1 / 231

มาตรฐานโรงพยาบาล และบริการสุขภาพ ฉบับ พ.ศ. 2549

มาตรฐานโรงพยาบาล และบริการสุขภาพ ฉบับ พ.ศ. 2549. ตอนที่ I. การวัด วิเคราะห์ และจัดการความรู้. ตอนที่ IV. การวางแผน กลยุทธ์. การมุ่งเน้น ทรัพยากรบุคคล. ด้านการดูแลผู้ป่วย ด้านการมุ่งเน้นผู้รับผลงาน ด้านการเงิน ด้านทรัพยากรบุคคล ด้านประสิทธิผลขององค์กร ด้านการนำและสังคม

salena
Télécharger la présentation

มาตรฐานโรงพยาบาล และบริการสุขภาพ ฉบับ พ.ศ. 2549

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. มาตรฐานโรงพยาบาลและบริการสุขภาพฉบับพ.ศ. 2549

  2. ตอนที่ I การวัด วิเคราะห์ และจัดการความรู้ ตอนที่ IV การวางแผน กลยุทธ์ การมุ่งเน้น ทรัพยากรบุคคล ด้านการดูแลผู้ป่วย ด้านการมุ่งเน้นผู้รับผลงาน ด้านการเงิน ด้านทรัพยากรบุคคล ด้านประสิทธิผลขององค์กร ด้านการนำและสังคม ด้านสร้างเสริมสุขภาพ การนำ ผลลัพธ์ การมุ่งเน้นผู้ป่วย และสิทธิผู้ป่วย การจัดการ กระบวนการ ระบบงานสำคัญของ รพ. ตอนที่ II ตอนที่ III ความเสี่ยง ความปลอดภัย คุณภาพ การกำกับดูแลวิชาชีพ โครงสร้างกายภาพและสิ่งแวดล้อม การป้องกันการติดเชื้อ ระบบเวชระเบียน ระบบจัดการด้านยา ระบบการตรวจทดสอบฯ งานบริการโลหิต การทำงานกับชุมชน กระบวนการดูแลผู้ป่วย มาตรฐานโรงพยาบาล และบริการสุขภาพ ฉบับพ.ศ. 2549 กระบวนการดูแลผู้ป่วย การเข้าถึงและเข้ารับบริการ การประเมินผู้ป่วย การวางแผน การดูแลผู้ป่วย การให้ข้อมูลและเสริมพลัง การดูแลต่อเนื่อง

  3. I - 1. การนำ I - 1.1 การนำองค์กร โดยผู้นำระดับสูง I - 1.2 การกำกับดูแล และความรับผิดชอบต่อสังคม ผู้นำระดับสูงชี้นำองค์กรสื่อสารและสร้างสิ่งแวดล้อมที่ส่งเสริมผลการดำเนินงานที่ดีให้ความมั่นใจในคุณภาพและความปลอดภัยในการดูแลผู้รับบริการ. องค์กรแสดงถึงระบบการกำกับดูแลกิจการที่ดีความรับผิดชอบต่อสาธารณะสร้างความมั่นใจว่ามีการดำเนินงานอย่างมีจริยธรรมและมีส่วนสนับสนุนต่อสุขภาพของชุมชน.

  4. I - 2. การวางแผนกลยุทธ์ I –2.1 การกำหนดกลยุทธ์ I - 2.2 การนำกลยุทธ์ไปปฏิบัติ องค์กรกำหนดกลยุทธ์ / วัตถุประสงค์เชิงกลยุทธ์เพื่อชี้นำและสร้างความเข้มแข็งให้กับการดำเนินงานขององค์กรโดยรวมและสอดคล้องกับความท้าทายที่องค์กรเผชิญอยู่. องค์กรถ่ายทอดวัตถุประสงค์เชิงกลยุทธ์ไปสู่การปฏิบัติและติดตามความก้าวหน้าเพื่อให้มั่นใจว่าบรรลุเป้าประสงค์.

  5. I - 3. การมุ่งเน้นผู้ป่วยและสิทธิผู้ป่วย I -3.1 ความรู้เกี่ยวกับผู้ป่วย / ผู้รับผลงาน องค์กรรับรู้ความต้องการและความคาดหวังของผู้ป่วย / ผู้รับผลงานเพื่อให้มั่นใจว่าบริการที่จัดให้สอดคล้องกับความต้องการดังกล่าว I - 3.2 ความสัมพันธ์และความพึงพอใจของผู้รับผลงาน องค์กรสร้างความสัมพันธ์กับผู้ป่วย / ผู้รับผลงานเพื่อสร้างความเชื่อมั่นศรัทธาความพึงพอใจและความร่วมมือมีการประเมินและนำข้อมูลความพึงพอใจของผู้ป่วย / ผู้รับผลงานมาใช้ปรับปรุงการดำเนินงาน. I - 3.2 สิทธิผู้ป่วย องค์กรตระหนักและให้การคุ้มครองสิทธิผู้ป่วย.

  6. I - 4. การวัด วิเคราะห์ และจัดการความรู้ I - 4.1 การวัดวิเคราะห์และ ทบทวนผลงานขององค์กร I - 4.2 การจัดการสารสนเทศ และการจัดการความรู้ องค์กรสร้างความมั่นใจว่าข้อมูลและสารสนเทศที่จำเป็นสำหรับบุคลากร/ผู้ป่วย /ผู้รับผลงานมีคุณภาพและพร้อมใช้งาน. มีการจัดการความรู้เพื่อปรับปรุงประสิทธิภาพและประสิทธิผลขององค์กร. องค์กรจัดให้มีการวัดและวิเคราะห์ผลงานที่สอดคล้องไปในทิศทางเดียวกัน, มีการทบทวนประเมินผลและปรับปรุงผลงานในทุกระดับและทุกส่วนขององค์กร.

  7. I - 5. การมุ่งเน้นผู้ทรัพยากรบุคคล I -5.1 ระบบงาน ระบบงานขององค์กร, การกำหนดหน้าที่รับผิดชอบ, ระบบประเมินและพัฒนาผลงานของบุคลากร, การบริหารค่าตอบแทน, และวิธีปฏิบัติที่เกี่ยวข้องกับบุคลากรเกื้อหนุนให้บุคลากรและองค์กรมีผลงานที่ดีมีการเรียนรู้และปรับตัวเข้ากับการเปลี่ยนแปลง. I - 5.2 การเรียนรู้และการสร้างแรงจูงใจสำหรับบุคลากร ระบบการศึกษาฝึกอบรมและแรงจูงใจขององค์กรทำให้บุคลากรมีความรู้ทักษะและความสามารถที่จะส่งเสริมให้องค์กรบรรลุวัตถุประสงค์และมีผลงานที่ดี. I - 5.3 ความผาสุกและความพึงพอใจของบุคลากร องค์กรจัดให้มีสภาพแวดล้อมในการทำงานและบรรยากาศที่สนับสนุนให้บุคลากรมีสุขภาพดีมีความผาสุกมีความพึงพอใจและมีแรงจูงใจในการทำงาน

  8. I - 6. การจัดการกระบวนการ I - 6.1 กระบวนการบริการสุขภาพ / กระบวนการที่สร้างคุณค่า I - 6.2 กระบวนการสนับสนุน และการวางแผนดำเนินงาน กระบวนการสนับสนุนสำคัญได้รับการออกแบบควบคุมติดตามกำกับและปรับปรุงเพื่อให้ตอบสนองความต้องการและสร้างคุณค่าให้แก่ผู้ป่วยผู้รับผลงานและองค์กรอย่างมีประสิทธิผล. มีหลักประกันว่าจะมีทรัพยากรทางการเงินเพียงพอและมึความต่อเนื่องในการดำเนินการ. กระบวนการบริการสุขภาพสำคัญได้รับการออกแบบควบคุมติดตามกำกับและปรับปรุงเพื่อให้ตอบสนองความต้องการและสร้างคุณค่าให้แก่ผู้ป่วยผู้รับผลงานและองค์กรอย่างมีประสิทธิผล

