่วยเหลือเฉพาะครอบครัวตัวอย่างกิจกรรมในแผนการให้บริการช่วยเหลือเฉพาะครอบครัว Individual Family Services Plan: IFSP

  35. ภาษา รัก จากแม่ สู่ลูกออทิสติก

  36. น้องอาร์ม เป็นเด็กชายอายุ 5 ขวบ กรณีศึกษา วิ่งซุกซนไปมาอยู่ไม่นิ่ง ไม่สบตา ไม่มีภาษาพูด ไม่ชอบตัดเล็บ และไม่ชอบสวมหมวก มักจะเดินหมุนตัวเองอยู่เสมอคุณแม่ไม่รู้ว่าจะต้องดูแลอย่างไร

  37. กรณีศึกษา น้องเจน อายุ 4 ขวบ เดินไปมาแต่ไม่คล่องแคล่วมักเดินชนสิ่งกีดขวางไม่รู้จักเจ็บ ไม่รู้ร้อนไม่รู้หนาว สบตาน้อย ไม่สนใจใคร พูด และสื่อสารโดยภาษาท่าทางยังไม่ได้ เดินได้ตอนอายุ 2 ขวบ คุณหมอบอกว่าน้องเป็นออทิสติก

  38. มุมนี้ คุณแม่ใช้ฝึกผมทุกวันครับ

  39. กระตุ้นการรับสัมผัส

  40. กระตุ้นการรับรู้เอ็นและข้อต่อกระตุ้นการรับรู้เอ็นและข้อต่อ ลูกบอลห้อยติดเพดาน รอยเท้า

  41. ฝึกการทรงตัวและ รับรู้ส่วนต่างๆของร่างกาย ถังกลิ้ง PVC

  42. เก้าอี้หมุน เปลญวน

  43. รถบั๊ม ลวดมัดล้อติดกับไม้

  44. กลิ้งลูกกลมเสียบหลัก เกมข้าวต้มมัด

  45. กระตุ้นการสบตา จ๊ะเอ๋ !

  46. ทักษะทางสติปัญญา

  47. ฝึกการนับ ต่อตัวอักษร รู้จักสีต่าง ๆ

More Related