1 / 31

การใช้ Format ต่างๆ

การใช้ Format ต่างๆ. การกำหนด Format เอง. รูปแบบ ดังนี้ รูปแบบค่าบวก ;รูปแบบค่าลบ ;รูปแบบค่าศูนย์ ;รูปแบบตัวอักษร. กำหนดรูปแบบตัวเลข. เครื่องหมาย # ใช้แทนตำแหน่งของตัวเลขแต่ละตัว หากตัวเลขไม่มี ณ ตำแหน่งนั้น จะแทนด้วยช่องว่าง

yasuo
Télécharger la présentation

การใช้ Format ต่างๆ

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การใช้ Format ต่างๆ

  2. การกำหนด Format เอง รูปแบบ ดังนี้ รูปแบบค่าบวก ;รูปแบบค่าลบ ;รูปแบบค่าศูนย์;รูปแบบตัวอักษร

  3. กำหนดรูปแบบตัวเลข • เครื่องหมาย # ใช้แทนตำแหน่งของตัวเลขแต่ละตัว หากตัวเลขไม่มี ณ ตำแหน่งนั้น จะแทนด้วยช่องว่าง • เครื่องหมาย 0 ใช้แทนตำแหน่งของตัวเลขแต่ละตัว หากตัวเลขไม่มี ณ ตำแหน่งนั้น จะแทนด้วยเลข 0 ดังนั้นจึงมักพบว่า ณ ตำแหน่งเลขหลักหน่วย และเศษทศนิยม จึงกำหนดให้ใช้รูปแบบเป็นเลข 0 ไว้เสมอ เพื่อให้อย่างน้อยที่สุด จะแสดงค่า 0 ถ้ามีค่าเป็น 0 • หากไม่ต้องการใช้เครื่องหมาย Comma , โดยกำหนดให้ใช้ช่องว่าง Space แทน เช่น กำหนดรูปแบบเป็น # ##0 .00# ### ทำให้ค่า 12345.67890 แสดงเป็น 12 345 .678 9 • หากต้องการแทรกข้อความเข้าไปในรูปแบบ ให้ใส่ในเครื่องหมายคำพูดเสมอ โดยจะแทรกด้านหน้า ด้านหลัง หรือแม้แต่แทรกระหว่างรูปแบบตัวเลขก็ได้

  4. % • E

  5. การกำหนด Format เอง ตัวอย่าง • #,##0;-#,##0;0000;"Wrong"หมายถึง #,##0 เป็นรูปแบบค่าบวก -#,##0 เป็นรูปแบบค่าลบ 0000 เป็นรูปแบบค่าศูนย์ และให้ใช้คำว่า Wrong เมื่อค่าเป็นตัวอักษรใดๆ • 0;; ทำให้ไม่แสดงค่าที่เป็นลบและศูนย์ • 0;;; ทำให้ไม่แสดงค่าที่เป็นลบ ค่าศูนย์ และค่าที่เป็นตัวอักษร • 0_ ทำให้เลขห่างจากขอบขวา 1 เคาะ • 0" บาท" ทำให้เลข 100 แสดงออกมาว่า 100 บาท • "รวม "0" บาท" ทำให้เลข 100 แสดงออกมาว่า รวม 100 บาท

  6. "OK "#,##0;"Reject "-#,##0;"Non "0000;"Wrong" ทำให้เลข 1234 แสดงออกมาว่า OK 1,234ทำให้เลข -1234 แสดงออกมาว่า Reject -1,234ทำให้เลข 0 แสดงออกมาว่า Non 0000ทำให้ตัวอักษรใดๆ แสดงออกมาว่า Wrong • Text Format ทำให้ตัวเลขยังคงเป็นตัวเลขอยู่แม้ว่าจะแสดงผลร่วมกับตัวอักษร จึงยังสามารถนำตัวเลขไปคำนวณต่อได้ (ซึ่งต่างจากการใช้ Text Formula (&) และ Text Function เปลี่ยนตัวเลขให้กลายเป็นรูปแบบตัวอักษร ไม่สามารถนำไปคำนวณต่อ) 

  7. $ • #,##0.00_) • ; • [Red] • ($#,##0.00)