  9. II - 1. การบริหารความเสี่ยง ความปลอดภัย และคุณภาพ II - 1.2 ระบบบริหารความเสี่ยง ความปลอดภัย และคุณภาพ II - 1.1 ภาพรวมของการพัฒนาคุณภาพ มีระบบบริหารความเสี่ยงความปลอดภัยและคุณภาพของโรงพยาบาลที่มีประสิทธิผลและประสานสอดคล้องกันรวมทั้งการพัฒนาคุณภาพการดูแลผู้ป่วยในลักษณะบูรณาการ มีการพัฒนาคุณภาพที่ประสานสอดคล้องกันในทุกระดับ

  10. II - 2. การกำกับดูแลวิชาชีพ II - 2.1 การพยาบาล II –2.2 การแพทย์ มีระบบบริหารการพยาบาลรับผิดชอบต่อการจัดบริการพยาบาลที่มีคุณภาพสูงเพื่อบรรลุพันธกิจขององค์กร มีการจัดตั้งองค์กรแพทย์รับผิดชอบต่อการส่งเสริมและกำกับดูแลมาตรฐานและจริยธรรมของผู้ประกอบวิชาชีพแพทย์เพื่อบรรลุพันธกิจขององค์กร

  11. ตอนที่ III กระบวนการดูแลผู้ป่วย III - 2 การประเมินผู้ป่วย 3.1 วางแผนดูแลผู้ป่วย 3.2 วางแผนจำหน่าย III - 1 การเข้าถึงและเข้ารับบริการ III - 5 การให้ข้อมูลและเสริมพลัง III - 3 การวางแผน 4.1 การดูแลทั่วไป III - 6 การดูแลต่อเนื่อง III - 4 การดูแลผู้ป่วย 4.2 การดูแลที่มีความเสี่ยงสูง 4.3 การดูแลเฉพาะ

  12. II - 3. การวางแผน II - 3.1 การวางแผนการดูแลผู้ป่วย II- 3.2 การวางแผนจำหน่าย ทีมผู้ให้บริการจัดทำแผนการดูแลผู้ป่วยที่มีการประสานกันอย่างดีและมีเป้าหมายที่ชัดเจนสอดคล้องกับปัญหา/ความต้องการด้านสุขภาพของผู้ป่วย มีการวางแผนจำหน่ายผู้ป่วยเพื่อให้ผู้ป่วยสามารถดูแลตนเองและได้รับการดูแลอย่างเหมาะสมกับสภาพปัญหาและความต้องการหลังจากจำหน่ายจากโรงพยาบาล

  13. III - 4. การดูแลผู้ป่วย III -4.1 การดูแลทั่วไป ทีมผู้ให้บริการสร้างความมั่นใจว่าจะให้การดูแลผู้ป่วยอย่างทันท่วงทีปลอดภัยเหมาะสมและเป็นไปตามมาตรฐานวิชาชีพ III - 4.2 การดูแลผู้ป่วยและการให้บริการที่มีความเสี่ยงสูง ทีมผู้ให้บริการสร้างความมั่นใจว่าจะให้การดูแลผู้ป่วยและให้บริการที่มีความเสี่ยงสูงอย่างทันท่วงทีปลอดภัยเหมาะสมตามมาตรฐานวิชาชีพ III - 4.3 การดูแลเฉพาะ ทีมผู้ให้บริการ

  14. ตอนที่ IV ผลการดำเนินงานขององค์กร องค์กรแสดงให้เห็นผลการดำเนินงานและการเปลี่ยนแปลงในทางที่ดีในประเด็นสำคัญได้แก่ผลลัพธ์ด้านการดูแล ผู้ป่วยความพึงพอใจของผู้ป่วยและผู้รับผลงานอื่นๆผลลัพธ์ด้านการเงินผลลัพธ์ด้านบุคลากรและระบบงานผลลัพธ์ด้านประสิทธิผลองค์กรผลลัพธ์ด้านการนำและความรับผิดชอบต่อสังคมผลลัพธ์ด้านการสร้างเสริมสุขภาพ IV - 1 ผลด้านการดูแลผู้ป่วย IV - 4 ผลด้านทรัพยากรบุคคล IV - 6 ผลด้านการนำองค์กรและ ความรับผิดชอบต่อสังคม IV - 2 ผลด้านการมุ่งเน้น ผู้ป่วย/ผู้รับผลงาน IV - 3 ผลด้านการเงิน IV - 5 ผลด้านประสิทธิผล ขององค์กร IV - 7 ผลด้านการ สร้างเสริมสุขภาพ

  15. I – 1.1 การนำองค์กรโดยผู้นำระดับสูง Overall Req. ผู้นำระดับสูงชี้นำองค์กรสื่อสารและสร้างสิ่งแวดล้อมที่ส่งเสริมผลการดำเนินงานที่ดีให้ความมั่นใจในคุณภาพและความปลอดภัยในการดูแลผู้รับบริการ. Multiple Req. ก. วิสัยทัศน์และค่านิยม ข. การสื่อสารและจุดเน้นขององค์กร กำหนดพันธกิจ วิสัยทัศน์ ค่านิยม ถ่ายทอด, ปฏิบัติให้เห็นความมุ่งมั่น การสื่อสาร ให้อำนาจตัดสินใจ จูงใจ ยกย่องชมเชย 1 1 จุดเน้น การดำเนินงาน การปรับปรุงผลงาน 2 แสดงภาวะผู้นำ/รับผิดชอบ ความสำเร็จขององค์กร คุณภาพและความปลอดภัย จัดสรรและบริหารทรัพยากร 2 การปฏิบัติ วัตถุประสงค์ เชิงกลยุทธ์ การทบทวน ประเมินผลงาน สร้างสิ่งแวดล้อมและบรรยากาศ การปรับปรุงผลงาน, การบรรลุวัตถุประสงค์ การสร้างนวตกรรม, ความคล่องตัว, การเรียนรู้ สัมพันธภาพ, ความร่วมมือ, การประสานบริการ กฎมายและจริยธรรม ผลงานที่ดี คุณภาพ ความปลอดภัย 3

  16. I – 1.2 การกำกับดูแลและความรับผิดชอบต่อสังคม Overall Req. องค์กรแสดงถึงระบบการกำกับดูแลกิจการที่ดีความรับผิดชอบต่อสาธารณะสร้างความมั่นใจว่ามีการดำเนินงานอย่างมีจริยธรรมและมีส่วนสนับสนุนต่อสุขภาพของชุมชน. Multiple Req. ก. การกำกับดูแลกิจการ ข. กฎหมายและจริยธรรม ระบบกำกับดูแลกิจการ ผู้บริหาร การเงิน โปร่งใส การตรวจสอบ ผลประโยชน์ 1 ความเสี่ยง ผลกระทบด้านลบ ความห่วงกังวล กระบวนการ ตัวชี้วัด เป้าหมาย ประเมินผลงาน ผู้นำ ระบบการนำ ปรับปรุงประสิทธิภาพ ผู้นำ ระบบการนำ กฎหมายข้อบังคับ 1 2 2 ติดตามกำกับ ค. การสนับสนุนชุมชนและสุขภาพของชุมชน ส่งเสริมจริยธรรม ดำเนินการ เมื่อละเมิด กำหนดชุมชน/ประเด็นสนับสนุน ดูแลสุขภาพ ของชุมชน สนับสนุน สร้างความเข้มแข็ง องค์กรที่มีคุณค่า ต่อสังคม

