1 / 31

ศุภลักษณ์ จันทรารักษ์ศรี สถาบันวิทยบริการ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 26 ตุลาคม 2548

ระบบฐานข้อมูลสหบรรณานุกรม สำหรับ ห้องสมุดมหาวิทยาลัย / สถาบัน ตามโครงการพัฒนาเครือข่ายห้องสมุดในประเทศไทย. ศุภลักษณ์ จันทรารักษ์ศรี สถาบันวิทยบริการ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 26 ตุลาคม 2548. วัตถุประสงค์. เพื่อพัฒนาฐานข้อมูลบรรณานุกรมกลาง (Union Catalog) ของ ห้องสมุดมหาวิทยาลัยในประเทศ

Télécharger la présentation

ศุภลักษณ์ จันทรารักษ์ศรี สถาบันวิทยบริการ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 26 ตุลาคม 2548

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. ระบบฐานข้อมูลสหบรรณานุกรมระบบฐานข้อมูลสหบรรณานุกรม สำหรับห้องสมุดมหาวิทยาลัย / สถาบันตามโครงการพัฒนาเครือข่ายห้องสมุดในประเทศไทย ศุภลักษณ์ จันทรารักษ์ศรี สถาบันวิทยบริการ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 26 ตุลาคม 2548

  2. วัตถุประสงค์ • เพื่อพัฒนาฐานข้อมูลบรรณานุกรมกลาง (Union Catalog) ของห้องสมุดมหาวิทยาลัยในประเทศ • เพื่อสร้างแหล่งทรัพยากรความรู้ที่ใหญ่ที่สุดของชาติ สำหรับบุคลากรของประเทศ • เพื่อเป็นต้นแบบของศูนย์รวมบรรณานุกรมแห่งชาติ (National Bibliographic Center)

  3. เป้าหมาย • มีฐานข้อมูลสหบรรณานุกรม (Union Catalog) ที่รวมทรัพยากรสารสนเทศของห้องสมุดมหาวิทยาลัย/สถาบัน ห้องสมุดสถาบันราชภัฏ ห้องสมุดสถาบันเทคโนโลยีราชมงคล และห้องสมุดสถาบันเทคโนโลยีปทุมวัน • เพิ่มความสมบูรณ์ของฐานข้อมูลสหบรรณานุกรม (Union Catalog) ด้วยการรวบรวมทรัพยากรสารสนเทศที่อยู่ในสื่อประเภทต่าง ๆ

  4. เป้าหมาย (ต่อ) 3. ส่งเสริมการใช้ทรัพยากรสารสนเทศร่วมกันโดยผ่านระบบการยืมระหว่างห้องสมุด 4. เป็นต้นแบบของศูนย์รวมบรรณานุกรมแห่งชาติ (National Bibliographic Center) 5. เป็นแหล่งทรัพยากรความรู้ที่ใหญ่ที่สุดของชาติ สำหรับบุคลากรของประเทศ ที่จะเป็นศูนย์กลางการเรียนรู้ด้วยตนเองอย่างสมบูรณ์

  5. การดำเนินงาน • พ.ศ. 2541 • พ.ศ. 2544 • พ.ศ. 2545 • พ.ศ. 2546 • พ.ศ. 2547

  6. ระบบ Union Catalog ประกอบด้วย • โปรแกรม VTLS (Virtua) • Z39.50 Protocol • Data Storage System 25 Licenses • โปรแกรม Virtua Client 75 Licenses • โปรแกรม ILL Manager ของ RLG

  7. การดำเนินงาน ปี 2547 • วันที่ 4 มิถุนายน 2547ประชุมคณะทำงานระบบฐานข้อมูลสหบรรณานุกรม : ฝ่ายวิเคราะห์ทรัพยากรสารสนเทศครั้งที่ 4/2547 ที่ประชุมได้เชิญบริษัทฯเข้าร่วมประชุมเพื่อดำเนินการจัดส่งInitial Loadข้อมูลใหม่ทั้งหมดเพื่อเพิ่มเติมระเบียนบรรณานุกรมให้ตรงตามTOR

  8. การดำเนินงานปี พ.ศ.2548 จัดประชุมและอบรม 5 ครั้ง • วันที่ 18 – 27 มกราคม 2548 • วันที่ 2 มีนาคม 2548 • วันที่ 14 มิถุนายน 2548 • วันที่ 25 กรกฎาคม 2548 • วันที่ 18 สิงหาคม 2548

  9. ความก้าวหน้าของการดำเนินงาน ปี พ.ศ.2548 • วันที่ 18-19 มกราคม 2548 อบรมระบบฐานข้อมูลสหบรรณานุกรม (Union/List Catalog Training) • วันที่ 20-21 มกราคม 2548 อบรมฐานข้อมูลสหบรรณานุกรมงานวารสาร (Serials Catalog Training) • วันที่ 24-25 มกราคม 2548 อบรม System Librarian Training • วันที่ 26 มกราคม 2548 อบรมระบบยืม-คืนระหว่างห้องสมุด (Inter-library Loan) • วันที่ 27 มกราคม 2548 อบรมระบบสืบค้นฐานข้อมูลบรรณานุกรม (OPACTraining)

