1 / 15

ตำแหน่งของแผนที่ยุทธศาสตร์

ตำแหน่งของแผนที่ยุทธศาสตร์. ยุทธศาสตร์. กลยุทธ์. แผนที่ยุทธศาสตร์. ผู้มีส่วนได้เสีย. วางแผน. วัตถุประสงค์ เครื่องชี้วัด ความริเริ่ม. การตั้งงบประมาณ การประเมินต้นทุน ( costing). Out- comes. แผนปฏิบัติการ บริการ. บริหารจัดการ. พัฒนาบุคลากร.

albert
Télécharger la présentation

ตำแหน่งของแผนที่ยุทธศาสตร์

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. ตำแหน่งของแผนที่ยุทธศาสตร์ตำแหน่งของแผนที่ยุทธศาสตร์ ยุทธศาสตร์ กลยุทธ์ แผนที่ยุทธศาสตร์ ผู้มีส่วนได้เสีย วางแผน วัตถุประสงค์ เครื่องชี้วัด ความริเริ่ม การตั้งงบประมาณ การประเมินต้นทุน(costing) Out- comes แผนปฏิบัติการ บริการ บริหารจัดการ พัฒนาบุคลากร

  2. ความสัมพันธ์ของ ABC/Mกับแผนที่ยุทธศาสตร์ แผนที่ ยุทธศาสตร์ ตรวจสอบกระบวนการ (Balanced Scorecard) การบริหารยุทธศาสตร์ ABC ABM ข้อมูลทางบัญชีเพื่อ การบริหารจัดการ ข้อมูลการปฏิบัติงาน

  3. ความสัมพันธ์ของยุทธศาสตร์กับการจัดการกิจกรรมและการคิดต้นทุนความสัมพันธ์ของยุทธศาสตร์กับการจัดการกิจกรรมและการคิดต้นทุน คุณค่า ประชาชน ประสิทธิผลของยุทธศาสตร์ ปรับกระบวนการ บริหารงบประมาณ การจัดการกิจกรรม(ABM) ประสิทธิภาพของ ปฏิบัติการ ต้นทุนกลยุทธ์ ต้นทุนกิจกรรม ต้นทุนผลผลิต/บริการ การคิดต้นทุน(ABC)

  4. รูปแบบ ความสัมพันธ์ของแผนที่ยุทธศาสตร์กับการจัดการกิจกรรม SLM มุมมองเชิงการตอบสนองยุทธศาสตร์ มุมมองเชิงกระบวนการ Mini-SLM ตัวกำหนดต้นทุน (Cost Drivers) กิจกรรม ตัวชี้วัดผลงาน วัตถุประสงค์ส่วนบุคคล

  5. ผู้บริหารคือผู้กำหนดความสำเร็จของยุทธศาสตร์ การพัฒนาความสามารถของบุคคลเป็นตัวกำหนดคุณค่าของงานที่ทำได้จริง คุณค่าของงานที่ทำได้ ลักษณะข้อมูล ลักษณะบุคคล ลักษณะองค์กร คุณค่าของบุคคลเดิม คุณค่าของบุคคลเต็มศักยภาพ พัฒนาความสามารถสร้างสรรค์ CD= cognitive development ED = social-emotional development พัฒนาการใช้แผนที่ยุทธศาสตร์ ทีมผู้บริหาร อปท/ กองทุนฯ เน้นพัฒนาความสามารถสร้างสรรค์และการใช้แผนที่ยุทธศาสตร์ ของทีมผู้บริหาร

  6. ความสามารถสร้างสรรค์กับนวัตกรรมCreativity & Innovation • ความสามารถสร้างสรรค์ คือความสามารถสร้างสิ่งใหม่ขึ้นเป็นครั้งแรก • นวัตกรรม คือความสามารถสร้างหรือดัดแปลงสิ่งที่มีอยู่แล้วให้ใช้ได้ดีขึ้นหรือมีการยอมรับมากขึ้น • ทั้งสองอย่างต้องไปด้วยกัน ความสามารถสร้างสรรค์ นวัตกรรม • องค์กรต้องการความสามารถสร้างสรรค์เพื่อสร้างนวัตกรรมในงานทุกด้าน เช่น กระบวนการต่างๆ สัมพันธภาพ การตัดสินใจ การแก้ปัญหา • ความสามารถสร้างสรรค์มิได้มีจำกัดอยู่เฉพาะในคนฉลาด คนมีการศึกษา มีประสบการณ์ ผู้สูงอายุ หรือหัวหน้างานเท่านั้น • คนธรรมดาทั่วไปหรือชาวบ้านก็มีความสามารถสร้างสรรค์ได้

  7. ความสามารถสร้างสรรค์(Creativity) • ความสามารถสร้างสรรค์เกิดจาก เจตคติ + ความถนัด (ความตั้งใจ + ความสามารถ) • ความสามารถสร้างสรรค์ เป็นลักษณะการมองสถานการณ์หรือปัญหาด้วยความคิดหรือวิธีการใหม่ๆตลอดเวลา • ความสามารถสร้างสรรค์ประกอบด้วยคุณลักษณะ 3 ประการ 1. ความเหนียวแน่น (Tenacity) กัดไม่ปล่อย 2. ความมั่นใจ (Confidence) กล้าเสี่ยงอย่างรอบคอบ 3. ความกระตือรือร้น (Enthusiasm) มีความสุขกับงานที่ทำ