  17. I – 2.1 การกำหนดกลยุทธ์ Overall Req. องค์กรกำหนดกลยุทธ์ / วัตถุประสงค์เชิงกลยุทธ์เพื่อชี้นำและสร้างความเข้มแข็งให้กับการดำเนินงานขององค์กรโดยรวมและสอดคล้องกับความท้าทายที่องค์กรเผชิญอยู่ Multiple Req. ก. กระบวนการจัดทำกลยุทธ์ ข. วัตถุประสงค์เชิงกลยุทธ์ การวางแผนกลยุทธ์ 1 วัตถุประสงค์เชิงกลยุทธ์และกรอบเวลา 1 ผู้มีส่วนร่วม: ผู้นำร่วมกับบุคลากร ขั้นตอนและกรองเวลา การค้นหา potential blind spot สอดคล้องกับความท้าทายขององค์กร 2 ความท้าทายขององค์กร สถานะสุขภาพ/ความต้องการสุขภาพ มีส่วนต่อผลลัพธ์สุขภาพที่ดีขึ้น การวิเคราะห์ข้อมูล 2 ปัญหาและความต้องการด้านสุขภาพ จุดแข็งจุด่อนโอกาสสิ่งคุกคามขององค์กร ปัจจัยสำคัญอื่นๆ - ความปลอดภัย/ความผิดพลั้ง - ความร่วมมือ การแข่งขัน - การเปลี่ยนแปลงเทคโนโลยี - การเปลี่ยนแปลงระบบบริการ เศรษฐกิจ - ความเสี่ยงด้านการเงิน สังคม จริยธรรม ความสามารถในการนำแผนกลยุทธ์ไปปฏิบัติ 3 วัตถุประสงค์เกี่ยวกับการสร้างเสริมสุขภาพ ผลลัพธ์สุขภาพที่ดีขึ้นของ ผู้ป่วยครอบครัวชุมชนบุคลากร สิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อการมีสุขภาพดี ชี้นำและสร้างความเข้มแข็ง ให้องค์กรโดยรวม

  18. I – 2.2 การนำกลยุทธ์ไปปฏิบัติ Overall Req. องค์กรถ่ายทอดวัตถุประสงค์เชิงกลยุทธ์ไปสู่การปฏิบัติและติดตามความก้าวหน้าเพื่อให้มั่นใจว่าบรรลุเป้าประสงค์. Multiple Req. วัตถุประสงค์เชิงกลยุทธ์ ก. ถ่ายทอดเพื่อนำไปปฏิบัติ 2 แผนทรัพยากรบุคคล บรรลุเป้าประสงค์ แผนปฏิบัติการ ปฏิบัติตามแผน 1 ทรัพยากร ติดตามความก้าวหน้า 3 ตัวชี้วัดสำคัญ ทั้งองค์กรมุ่งไปในทิศทางเดียวกัน ครอบคลุมประเด็นสำคัญ และผู้มีส่วนได้เสียทั้งหมด ข. คาดการณ์และเปรียบเทียบ คาดการณ์ผลการดำเนินงาน ตอบสนอง ความแตกต่าง เปรียบเทียบ 1

  19. I – 3.1 ความรู้เกี่ยวกับผู้ป่วย / ผู้รับผลงาน Overall Req. องค์กรรับรู้ความต้องการและความคาดหวังของผู้ป่วย / ผู้รับผลงานเพื่อให้มั่นใจว่าบริการที่จัดให้สอดคล้องกับความต้องการดังกล่าว Multiple Req. ก. ความรู้เกี่ยวกับผู้ป่วย/ผู้รับผลงาน จำแนกส่วน (Segment) 1 กำหนดส่วนที่มุ่งเน้น I - 6.1 การจัดการกระบวนการ ผู้ป่วย, ผู้รับผลงาน, ตลาดบริการสุขภาพ วางแผนจัดบริการ บริการ สอดคล้องกับความต้องการ รับฟัง/เรียนรู้ ความต้องการ ความคาดหวัง ด้วยวิธีการที่เหมาะสมกับแต่ละกลุ่ม 2 ปรับปรุงกระบวน การทำงาน ปรับปรุงวิธีการรับฟัง/เรียนรู้ 3 ทันความต้องการของผู้เกี่ยวข้อง และทิศทางการเปลี่ยนแปลงของบริการสุขภาพ

  20. I – 3.2 ความสัมพันธ์และความพึงพอใจบองผู้รับผลงาน Overall Req. องค์กรสร้างความสัมพันธ์กับผู้ป่วย / ผู้รับผลงานเพื่อสร้างความเชื่อมั่นศรัทธาความพึงพอใจและความร่วมมือมีการประเมินและนำข้อมูลความพึงพอใจของผู้ป่วย / ผู้รับผลงานมาใช้ปรับปรุงการดำเนินงาน. Multiple Req. ก. สร้างความสัมพันธ์ สร้างความสัมพันธ์กับผู้ป่วย / ผู้รับผลงาน 1 ช่องทางการติดต่อ 2 ข้อมูล บริการ คำร้องเรียน ที่สอดคล้องกับความต้องการ จัดการกับ คำร้องเรียน 3 รวบรวม วิเคราะห์ ปรับปรุงวิธีสร้างความสัมพันธ์และช่องทางการติดต่อ 4 ข. ประเมินความพึงพอใจ วิธีการเหมาะสมกับแต่ละกลุ่ม สนองความต้องการ ความเชื่อมั่นศรัทธา ความพึงพอใจ ความร่วมมือ ประเมินความพึงพอใจ 1 ปรับปรุงบริการ การดำเนินงาน ข้อมูลที่เป็นประโยชน์ ติดตามผลทันที 2 ปรับปรุงวิธีการประเมินความพึงพอใจ 3

  21. I – 3.3 สิทธิผู้ป่วย Overall Req. องค์กรตระหนักและให้การคุ้มครองสิทธิผู้ป่วย. Multiple Req. ค. ผู้ป่วยที่มีความต้องการเฉพาะ ก. คำประกาศสิทธิผู้ป่วย ข. กระบวนการคุ้มครอง ผู้ปฏิบัติงานตระหนัก ทราบบทบาท ระบบพร้อมตอบสนอง สิทธิพื้นฐานตามรัฐธรรมนูญ ไม่เลือกปฏิบัติ ได้รับข้อมูลเพียงพอ ชัดเจน ได้รับการช่วยเหลือทันทีเมื่อเสี่ยง ทราบชื่อผู้ให้บริการ ขอความเห็นที่สอง ปกปิดข้อมูล การเข้าร่วมวิจัย ข้อมูลในเวชระเบียน การใช้สิทธิแทน องค์กร ผู้ป่วยระยะสุดท้าย 1 1 สิทธิ ศักดิ์ศรี ข้อบังคับ กฎหมาย ความเชื่อ วัฒนธรรม การมีส่วนร่วม ผู้รับบริการ ได้รับข้อมูลสิทธิและหน้าที่ 2 ลักษณะการคุ้มครอง ผู้ที่ช่วยเหลือตนเองไม่ได้ 2 3 ทุกกิจกรรมการดูแล การถูกทำร้ายร่างกาย จิตใจ สังคม ความเป็นส่วนตัว ศักดิ์ศรี, ค่านิยม เท่าเทียมตามปัญหาและความุรนแรง เด็ก ผู้พิการ ผู้สูงอายุ 4 5 ผู้ที่ต้องแยก ผูกยึด 3 6 ผู้ป่วยได้รับการคุ้มครอง สิทธิและศักดิศรี