  10. ความก้าวหน้าของการดำเนินงาน ปี พ.ศ.2548 (ต่อ) • วันที่ 2 มีนาคม 2548 ประชุมหารือวิธีแก้ไขduplication • วันที่ 14 มิถุนายน 2548 อบรม Regional • วันที่ 25 กรกฎาคม 2548 ประชุมปรับแผน (Action Plan)และLoad ข้อมูลที่เหลือ (กรกฎาคม 2547 – สิงหาคม 2548) • วันที่ 18สิงหาคม 2548 กลุ่ม Catalog ทบทวนการลงรายการให้ตรงกันทั้ง 24 แห่ง • วันที่ 6 ตุลาคม 2548 บริษัทแจ้งผลการรวมข้อมูลครั้งที่3 ข้อเสนอปัญหาหนังสือภาษาไทย และขอทดสอบช่วง Go Live ตกลงเรื่องการตรวจสอบรายการข้อมูลชื่อวารสาร

  11. ฐานข้อมูลสหบรรณานุกรมฐานข้อมูลสหบรรณานุกรม ทบวงฯ ได้จัดซื้อโปรแกรม VTLS (Virtua) สำหรับจัดเก็บฐานข้อ มูลสหบรรณานุกรม • 1. ฐานข้อมูลสหบรรณานุกรม ประกอบด้วย 2 ฐาน • 1.1 ฐานข้อมูลหลัก (หนังสือ วารสาร ฯลฯ) • 1.2. ฐานข้อมูลรายการบรรณานุกรมของบทความวารสาร • 2. ข้อมูลที่ส่งไปรวมกันประมาณ 3.6ล้านระเบียน ในรูปของ • ISO2709 • 3. กำหนด Master record ข้อมูลซ้ำซ้อนจะ merge เข้าไป • แล้วเพิ่ม Location รหัสมหาวิทยาลัย/สถาบัน

  12. ฐานข้อมูลสหบรรณานุกรม (ต่อ) • 4. การเริ่มใช้งานจริง(Live) ระเบียนใหม่ที่ยังไม่มีในฐานข้อมูล • ถือเป็น Master record • 5. วิธีการทำงาน จะทำใน 2 ลักษณะ • 5.1 Bottom-up • 5.2 Top-down • 6. ใช้มาตราฐานการลงรายการแบบสากล (AACR 2, MARC 21)

  13. วิธีการสร้างฐานข้อมูลวิธีการสร้างฐานข้อมูล • BatchLoad • Initial Load • Online Addition • Go live

  14. Export data CU Connect to UNIFAC Via Web Browser SCAN 2709 Program filename.ok Send data to UC Server Reject File 2 Upload.sh 2 time / day UC 3 Run vload.sh Add Library Symbol CU de-dupe Working with The Record Loading Process 1

  15. EDIS System Members’ Library Electronic Data Information Source System Of Union Catalog Database EDIS Add / Modify Master Record cu ISO 2709 UC split ku csv kku summary.csv Download File

  16. 3rd Time Record Loading  Total Records for 3rd Time = 236,242 • Updating Original Record (Record already exist in UC) Adding Library Symbol = 50,290 • New Master Record (Record does not exist in UC) New Master Records = 185,952

  17. สิ่งที่จะเกิดขึ้นในอนาคตสิ่งที่จะเกิดขึ้นในอนาคต • การเข้าร่วมของสมาชิกใหม่ • มหาวิทยาลัยราชภัฏ 41 แห่ง • มหาวิทยาลัยราชมงคล 9 แห่ง • สถาบันเทคโนโลยีปทุมวัน 1 แห่ง • มหาวิทยาลัยสงฆ์ 2 แห่ง รวม 53 แห่ง รวมทั้งหมด (24+53) 77 แห่ง

  18. ปัญหาและอุปสรรค • นโยบายการรับสมาชิก • การบริหารจัดการ • คณะกรรมการ • ส่วนกลาง / ระบบ • งบประมาณ

  19. แผนการดำเนินงานปี 2547 - 2551

  20. แผนการดำเนินงานปี 2547 – 2551 (ต่อ)

  21. รูปแบบ UC ในอนาคต (แบบที่1) จัดทำโดย คุณจีระพล คุ่มเคี่ยม

  22. รูปแบบ UC ในอนาคต (แบบที่2) จัดทำโดย คุณจีระพล คุ่มเคี่ยม

  23. END suphalak.c@car.chula.ac.th

More Related