  8. กำหนดรูปแบบวัน/เวลา • d-m-Y • h:m:h • AM/PM • ว-ด-ป

  9. การใช้ Validation, List, Goal Seek

  10. การใช้ Validation, List, Goal Seek • List

  11. การใช้สูตร VLOOKUP และ HLOOKUP

  12. VLOOKUP รูปแบบฟังก์ชั่น = VLOOKUP(Lookup_value,table _array,Col_index_num) • Lookup_value : ค่าที่จาค้น • Table_array: ตารางข้อมูล • Col_index_num: คลอลัมน์ข้อมูล

  13. การแจกแจงความถี่

  14. บริษัทแห่งมีพนักงานหลายคน โดยพนักงานแต่ละคนมีอายุที่เท่ากัน และไม่ • เท่ากัน ซึ่งทางบริษัทต้องการประเมินว่า ช่วงความถี่ของอายุพนักงานมีเท่า • ใดบ้าง

  15. การแจกแจงความถี่ รูปแบบฟังก์ชั่น =FREQUENCY(Date_array,Bins_array) • Date_array : ช่วงข้อมูลที่อ้างอิงไปยังชุดของค่าที่กำหนดไว้ • Bins_array : ช่องความถี่ที่กำหนดขึ้น

  16. การจัดลำดับข้อมูล

  17. การจัดลำดับข้อมูล • ตัวอย่าง • บริษัทต้องการจัดลำดับพนักงาน ซึ่งการจัดลำดับพิจารณาจากยอดขายที่พนักงาน • คนนั้นๆ ขายได้รวมกับเงินเดือน ซึ่งจัดเรียงลำดับจากค่ามากไปหาน้อยที่สุด โดยที่ • จะต้องทำการรวมยอดขายและเงินเดือนเสียก่อน เพื่อเพิ่มเงินพิเศษให้อีกด้วย ซึ่งทาง • บริษัทมีหลักเกณฑ์ในการพิจารณาคือ • l หากยอดขายมากกว่า 300,000 บาท ให้นำ “ยอดขาย” + “เงินเดือน” *10% • l หากยอดขายมากกว่า 250,000 บาท แต่น้อยกว่า 300,000ให้นำ “ยอดขาย” + • “เงินเดือน” *9% • l หากยอดขายมากกว่า 200,000 บาท แต่น้อยกว่า 250,000 ให้นำ “ยอดขาย” + • “เงินเดือน” *8% • l หากยอดขายมากกว่า 100,000 บาท แต่น้อยกว่า 200,000 ให้นำ “ยอดขาย” + • “เงินเดือน” *7% • l หากยอดขายมากกว่า

  18. การจัดลำดับข้อมูล • l รูปแบบฟังก์ชั่น • =Rank(D4,$D$4:$D$12) • =Rank(Number,Ref,Order) • Number : ตัวเลขที่ต้องการจัดลำดับ • Ref : ช่วงข้อมูลหรือ อาร์เรย์ของรายการตัวเลขที่อ้างอิง • Order :ตัวเลขที่ระบุวิธีเรียงลำดับ ซึ่งได้เป็น 0 กับ 1 • 0 หมายถึงการเรียงจากน้อยไปมาก • 1 หมายถึงการเรียงจากมากไปน้อย

  19. การจัดลำดับข้อมูล

  20. การคิดค่าเสื่อมราคา

  21. การคิดค่าเสื่อมราคาแบบเท่ากันการคิดค่าเสื่อมราคาแบบเท่ากัน รูปแบบฟังก์ชั่น =SLN(Cost,Salvage,Life) • Cost = ต้นทุนสินทรัพย์ • Salvage = มูลค่าซาก • Life = อายุการใช้งาน

  22. ตัวอย่าง การคิดค่าเสื่อมราคาแบบเท่ากัน • นายเลิศ รักการดี ได้ซื้อชุดโฮมเธียเตอร์มาด้วยราคา 78,000 บาท เมื่อ3ปี • ก่อน และในขณะนี้เขาต้องการขายเป็นสินค้ามือสองในราคา 56,000บาท • โดยเขาต้องการทราบว่า หากตั้งราคาขายดังกล่าวจะได้ค่าเสื่อมราคาเท่าไร

