1 / 20

โครงการศึกษาพัฒนาคุณภาพรายงานสาเหตุการตายโดย การสัมภาษณ์ในประเทศไทย พ.ศ. 2548-2550

โครงการศึกษาพัฒนาคุณภาพรายงานสาเหตุการตายโดย การสัมภาษณ์ในประเทศไทย พ.ศ. 2548-2550. ภายใต้โครงการศึกษาทางเลือกเชิงนโยบายต่อภาระโรค :โครงการความร่วมมือระหว่าง กระทรวงสาธารณสุขไทย กับ มหาวิทยาลัยควีนส์แลนด์ ประเทศออสเตรเลีย. ปัญหาความถูกต้องของสาเหตุการตาย.

fala
Télécharger la présentation

โครงการศึกษาพัฒนาคุณภาพรายงานสาเหตุการตายโดย การสัมภาษณ์ในประเทศไทย พ.ศ. 2548-2550

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. โครงการศึกษาพัฒนาคุณภาพรายงานสาเหตุการตายโดยการสัมภาษณ์ในประเทศไทยพ.ศ. 2548-2550 ภายใต้โครงการศึกษาทางเลือกเชิงนโยบายต่อภาระโรค :โครงการความร่วมมือระหว่าง กระทรวงสาธารณสุขไทย กับ มหาวิทยาลัยควีนส์แลนด์ ประเทศออสเตรเลีย

  2. ปัญหาความถูกต้องของสาเหตุการตายปัญหาความถูกต้องของสาเหตุการตาย • ร้อยละ 30-40 ของการตายเป็นรายงานที่สาเหตุไม่ชัดแจ้งหรือไม่ทราบสาเหตุ • สาเหตุการตายของผู้สูงอายุในชนบทที่ตายที่บ้านมักระบุว่าตายโดยชราภาพ • พบบ่อยที่มักระบุรูปแบบการตายมากกว่าสาเหตุการตายนำ

  3. ปัญหาดังกล่าว ทำให้เกิดความจำกัดในการใช้ข้อมูลสาเหตุการตายในการวางแผนงานสาธารณสุข • องค์การอนามัยโลกจึงแสวงหาทางเลือกที่สามารถเพิ่มความถูกต้องของสาเหตุการตายดังกล่าว • และพบว่าการสอบสวนสาเหตุการตายโดยการสัมภาษณ์หรือ Verbal Autopsy (VA) เป็นทางเลือกหนึ่งที่น่าจะนำมาใช้ได้

  4. Verbal Autopsy คืออะไร ? • คือวิธีการสอบสวนสาเหตุการตายโดยการสัมภาษณ์ ญาติ หรือผู้ใกล้ชิดผู้ตาย ถึงอาการของโรค และการได้รับการรักษาก่อนเสียชีวิต • บางกรณีผู้ให้สัมภาษณ์อาจเป็นสมาชิกในชุมชนที่รู้เห็นเหตุการณ์ก่อนเสียชีวิตก็ได้

  5. วัตถุประสงค์ • ตรวจสอบความถูกต้องของสาเหตุการตายจากมรณบัตรในกลุ่มที่มีรหัสโรคชัดเจน และ กลุ่มที่ไม่ทราบสาเหตุหรือสาเหตุไม่ชัดแจ้ง • เพื่อให้ได้ age-sex-cause specific correction factorsสำหรับปรับสาเหตุการตายของระบบทะเบียนราษฎร์ ในระดับประเทศ • พัฒนาเครื่องมือชันสูตรสาเหตุการตายโดยการสัมภาษณ์ที่เป็น มาตรฐานให้ใช้ได้ในทุกระดับของประเทศ

  6. วิธีการศึกษา 1. เก็บข้อมูลโดยการสัมภาษณ์ญาติ หรือผู้ดูแล กลุ่มตัวอย่างโดยใช้แบบสัมภาษณ์สาเหตุการตาย (VA Qs) เพื่อให้ทราบถึงอาการและอาการแสดง จากนั้นส่งข้อมูลให้ทีมแพทย์ผู้เชี่ยวชาญ ทำการวินิจฉัยสาเหตุการตาย 2. เก็บข้อมูลจากเวชระเบียน เพื่อวินิจฉัยสาเหตุการตาย โดยทีมแพทย์ผู้เชี่ยวชาญในแต่ละพื้นที่ 3. เปรียบเทียบสาเหตุการตายจากการสัมภาษณ์กับสาเหตุการตายจากโรงพยาบาลที่ถือว่าเป็น gold standard นำมาวิเคราะห์ ความแม่นยำ ความไว ความจำเพาะ และอำนาจการทายผลบวก ของ เครื่องมือ

  7. เครื่องมือที่ใช้ในการสัมภาษณ์(VA/Qs) แบบสัมภาษณ์มี 2 ชุด แบ่งตามกลุ่มอายุ ดังนี้ • VA/Qs กลุ่มอายุ น้อยกว่า 1 ปี • VA/Qs กลุ่มอายุ มากกว่า 1 ปีขึ้นไป link VA/Qs

  8. เกณฑ์การเขียนแบบสอบถามเกณฑ์การเขียนแบบสอบถาม • คลอบคลุม ชุดคำถามสำหรับทุกโรคตามเป้าหมาย • ละเว้นการใช้ศัพท์แพทย์ ใช้ภาษาที่ง่ายๆ หรือภาษาท้องถิ่น เพื่อความเข้าใจที่ถูกต้องระหว่างผู้สัมภาษณ์และผู้ตอบ