  22. I – 4.1 การวัด วิเคราะห์ และทบทวนผลงานขององค์กร Overall Req. องค์กรจัดให้มีการวัดและวิเคราะห์ผลงานที่สอดคล้องไปในทิศทางเดียวกัน, มีการทบทวนประเมินผลและปรับปรุงผลงานในทุกระดับและทุกส่วนขององค์กร. Multiple Req. ข. การวิเคราะห์/ ทบทวนประเมินผลงาน ก. การวัดผลงาน ข้อมูล/สารสนเทศ/ตัวชี้วัดผลงาน ด้านบริการ, ผู้รับผลงาน, การเงิน, ปฏิบัติการ เพื่อใช้ในระดับปฏิบัติการและระดับกลยุทธ์ วิเคราะห์ข้อมูล 1 ความสำเร็จ/ผลงานโดยรวม ความก้าวหน้าตามแผน การตอบสนองการเปลี่ยนแปลง เลือก/ align รวบรวม/ เชื่อมโยง ประเมินผล 1 เลือกข้อมูล เชิงเปรียบเทียบ 2 เพื่อการปรับปรุง เพื่อสร้างนวตกรรม จัดลำดับความสำคัญ 2 สื่อสาร/ถ่ายทอด ทั่วทั้งองค์กร ปรับปรุงระบบวัดผลงาน 3 สอดคล้องกับสถานการณ์ ไวต่อการเปลี่ยนแปลง พัฒนา/ปรับปรุงผลงาน

  23. I – 4.2 การจัดการสารสนเทศและการจัดการความรู้ องค์กรสร้างความมั่นใจว่าข้อมูลและสารสนเทศที่จำเป็นสำหรับบุคลากร/ผู้ป่วย /ผู้รับผลงานมีคุณภาพและพร้อมใช้งาน. มีการจัดการความรู้เพื่อปรับปรุงประสิทธิภาพและประสิทธิผลขององค์กร. Overall Req. Multiple Req. ข. การจัดการความรู้ ก. ความพร้อมใช้งาน รวบรวม/ถ่ายทอดความรู้ของบุคลากร ถ่ายทอด/แลกเปลี่ยนความรู้ แลกเปลี่ยนวิธีการปฏิบัติที่ดี -> ปฏิบัติ นำหลักฐานทางวิทยาศาสตร์มาใช้ บุคลากร/ผู้บริหาร/ ผู้ป่วย/ผู้รับผลงาน/ องค์กรภายนอก ความต้องการ จัดการความรู้ 1 ออกแบบ จัดการ ค. คุณภาพ ข้อมูล/ความรู้ ถูกต้อง น่าเชื่อถือ ทันการณ์ ปลอดภัย Hardware & Software 2 เชื่อถือได้ป้องกันข้อมูลรั่วไหลใช้งานง่าย 1 รักษาความลับ 2 พร้อมใช้ในภาวะฉุกเฉิน 3 เข้าถึง ข้อมูลพร้องใช้ 4 ปรับปรุงกลไกและระบบ 1 การดูแลผู้ป่วย การบริหารจัดการ การตรวจสอบทางคลินิก การพัฒนาคุณภาพ การศึกษาและการวิจัย ทันความต้องการ ทิศทางบริการสุขภาพ การเปลี่ยนแปลงเทคโนโลยี ใช้ประโยชน์

  24. I – 5.1 ระบบงาน ระบบงานขององค์กร , การกำหนดหน้าที่รับผิดชอบ , ระบบประเมินและพัฒนาผลงานของบุคลากร, การบริหารค่าตอบแทน, และวิธีปฏิบัติที่เกี่ยวข้องกับบุคลากรเกื้อหนุนให้บุคลากรและองค์กรมีผลงานที่ดีมีการเรียนรู้และปรับตัวเข้ากับการเปลี่ยนแปลง. Overall Req. Multiple Req. ค. การจ้างงาน ความก้าวหน้า สื่อสาร/แลกเปลี่ยน ความรู้/ทักษะ วางรูปแบบ และจัดการ ระบบงาน หน้าที่รับผิดชอบ ทักษะ ความร่วมมือ ความคิดริเริ่ม การให้อำนาจตัดสินใจ นวัตกรรม วัฒนธรรมองค์กร การศึกษา ทักษะ ความรู้ 3 กำหนดคุณสมบัติ ส่งเสริม 1 ผลงานดี เรียนรู้ ปรับตัว กำหนดหน้าที่รับผิดชอบ มอบหมายหน้าที่ ก. การวางรูปแบบ และจัดการระบบงาน 1 ความหลากหลาย ข้อคิดเห็น วัฒนธรรม ความคิดอ่าน ตรวจสอบ /ประเมิน คุณสมบัติ สรรหา 2 2 ว่าจ้าง ธำรงรักษา ประเมิน ปรับปรุง ระบบประเมินและพัฒนาผลงานบุคลากร 4 สร้างผู้นำ 3 การประเมินและสื่อสารผลการประเมิน การบริหารค่าตอบแทน การยกย่องชมเชย/รางวัล/แรงจูงใจ ข. ระบบประเมิน ฯ ความก้าวหน้าในสายงาน

  25. I – 5.2 การเรียนรู้และการสร้างแรงจูงใจสำหรับบุคลากร Overall Req. ระบบการศึกษาฝึกอบรมและแรงจูงใจขององค์กรทำให้บุคลากรมีความรู้ทักษะและความสามารถที่จะส่งเสริมให้องค์กรบรรลุวัตถุประสงค์และมีผลงานที่ดี. Multiple Req. บุคลากรใหม่ ความหลากหลาย จริยธรรม คุณภาพ ความปลอดภัย การสร้างเสริมสุขภาพ การพัฒนาผู้นำ ก. การศึกษา ฝึกอบรม พัฒนา ความต้องการ ขององค์กร 2 ข. แรงจูงใจ ความก้าวหน้า OJT ห้องเรียน ระยะไกลคอมพิวเตอร์ ความรู้ ทักษะ ความสามารถ จูงใจ กำหนดเนื้อหา จัดการศึกษาอบรม 3 4 พัฒนาตนเอง ใช้ศักยภาพเต็มที่ ข้อมูลจากบุคลากร ข้อมูลจากหัวหน้างาน ความรู้/บทเรียนขององค์กร การสร้างเสริมสุขภาพ 5 ส่งเสริมการใช้ ความรู้/ทักษะใหม่ๆ ช่วยเหลือ การเรียนรู้ ความก้าวหน้า บรรลุวัตถุประสงค์องค์กร สร้างผลงานที่ดี ประเมินผล การศึกษาอบรม 6 ผลงานของบุคคล ผลงานขององค์กร 1

  26. I – 5.3 ความผาสุกและความพึงพอใจของบุคลากร Overall Req. องค์กรจัดให้มีสภาพแวดล้อมในการทำงานและบรรยากาศที่สนับสนุนให้บุคลากรมีสุขภาพดี มีความผาสุก มีความพึงพอใจและมีแรงจูงใจในการทำงาน Multiple Req. สุขภาพดี ผาสุก พึงพอใจ มีแรงจูงใจ ก. สภาพแวดล้อมในการทำงาน ป้องกันภัย, การยศาสตร์ ตัววัด, ปรับปรุง ที่ทำงานเอื้อต่อสุขภาพ/ ความปลอดภัย ค. สุขภาพบุคลากร 1 สภาพแวดล้อมดี บรรยากาศดี เตรียมพร้อมต่อ ภัยพิบัติ/ภาวะฉุกเฉิน 2 1 ดูแลสุขภาพตนเอง เรียนรู้ ตัดสินใจ ปฏิบัติ เป็นแบบอย่างพฤติกรรม มีข้อตกลงร่วมกัน 2 3 ป้องกันความเสี่ยงจากการทำงาน ข. การดูแล/ความพึงพอใจ TB, HBV, HIV, Sharp Inj, Lab Chemicals, Anesthetic Gas, Chemotherapeutic Agent ความก้าวหน้า, อำนาจตัดสินใจ, ข้อมูลข่าวสาร, การสื่อสาร, ปริมาณงาน, ค่าตอบแทน, โอกาส ฯลฯ แรกเข้าทำงาน ติดตามเป็นระยะ 1 4 วิเคราะห์ปัจจัย ข้อมูลสุขภาพ 5 ให้การดูแล 6 ภูมิคุ้มกันโรค บริการ, สิทธิประโยชน์, นโยบาย 2 สภาพแวดล้อม บรรยากาศ ดูแลเมื่อเจ็บป่วย/สัมผัสเชื้อ 7 ประเมิน ปรับปรุง 3 4