  23. การคิดค่าเสื่อมราคาแบบเร่งรัดการคิดค่าเสื่อมราคาแบบเร่งรัด รูปแบบฟังก์ชั่น =SYD(Cost,Salvage,Life,Per) • Cost = ต้นทุนสินทรัพย์ • Salvage = มูลค่าซาก • Life = อายุการใช้งาน • Per = ปีที่จะคิดค่าเสื่อมราคา

  24. การคิดค่าเสื่อมราคาแบบเร่งรัดการคิดค่าเสื่อมราคาแบบเร่งรัด • ค่าเสื่อมราคาปีที่2 =SYD(F3,F4,F5,2) • 7,333 บาท

  25. ตัวอย่าง การคิดค่าเสื่อมราคาแบบอัตราเร่งรัด นายมนัส เหลืองวิลาศ ได้ซื้อเครื่องคอมพิวเตอร์ราคา 78,000 บาท ในปัจจุบันต้องการขายในราคา 56,000 บาท(มีอายุการใช้งานมาแล้ว 3 ปี) โดยเขาต้องการทราบว่า ค่าเสื่อมราคาเครื่องคอมพิวเตอร์เครื่องนี้ในปีที่2 มีค่าเท่าใด • หลักการคิด à อายุการใช้งานของเครื่องคอมพิวเตอร์ 3 ปี • ค่าตัวเลขที่ใช้ในการหาร = 1+2+3 เท่ากับ 6 ดังนั้นมูลค่าทรัพย์สินหลังจาก • หักมูลค่าซากแล้วได้ 78,000 – 56,000 = 22,000 บาท • ค่าเสื่อมราคาปีที่1 = 22000*(3/6) = 11,000 บาท • ค่าเสื่อมราคาปีที่2 = 22000*(2/6) = 7,333 บาท • ค่าเสื่อมราคาปีที่3 = 22000*(1/6) = 3,667 บาท

  26. การคิดค่าเสื่อมราคาแบบอัตราเร่งรัด กรณีที่2 สูตรฟังก์ชั่น l =SYD(B$3,B$4,B$5,(VALUE(RIGHT($A7)))) • l $ หมายถึงการบังคับค่าเซลล์ไม่ให้มีการเคลื่อนที่ได้ • l Value มีหน้าที่ในการแปลงตัวเลขที่พิมพ์ไว้แบบตัวอักษรให้กลายเป็นตัวเลข • l Right แสดงข้

  27. การคิดค่าเสื่อมราคาแบบอัตราเร่งรัด กรณีที่2 • นางสาวกานต์ ซื้อรถยนต์มาในราคา 980,500 บาท เมื่อ5ปีที่แล้ว ซึ่งปัจจุบัน • ต้องการขายในราคา 650,000 บาท โดยเขาต้องการคิดค่าเสื่อมราคาเพื่อดู • อัตราค่าเสื่อมในแต่ละปี ตั้งแต่ปีที่ 1-5โดยแจกแจงในแต่ละปี

  28. การคิดค่าเสื่อมราคาแบบอัตราเท่ากันของทรัพย์สินการคิดค่าเสื่อมราคาแบบอัตราเท่ากันของทรัพย์สิน รูปแบบฟังก์ชั่น =DDB(Cost,Salvage,Life,Per,Factor) • Cost = ต้นทุนสินทรัพย์ • Salvage = มูลค่าซาก • Life = อายุการใช้งาน • Per = ปีที่จะคิดค่าเสื่อมราคา • Factor = อัตราการเสื่อมสมดุล

  29. การคิดค่าเสื่อมราคาแบบอัตราเร่งรัด กรณีที่2

  30. การคิดค่าเสื่อมราคาแบบอัตราเร่งรัด กรณีที่2 • -อัตราค่าเสื่อมในแต่ละปี ตั้งแต่ปีที่ 1-5โดยแจก • แจงในแต่ละปี

  31. การคิดค่าเสื่อมราคาแบบอัตราเร่งรัด กรณีที่2

More Related