  9. การวินิจฉัยสาเหตุการตายจาก VA • รวบรวมข้อมูลประวัติการเจ็บป่วย รวมข้อมูลจากการรักษา(ถ้ามี)ในแบบสอบถาม ให้แพทย์ผู้เชี่ยวชาญด้านการรับรองสาเหตุการตายเป็นผู้วินิจฉัยสาเหตุ และการลงรหัสโรคตามเกณฑ์ของบัญชีจำแนกโรคระหว่างประเทศICD-10

  10. รายการโรคในเป้าหมายของโครงการSPICE-CODรายการโรคในเป้าหมายของโครงการSPICE-COD • เลือก20 โรคแรกที่เป็นสาเหตุนำจากทะเบียนการตายปี พ.ศ.2548(ไช้รหัสบัญชีโรคอย่างสั้น-WHO short list of mortality-103 diseases)ซึ่งครอบคลุมร้อยละ 90 ของสาเหตุตายทั้งหมด • จากเป้าหมายแจกแจงได้ประมาณ 45 โรค ที่น่าจะสอบสวนโดย VAไห้ได้สาเหตุตายอย่างถูกต้อง

  11. ผู้ตายอายุต่ำกว่าหนึ่งขวบผู้ตายอายุต่ำกว่าหนึ่งขวบ • เด็กเอดส์ • พิการแต่กำเนิด • คลอดก่อนกำหนด/น้ำหนักน้อย • ท้องร่วงท้องเสีย • ปอดบวม • ไข้เลือดออก • เยื้อหุ้มสมองอักเสบ • อุบัติเหตุ/ถูกฆ่าตาย

  12. สาเหตุของแม่ตาย • ติดเชื้อจากการทำแท้ง • ท้องนอกมดลูก • รกลอกตัวก่อนคลอด • ครรภ์เป็นพิษ • คลอดติดขัด • ตกเลือดก่อนคลอด/หลังคลอด • ติดเชื้อหลังคลอด

  13. ตัวอย่างสาเหตุตาย(หนึ่งขวบขึ้นไป) form B • ไข้เลือดออก • เส้นเลือดในสมองแตก • วัณโรคปอด • ตับแข็ง • มะเร็งตับ • กล้ามเนื้อหัวใจตาย

  14. ขั้นตอนจากนิยามโรค---เลือกสาเหตุตายจากVAขั้นตอนจากนิยามโรค---เลือกสาเหตุตายจากVA ชื่อโรค นิยามโรค ชุดคำถามของ แต่ละโรคใน VA Qs Disease algorithms เลือกสาเหตุตายจากVA

  15. การสุ่มตัวอย่าง

  16. เกณฑ์การคัดเลือก คือ (1) เป็นผู้ที่มีสัญชาติไทย (2) มีที่อยู่ในทะเบียนราษฎร์ในเขตจังหวัดที่เป็นกลุ่มตัวอย่าง ภาคใต้ กรุงเทพฯ ภาคกลาง ภาคอิสาน ภาคเหนือ National แหล่งข้อมูล รายชื่อผู้ตายจากทะเบียนราษฎร์ปี พ.ศ. 2548(395,374ราย) ตัวอย่างการตายที่สุ่มได้ = 12121 คำนวณขนาดกลุ่มตัวอย่างให้กระจายในทุกภาคตามสัดส่วนจำนวนคนตายในแต่ละภูมิภาค 1st stratification: region: PPS 2nd stratification: province PPS Clustering the provinces into 2 groups ; percentile 50 and over (# of death).

  17. กรุงเทพฯ ภาคกลาง ภาคอิสาน ภาคเหนือ ภาคใต้ ราชเทวี / หนองแขม คันนายาว สุพรรณบุรี นครนายก อุบลราชธานี เลย เชียงราย พะเยา สงขลา ชุมพร 3rd stratification: district อำเภอ1 อำเภอ2 Clustering districts into 2 groups ; percentile 50 and over (# of death).

  18. C H I A N G R A I Payao Leoi L I I U B O N R A T C H A T H A N I Supanburi B A N G K O K Nakornnayok National level : province in each region N CHUMPON W E Songkla S

  19. Already start for data colletion Bangkok Songkla Ubon Rachathani Nakhon Nayok Supanburi Chumporn Leoi Plan Chaingrai Payao Study provinces

  20. ผลที่คาดว่าจะรับ • ได้เครื่องมือสอบสวนสาเหตุการตายโดยการสัมภาษณ์ (Verbal Autopsy : VA)ที่เป็นมาตรฐาน นำมาใช้ประโยชน์ในประเทศไทยต่อไป • พัฒนาศักยภาพ บุคลากรสาธารณสุขในการชันสูตรด้วยการสัมภาษณ์ และเพื่อให้ได้สาเหตุการตายที่ถูกต้อง • ทราบแบบแผนสาเหตุการตายของประชากรแยกตามเพศและอายุที่จะใช้เป็น correction factors ที่จะนำไปปรับความถูกต้องของสาเหตุการตายในใบมรณบัตร • เป็นข้อมูลพื้นฐานในการศึกษาถึงภาระโรคที่สำคัญในประเทศ ต่อไป

More Related