  27. I – 6.1 กระบวนการบริการสุขภาพ Overall Req. กระบวนการบริการสุขภาพสำคัญได้รับการออกแบบควบคุมติดตามกำกับและปรับปรุงเพื่อให้ตอบสนองความต้องการและสร้างคุณค่าให้แก่ผู้ป่วยผู้รับผลงานและองค์กรอย่างมีประสิทธิผล. Multiple Req. ก. กระบวนการบริการสุขภาพ การออกแบบ กำหนดกระบวนการสำคัญ 1 ผลงานที่ดีขึ้น ผลลัพธ์สุขภาพดีขึ้น ตอบสนองการเปลี่ยนแปลง ผู้ประกอบวิชาชีพ ผู้ส่งมอบ, คู่พันธมิตร ผ้ป่วย, ผู้รับผลงานอื่นๆ ความคาดหวัง/ข้อกำหนด ของกระบวนการ 2 ความปลอดภัย, กฎหมาย ข้อมูลวิชาการ, มาตรฐานวิชาชีพ ผลลัพธ์ที่ดีขึ้น, ประสิทธิภาพ ประสิทธิผล ออกแบบกระบวนการ 3 บริหารความคาดหวัง และการมีส่วนร่วม ลดการตรวจสอบ ป้องกันความผิดพลาด นำไปปฏิบัติ/ควบคุมกำกับ 4 6 ใช้ KPI ติดตามประเมิน ปรับปรุงกระบวนการ 5 การปฏิบัติ ควบคุม ปรับปรุง 7 แลกเปลี่ยนเรียนรู้

  28. I – 6.2 กระบวนการสนับสนุนและการวางแผนดำเนินงาน กระบวนการสนับสนุนสำคัญได้รับการออกแบบควบคุมติดตามกำกับและปรับปรุงเพื่อให้ตอบสนองความต้องการและสร้างคุณค่าให้แก่ผู้ป่วยผู้รับผลงานและองค์กรอย่างมีประสิทธิผล. มีหลักประกันว่าจะมีทรัพยากรทางการเงินเพียงพอและมึความต่อเนื่องในการดำเนินการ. Overall Req. Multiple Req. ก. กระบวนการสนับสนุน ความราบรื่นและความต่อเนื่อง ของกระบวนการบริการสุขภาพ กำหนดกระบวนการสำคัญ 1 ความคาดหวัง/ข้อกำหนด 2 ข. การวางแผน ดำเนินการ ออกแบบกระบวนการ 3 ทรัพยากร ด้านการเงิน 1 ลดการตรวจสอบ ป้องกันความผิดพลาด นำไปปฏิบัติ/ควบคุมกำกับ 5 ความต่อเนื่อง ในภาวะฉุกเฉิน ใช้ KPI ติดตามประเมิน ปรับปรุงกระบวนการ 4 2 6 แลกเปลี่ยนเรียนรู้

  29. II – 1.1 ภาพรวมของการพัฒนาคุณภาพ (Quality Improvement Overview) Overall Req. มีการพัฒนาคุณภาพที่ประสานสอดคล้องกันในทุกระดับ Multiple Req. ก. การสนับสนุนจากผู้นำ ข. การเชื่อมโยง และประสานงาน ค. การทำงานเป็นทีม ง. การประเมินตนเอง

  30. II – 1.1 ภาพรวมของการพัฒนาคุณภาพ (Quality Improvement Overview) Overall Req. มีการพัฒนาคุณภาพที่ประสานสอดคล้องกันในทุกระดับ Multiple Req. 1 นโยบาย หลักประกันคุณภาพ 2 ก. การสนับสนุนจากผู้นำ 3 สนับสนุน ติดตาม วัฒนธรรมคุณภาพ 4 ข. การเชื่อมโยง และประสานงาน ค. การทำงานเป็นทีม 1 การสื่อสารและแก้ปัญหา 1 ทิศทาง/ประเด็นสำคัญ ความหมายคุณภาพ 2 ทีมในงานปกติประจำ ง. การประเมินตนเอง 2 3 เชื่อมโยงกับแผนกลยุทธ์ 1 เทคนิคการประเมินผล 3 ทีมพัฒนาคุณภาพ บูรณาการ RM/QA/PS/QI 4 การเปรียบเทียบ 2 ทีมกำกับดูแลภาพรวม โครงสร้างคุณภาพ 4 5 3 กลไกการประเมินตนเอง

  31. II – 1.1 ภาพรวมของการพัฒนาคุณภาพ (Quality Improvement Overview) Overall Req. มีการพัฒนาคุณภาพที่ประสานสอดคล้องกันในทุกระดับ ง. การประเมินตนเอง 1 เทคนิคการประเมินผล ก. การสนับสนุนจากผู้นำ 2 ตัวเปรียบเทียบ 4 ส่งเสริม วัฒนธรรมคุณภาพ 3 กลไกประเมินตนเอง การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ การอภิปรายกลุ่ม การเขียนบันทึกความก้าวหน้า และแบบประเมินตนเอง การใช้ตัวตามรอยทางคลินิก การเยี่ยมสำรวจ/ตรวจสอบภายใน การนำเสนอเพื่อรับฟังข้อวิพากษ์ การทบทวนหลังกิจกรรม การติดตามตัวชี้วัด 2 หลักประกันคุณภาพ และความปลอดภัย 1 นโยบาย/ประเด็นสำคัญ/ความคาดหวัง RM/QA/PS/CQI 3 2 แผนกลยุทธ์ สื่อสารแก้ปัญหา ทีมในงานปกติประจำ ทีมพัฒนาคุณภาพ ทีมกำกับดูแลภาพรวม 4 โครงสร้างคุณภาพ ค. การทำงานเป็นทีม 3 1 กำหนดความหมาย 1 สนับสนุน/ ติดตามกำกับ 2 3 ข. การเชื่อมโยง และประสานงาน 4

  32. II – 1.2 ระบบบริหารความเสี่ยง ความปลอดภัย และคุณภาพ (Risk, Safety, and Quality Management System) Overall Req. มีระบบบริหารความเสี่ยงความปลอดภัยและคุณภาพของโรงพยาบาลที่มีประสิทธิผลและประสานสอดคล้องกันรวมทั้งการพัฒนาคุณภาพการดูแลผู้ป่วยในลักษณะบูรณาการ. Multiple Req. ก. ระบบบริหารความเสี่ยงและความปลอดภัย 1 ประสาน โปรแกรมความเสี่ยง ระบบสารสนเทศ 6 ประเมิน ประสิทธิผล ปรับปรุง แก้ปัญหา 3 5 4 ค้นหาและจัดลำดับความสำคัญของความเสี่ยง กำหนดมาตรการป้องกัน, สื่อสาร, สร้างความตระหนัก ระบบรายงานอุบัติการณ์ รายงาน วิเคราะห์ ใช้ประโยชน์ วิเคราะห์สาเหตุ 2 1 พัฒนาคุณภาพการดูแล สำหรับกลุ่มเป้าหมาย ทบทวนการดูแลผู้ป่วย กำหนดกลุ่ม/วัตถุประสงค์ กำหนด KPI ใช้วิธีการที่หลากหลาย 2 ข. คุณภาพการดูแลผู้ป่วย 3 4

  33. II – 2.1 การกำกับดูแลวิชาชีพ ด้านการพยาบาล (Prof. Governance: Nursing) Overall Req. มีระบบบริหารการพยาบาลรับผิดชอบต่อการจัดบริการพยาบาลที่มีคุณภาพสูงเพื่อบรรลุพันธกิจขององค์กร ประสานความร่วมมือระดับองค์กร การใช้ยา, การควบคุมการติดเชื้อ การสร้างเสริมสุขภาพ คุณภาพและความปลอดภัย 1 ผู้นำทีมการพยาบาล ก. การบริหารการพยาบาล 4 บุคลากร ความรู้ความสามารถ ปริมาณ 2 ข. ปฏิบัติการพยาบาล 3 โครงสร้างและกลไก กำกับดูแลมาตรฐาน/จริยธรรม นิเทศ/กำกับดูแล ส่งเสริมการพัฒนาคุณภาพ ส่งเสริมการใช้กระบวนการพยาบาล ส่งเสริมการตัดสินใจทางคลินิก ดูแลผู้อยู่ระหว่างฝึกอบรม จัดการความรู้และวิจัย สิทธิผู้ป่วย จริยธรรมวิชาชีพ 2 ผลลัพธ์ของ ปฏิบัติการพยาบาล ความปลอดภัย บรรเทาทุกข์ทรมาน ข้อมูลและการเรียนรู้ การดูแลตนเอง การเสริมพลัง ความพึงพอใจ มาตรฐาน/ ข้อมูลวิชาการ 3 1 กระบวนการ พยาบาล สภาวะสุขภาพ ของผู้ป่วย 4 บันทึก 5 ปรับปรุง Risk/Safety/Quality Management 6 5 ประเมิน

  34. II – 2.1 การกำกับดูแลวิชาชีพ ด้านการแพทย์ (Prof. Governance: Medical Staff) Overall Req. มีการจัดตั้งองค์กรแพทย์รับผิดชอบต่อการส่งเสริมและกำกับดูแลมาตรฐานและจริยธรรมของผู้ประกอบวิชาชีพแพทย์เพื่อบรรลุพันธกิจขององค์กร ประสานความร่วมมือระดับองค์กร การใช้ยา, การควบคุมการติดเชื้อ การสร้างเสริมสุขภาพ คุณภาพและความปลอดภัย 1 ผู้นำทีมการพยาบาล ก. การบริหารการพยาบาล 4 บุคลากร ความรู้ความสามารถ ปริมาณ 2 ข. ปฏิบัติการพยาบาล 3 โครงสร้างและกลไก กำกับดูแลมาตรฐาน/จริยธรรม นิเทศ/กำกับดูแล ส่งเสริมการพัฒนาคุณภาพ ส่งเสริมการใช้กระบวนการพยาบาล ส่งเสริมการตัดสินใจทางคลินิก ดูแลผู้อยู่ระหว่างฝึกอบรม จัดการความรู้และวิจัย สิทธิผู้ป่วย จริยธรรมวิชาชีพ 2 ผลลัพธ์ของ ปฏิบัติการพยาบาล ความปลอดภัย บรรเทาทุกข์ทรมาน ข้อมูลและการเรียนรู้ การดูแลตนเอง การเสริมพลัง ความพึงพอใจ มาตรฐาน/ ข้อมูลวิชาการ 3 1 กระบวนการ พยาบาล สภาวะสุขภาพ ของผู้ป่วย 4 บันทึก 5 ปรับปรุง Risk/Safety/Quality Management 6 5 ประเมิน

  35. II – 2.1 การกำกับดูแลวิชาชีพ ด้านการแพทย์ (Prof. Governance: Medical Staff) Overall Req. มีการจัดตั้งองค์กรแพทย์รับผิดชอบต่อการส่งเสริมและกำกับดูแลมาตรฐานและจริยธรรมของผู้ประกอบวิชาชีพแพทย์เพื่อบรรลุพันธกิจขององค์กร 4 ประสานความร่วมมือระดับองค์กร การใช้ยา, การควบคุมการติดเชื้อ การสร้างเสริมสุขภาพ คุณภาพและความปลอดภัย คณะกรรมการ ที่เกี่ยวข้อง ข้อตกลง /แนวทาง บริการทางการแพทย์ และสาธารณสุข ที่มีคุณภาพสูง ปฏิบัติหน้าที่ ผู้บริหาร องค์กรแพทย์ ปรึกษา เสนอแนะ วางแผน 1 2 แพทย์ ตรวจสอบคุณสมบัติ กำหนดสิทธิการรักษา การศึกษาต่อเนื่อง 6 3 กำกับดูแล 5

  36. III – 1. การเข้าถึงและเข้ารับบริการ (Access & Entry) Overall Req. ทีมผู้ให้บริการสร้างความมั่นใจว่าผู้รับบริการสามารถเข้าถึงบริการที่จำเป็นได้ง่าย, กระบวนการรับผู้ป่วยเหมาะกับปัญหาสุขภาพ/ความต้องการของผู้ป่วยทันเวลาภายใต้ระบบและสิ่งแวดล้อมที่เหมาะสมและมีประสิทธิผล Multiple Req. ส่งต่อ ช่วยเหลือเบื้องต้น อธิบายเหตุผล, หาที่ส่งต่อ ดูแลฉุกเฉิน เร่งด่วน ลดอุปสรรค ต่อการเข้าถึง กายภาพ, ภาษา, วัฒนธรรม 2 3 4 รับไว้ในหน่วยบริการวิกฤติ/พิเศษ เกณฑ์เข้าหน่วยบริการวิกฤติ ประเมินผู้ป่วย เบื้องต้น ประเมินความ สามารถขององค์กร ตอบสนองรวดเร็ว 1 รับไว้ในหน่วยบริการทั่วไป ให้ข้อมูล สภาพความเจ็บป่วย การดูแลที่จะได้รับ ผลลัพธ์และค่าใช้จ่าย การให้ข้อมูล และการเสริมพลัง ผู้ป่วยเข้ารับบริการ ทันเวลา เหมาะสม มีประสิทธิผล 5 ได้รับการยินยอม

  37. III – 2. การประเมินผู้ป่วย (Patient Assessment) Overall Req. ผู้ป่วยทุกรายได้รับการประเมินความต้องการและปัญหาสุขภาพอย่างถูกต้อง ครบถ้วนและเหมาะสม. Multiple Req. ดูแลตามแผน ความร่วมมือและการ ประสานในทีมงาน ประเมินซ้ำ ก. การประเมินผู้ป่วย 5 3 วิเคราะห์ เชื่อมโยง 2 ประเมินแรกรับ ประวัติ,ตรวจร่างกาย,การรับรู้ความต้องการ,ปัจจัยด้านจิตใจสังคมเศรษฐกิจ ปัญหา/ความต้องการ เร่งด่วน/สำคัญ ผู้ป่วย อายุ, ปัญหาสุขภาพ, ความเร่งด่วน, การศึกษา, บริการที่จะให้ วางแผน 1 บันทึก 4 การวินิจฉัยโรค แนวปฏิบัติทางคลินิก ข. การตรวจประกอบ การวินิจฉัย ค. การวินิจฉัยโรค อธิบายผล สิ่งแวดล้อมปลอดภัย 6 การส่งตรวจ/ส่งต่อ 1 ทบทวน ทรัพยากร เทคโนโลยี, บุคลากร, เครื่องมือ, อุปกรณ์, ความน่าเชื่อถือ 2 หาสาเหตุของความผิดปกติ 4 การสื่อสาร 3

  38. III – 3.1 การวางแผนการดูแลผู้ป่วย (Planning of Care) Overall Req. ทีมผู้ให้บริการจัดทำแผนการดูแลผู้ป่วยที่มีการประสานกันอย่างดีและมีเป้าหมายที่ชัดเจนสอดคล้องกับปัญหา/ความต้องการด้านสุขภาพของผู้ป่วย. Multiple Req. 5 แผนสำหรับผู้ปวย แต่ละราย 1 เป้าหมาย/วิธีการ เชื่อมโยงและประสาน 6 ตอบสนองความต้องการ อย่างเป็นองค์รวม การประเมิน สื่อสาร/ ประสานงาน 2 ปฏิบัติ ใช้หลักฐานวิชาการ 3 เฝ้าระวัง ผู้ป่วย/ครอบครัว มีส่วนร่วม ได้รับข้อมูล 4 7 ทบทวน ปรับแผน

  39. III – 3.2 การวางแผนจำหน่าย (Discharge Planning) Overall Req. มีการวางแผนจำหน่ายผู้ป่วยเพื่อให้ผู้ป่วยสามารถดูแลตนเองและได้รับการดูแลอย่างเหมาะสมกับสภาพปัญหาและความต้องการหลังจากจำหน่ายจากโรงพยาบาล Multiple Req. กำหนดแนวทาง ข้อบ่งชี้ โรคกลุ่มเป้าหมาย 1 แพทย์พยาบาล วิชาชีพที่เกี่ยวข้อง ผู้ป่วยและครอบครัว ผู้ป่วย/ครอบครัว มีศักยภาพและ มั่นใจในการ ดูแลตนเอง เชื่อมโยงกับแผนการดูแล ใช้หลักการเสริมพลัง ประเมิน ความจำเป็น 2 วางแผนจำหน่าย ปฏิบัติตามแผน 3 5 ประเมินปัญหา/ความต้องการและประเมินซ้ำ 4 6 ประเมินผล ปรับปรุง

  40. III - 4.1 การดูแลทั่วไป (General Care Delivery) Overall Req. ทีมผู้ให้บริการสร้างความมั่นใจว่าจะให้การดูแลผู้ป่วยอย่างทันท่วงทีปลอดภัยเหมาะสมและเป็นไปตามมาตรฐานวิชาชีพ Multiple Req. อุบัติเหตุ การบาดเจ็บ การติดเชื้อ ดำเนินการเพื่อ ความปลอดภัย มอบความรับผิดชอบให้ ผู้มีคุณสมบัติเหมาะสม 3 1 ผู้ป่วยได้รับการดูแลอย่างทันท่วงที ปลอดภัย เหมาะสม ตามมาตรฐานวิชาชีพ จัดการกับภาวะแทรกซ้อน วิกฤติฉุกเฉิน หลักปฏิบัติ ซึ่งเป็นที่ยอมรับ 4 ดูแลแบบองค์รวม 5 สิ่งแวดล้อมที่เอื้อ ต่อการดูแลที่มีคุณภาพ 2 สื่อสาร/ประสาน ภายในทีม เพื่อการดูแลที่ต่อเนื่อง 6 ติดตามกำกับ ประเมินผล

  41. III - 4.2 การดูแลผู้ป่วยและการให้บริการที่มีความเสี่ยงสูง (Care of High-Risk Patients and Provision of High-Risk Services) Overall Req. ทีมผู้ให้บริการสร้างความมั่นใจว่าจะให้การดูแลผู้ป่วยและให้บริการที่มีความเสี่ยงสูงอย่างทันท่วงทีปลอดภัยเหมาะสมเป็นไปตามมาตรฐานวิชาชีพ Multiple Req. 1 บ่งชี้ผู้ป่วย และบริการ ที่เสี่ยงสูง จัดทำ แนวทาง การดูแล ผู้ป่วยที่มีความเสี่ยงสูง ได้รับการดูแลอย่างปลอดภัย แก้ไข เฝ้าระวังการเปลี่ยนแปลง 2 ปฏิบัติ ปรับแผน การดูแล ทำหัตถการเสี่ยง ในสถานที่ เครื่องมือ ผู้ช่วย ที่พร้อม 4 3 Rapid Response Team for Unstable Patient 5 6 ติดตาม/วิเคราะห์ ภาวะแทรกซ้อน/ เหตุการณ์ไม่พึงประสงค์ ปรับปรุง

  42. III - 5. การให้ข้อมูลและเสริมพลังแก่ผู้ป่วย/ครอบครัว (Information and Empowerment for Patients / Families) Overall Req. ทีมผู้ให้บริการให้ข้อมูลเกี่ยวกับสภาวะสุขภาพแก่ผู้ป่วยและครอบครัวจัดกิจกรรมตามแผนเพื่อเสริมพลังผู้ป่วยและครอบครัวให้สามารถดูแลสุขภาพของตนเองได้และเชื่อมโยงการสร้างเสริมสุขภาพเข้าในทุกขั้นตอนของการดูแล Multiple Req. 1 2 ให้ข้อมูล ช่วยเหลือ การเรียนรู้ ประเมิน การรับรู้ วางแผน การเรียนรู้ ประเมิน ผู้ป่วย/ครอบครัว สามารถดูแล สุขภาพ ของตนเองได้ ปัญหา ความต้องการ อารมณ์จิตใจ ศักยภาพ ความพร้อม ให้ความช่วยเหลือ ด้านอารมณ์ จิตใจ ให้คำปรึกษา 3 4 วางแผนดูแล ติดตามปัญหา อุปสรรค 5 เสริมทักษะ 6 ประเมิน ปรับปรุง

  43. III - 6. การดูแลต่อเนื่อง (Continuity of Care) Overall Req. ทีมผู้ให้บริการสร้างความร่วมมือและประสานงานเพื่อให้มีการติดตาม และดูแลผู้ป่วยต่อเนื่องที่ให้ผลดี Multiple Req. PLAN & DO ระบบนัดหมาย 3 1 สื่อสารข้อมูล ระบบช่วยเหลือ / ให้คำปรึกษา ผู้ป่วยได้รับ การดูแลต่อเนื่อง และตอบสนอง ความต้องการ 2 สร้างความร่วมมือ ติดตาม การดูแลผู้ป่วย บูรณาการกิจกรรม สร้างเสริมสุขภาพ CHECK ทบทวนเวชระเบียน 4 ACT ปรับปรุง วางแผน ติดตามผล 5

  44. I - 1.1 ก. วิสัยทัศน์และค่านิยม (1) ผู้นำระดับสูงกำหนดพันธกิจวิสัยทัศน์ค่านิยม. ผู้นำระดับสูงถ่ายทอดพันธกิจวิสัยทัศน์ค่านิยมผ่านระบบการนำไปยังบุคลากรทุกคนและคู่พันธมิตรสำคัญเพื่อนำไปปฏิบัติ. การปฏิบัติตนของผู้นำระดับสูงสะท้อนให้เห็นความมุ่งมั่นต่อค่านิยมขององค์กร. (2) ผู้นำระดับสูงแสดงภาวะผู้นำและรับผิดชอบต่อการบรรลุความสำเร็จขององค์กร, คุณภาพและความปลอดภัยในการดูแลผู้ป่วย, จัดสรรและบริหารทรัพยากรอย่างมีประสิทธิภาพ. (3) ผู้นำระดับสูงสร้างสิ่งแวดล้อมและบรรยากาศที่เอื้อต่อการปรับปรุงผลงาน , การบรรลุวัตถุประสงค์ขององค์กร, การสร้างนวตกรรม, ความคล่องตัวขององค์กร, การเรียนรู้ขององค์กรและบุคลากร, สัมพันธภาพในการทำงานที่ดี, ความร่วมมือและการประสานบริการ, การปฏิบัติอย่างถูกต้องตามกฎหมายและจริยธรรม. 1 2 3

  45. I - 1.1 ก. วิสัยทัศน์และค่านิยม HA2006 (1) ผู้นำระดับสูงกำหนดพันธกิจวิสัยทัศน์ค่านิยม. ผู้นำระดับสูงถ่ายทอดพันธกิจวิสัยทัศน์ค่านิยมผ่านระบบการนำไปยังบุคลากรทุกคนและคู่พันธมิตรสำคัญเพื่อนำไปปฏิบัติ. การปฏิบัติตนของผู้นำระดับสูงสะท้อนให้เห็นความมุ่งมั่นต่อค่านิยมขององค์กร. (1) Senior leaders set organizational mission, vision and values. Senior leaders deploy mission, vision and values through the leadership system to all staff and key partners. Senior leaders’ personal actions reflect a commitment to the organization’s values. MBNQA 2006 (1) ผู้นำระดับสูงดำเนินการอย่างไรในการกำหนดวิสัยทัศน์และค่านิยมขององค์กร? ผู้นำระดับสูงดำเนินการอย่างไรในการถ่ายทอดวิสัยทัศน์และค่านิยมขององค์กรผ่านระบบการนำไปยังบุคลากรทุกคนผู้ส่งมอบและคู่พันธมิตรสำคัญและผู้รับผลงานอื่นๆ (ตามความเหมาะสม) เพื่อนำไปปฏิบัติ? การปฏิบัติตนของผู้นำระดับสูงสะท้อนให้เห็นความมุ่งมั่นต่อค่านิยมขององค์กรอย่างไร?

  46. I - 1.1 ก. วิสัยทัศน์และค่านิยม HA2006 (2) ผู้นำระดับสูงแสดงภาวะผู้นำและรับผิดชอบต่อการบรรลุความสำเร็จขององค์กร, คุณภาพและความปลอดภัยในการดูแลผู้ป่วย, จัดสรรและบริหารทรัพยากรอย่างมีประสิทธิภาพ. (2) Senior leaders provide leadership and are responsible for the organization’s achievements, quality and safety of patient care, efficient allocation and management of resources.

  47. I - 1.1 ก. วิสัยทัศน์และค่านิยม HA2006 (3) ผู้นำระดับสูงสร้างสิ่งแวดล้อมและบรรยากาศที่เอื้อต่อการปรับปรุงผลงาน , การบรรลุวัตถุประสงค์ขององค์กร, การสร้างนวตกรรม, ความคล่องตัวขององค์กร, การเรียนรู้ขององค์กรและบุคลากร, สัมพันธภาพในการทำงานที่ดี, ความร่วมมือและการประสานบริการ, การปฏิบัติอย่างถูกต้องตามกฎหมายและจริยธรรม. (3) Senior leaders create an environment for performance improvement, accomplishment of organization objectives, innovation, organizational agility, organizational and staff learning, effective working relationships, cooperation and integration of services, legal compliance and good ethical practice. MBNQA 2006 (2) ผู้นำระดับสูงดำเนินการอย่างไรในการสร้างสิ่งแวดล้อมที่ส่งเสริมและให้มีพฤติกรรมที่ปฏิบัติตามกฎหมายและมีจริยธรรม? (3) ผู้นำระดับสูงดำเนินการอย่างไรในการสร้างองค์กรให้เป็นองค์กรที่มีความยั่งยืน? ผู้นำระดับสูงดำเนินการอย่างไรในการสร้างสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อการปรับปรุงผลงาน, การบรรลุวัตถุประสงค์เชิงกลยุทธ์, การสร้างนวัตกรรม, และความคล่องตัว/ความยืดหยุ่นขององค์กร? ผู้นำระดับสูงดำเนินการอย่างไรในการสร้างสิ่งแวดล้อมเพื่อให้เกิดการเรียนรู้ขององค์กรและบุคลากร? ผู้นำระดับสูงแต่ละคนมีส่วนร่วมอย่างไรในการวางแผนสืบทอดตำแหน่งและการพัฒนาผู้นำในอนาคตขององค์กร?

  48. I - 1.1 ข. การสื่อสารและจุดเน้นขององค์กร (1) ผู้นำระดับสูงสื่อสารกับบุคลากร, ให้อำนาจการตัดสินใจ , และจูงใจบุคลากรทุกคนทั่วทั้งองค์กร. ผู้นำระดับสูงกระตุ้นให้เกิดการสื่อสารสองทางที่ตรงไปตรงมาทั่วทั้งองค์กร. ผู้นำระดับสูงมีบทบาทเชิงรุกในการให้รางวัลและการยกย่องชมเชยเพื่อเสริมสร้างการมุ่งเน้นผู้ป่วย/ผู้รับผลงาน, คุณภาพและความปลอดภัยในการดูแลผู้รับบริการ, และการมีผลงานที่ดี. (2) ผู้นำระดับสูงกำหนดจุดเน้นของการปรับปรุงผลงานและจุดเน้นของการดำเนินงานเพื่อการบรรลุวัตถุประสงค์/วิสัยทัศน์ขององค์กรรวมทั้งระดับความคาดหวังในจุดเน้นดังกล่าว. ระดับความคาดหวังขององค์กรมีสมดุลระหว่างคุณค่าที่ให้แก่ผู้ป่วย/ผู้รับผลงานและผู้มีส่วนได้เสียอื่นๆ. 1 2

  49. I - 1.1 ข. การสื่อสารและจุดเน้นขององค์กร HA2006 (1) ผู้นำระดับสูงสื่อสารกับบุคลากร, ให้อำนาจการตัดสินใจ, และจูงใจบุคลากรทุกคนทั่วทั้งองค์กร. ผู้นำระดับสูงกระตุ้นให้เกิดการสื่อสารสองทางที่ตรงไปตรงมาทั่วทั้งองค์กร. ผู้นำระดับสูงมีบทบาทเชิงรุกในการให้รางวัลและการยกย่องชมเชยเพื่อเสริมสร้างการมุ่งเน้นผู้ป่วย/ผู้รับผลงาน, คุณภาพและความปลอดภัยในการดูแลผู้รับบริการ, และการมีผลงานที่ดี. (1) Senior leaders communicate with, empower, and motivate all staff throughout the organization. Senior leaders encourage frank, two-way communication throughout the organization. Senior leaders take an active role in staff reward and recognition to reinforce a focus on patients/other customers, quality and safety in patient care, and good performance. MBNQA 2006 (1) ผู้นำระดับสูงดำเนินการอย่างไรในการสื่อสารให้อำนาจการตัดสินใจและจูงใจบุคลากรทุกคนทั่วทั้งองค์กร? ผู้นำระดับสูงดำเนินการอย่างไรในการกระตุ้นให้เกิดการสื่อสารสองทางที่ตรงไปตรงมาทั่วทั้งองค์กร? ผู้นำระดับสูงมีบทบาทเชิงรุกอย่างไรในการให้รางวัลและการยกย่องชมเชยเพื่อเสริมสร้างการมีผลการดำเนินการที่ดีการมุ่งเน้นองค์กรการมุ่งเน้นผู้ป่วยและผู้รับผลงานอื่นๆ?

  50. I - 1.1 ข. การสื่อสารและจุดเน้นขององค์กร HA2006 (2) ผู้นำระดับสูงกำหนดจุดเน้นของการปรับปรุงผลงานและจุดเน้นของการดำเนินงานเพื่อการบรรลุวัตถุประสงค์/วิสัยทัศน์ขององค์กรรวมทั้งระดับความคาดหวังในจุดเน้นดังกล่าว. ระดับความคาดหวังขององค์กรมีสมดุลระหว่างคุณค่าที่ให้แก่ผู้ป่วย/ผู้รับผลงานและผู้มีส่วนได้เสียอื่นๆ. (2) Senior leaders create a focus on action to improve performance, accomplish the organization’s objectives, and attain the vision; including performance expectation in those areas. The organizational performance expectations include a balanced value for patients/other customers, and other stakeholders. MBNQA 2006 (2) ผู้นำระดับสูงดำเนินการอย่างไรในการกำหนดจุดเน้นของการทำงานเพื่อการบรรลุวัตถุประสงค์ขององค์กร, การปรับปรุงผลการดำเนินการ, และการบรรลุวิสัยทัศน์ขององค์กร? ในการกำหนดความคาดหวังผลการดำเนินการขององค์กร ผู้นำระดับสูงคำนึงถึงจุดเน้นในการสร้างคุณค่าและทำให้เกิดความสมดุลระหว่างคุณค่าที่ให้แก่ผู้ป่วยผู้รับผลงานอื่นๆและผู้มีส่วนได้เสียอื่นๆอย่างไร?

More Related