  8. ความถนัด(Aptitude) • ความถนัด ช่วยให้ความคิดสร้างสรรค์ /นวัตกรรมมีความเหมาะสม เป็นไปได้ • ความถนัด เกิดจากความสามารถเรียนรู้สถานการณ์รอบตัว ดังนั้น • ให้อยากรู้อยากเห็นสิ่งที่จะเป็นประโยชน์กับงาน ตาดู หูฟัง วิเคราะห์ สังเคราะห์ มองปัญหาจากมุมมองใหม่ๆ • เพ่งเล็งเฉพาะจุดที่ต้องการ(ที่มีหรือไม่มีปัญหา) หาข้อมูลให้มากที่สุด ตั้งเป้าประสงค์ให้ชัด จะช่วยให้เกิดความคิดริเริ่ม/นวัตกรรม • อย่ามองแต่ทางลึกอย่างเดียว ให้มองทางกว้างด้วย

  9. เมื่อตาดู หูฟัง เก็บข้อมูลและตั้งใจหาทางเลือกใหม่แล้ว • ปล่อยวาง สังสรรค์ • ทำสมาธิ • ทำสิ่งอื่นที่ให้ความสุข • อาจจะได้ความคิดสร้างสรรค์

  10. บ่มเพาะความสามารถสร้างสรรค์ / นวัตกรรมในผู้ร่วมงาน • หัวหน้าอย่าวางเฉยหรือตัดรอนความคิดสร้างสรรค์/นวัตกรรม ให้เจ้าของความคิดร่วมสานต่อ ให้รางวัลความสำเร็จ • สนับสนุนให้ทดลอง หากไม่สำเร็จให้ถือว่าเป็นบทเรียน • ตั้งจุดหมายปลายทางและวางแผนที่ยุทธศาสตร์ที่ละเอียดถึงบทบาทของบุคคล เพื่อแต่ละบุคคลจะได้หาทางสร้างนวัตกรรมในงานที่รับผิดชอบ • วิธีช่วยสร้างความคิดสร้างสรรค์/นวัตกรรม 1. ส่งเสริมความหลากหลายในความคิด แลกเปลี่ยนข้อมูล สร้างความร่วมมือ 2. มอบหมายทีมผสมที่มีประสบการณ์ และวิธีแก้ปัญหาต่างๆกันดำเนินการ (Departmental - community sourcing) 3. แลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างกันเอง 4. ถามคำถามที่ท้าทาย SCAMPER (S=Substitute, C=Combine, A=Adapt, M=Modify, P=Put to other purposes, E=Eliminate, R=Rearrange) • ให้เวลาสงบจิตใจ อยู่คนเดียวเพื่อใช้ความคิด

  11. บรรยากาศที่เหมาะสมสำหรับสร้างความคิดริเริ่ม/นวัตกรรมบรรยากาศที่เหมาะสมสำหรับสร้างความคิดริเริ่ม/นวัตกรรม • เกิดสิ่งที่ไม่คาดคิด (Surprise) • เกิดความไม่เข้ากัน (Incongruity) • เกิดคอขวดในงาน (Bottleneck) • เกิดการเปลี่ยนแปลงใน องค์กร ทัศนะ ประชากร องค์ความรู้

  12. การจัดการนวัตกรรม (Innovation Management) • การกำหนดเงื่อนไขของการสร้างนวัตกรรม คณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติได้ตั้งกรรมการขึ้นชุดหนึ่งชื่อคณะกรรมการสนับสนุนและพัฒนาระบบหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่พร้อมโครงการสนับสนุนโครงการฯจะใช้แผนที่ยุทธศาสตร์เป็นเครื่องมือในการสร้างนวัตกรรมกระบวนการในระดับนั้น 2. การจัดการความคิดและความสามารถสร้างสรรค์ โครงการฯจะเน้นการสร้างความคิดสร้างสรรค์และนวัตกรรมในระดับชุมชน ท้องถิ่น และปฐมภูมิ

  13. การจัดการนวัตกรรม (ต่อ) • การจัดการบัญชีนวัตกรรม โครงการฯจะให้ความสำคัญกับการสร้างนวัตกรรมกระบวนการของระบบประกันสุขภาพเพื่อให้ชุมชน และท้องถิ่น สามารถวางแผนดำเนินงานหลักประกันสุขภาพได้ • การจัดการโครงการ (Project Management) โครงการฯจะใช้ “ทีมจัดการนวัตกรรม” ( Innovation Management Team) ที่สมาชิกมีความหลากหลายทั้งคุณลักษณะ ความเชี่ยวชาญ และประสบการณ์ ในการกำหนดลำดับความสำคัญ คัดเลือก และจัดการนวัตกรรม

  14. การจัดการนวัตกรรม (ต่อ) 5. การจัดการทรัพยากรบุคคล (Human Resource Management) โครงการฯจะถ่ายทอดแนวคิดเรื่องความสามารถสร้างสรรค์และนวัตกรรม รวมทั้งสนับสนุนให้บุคคลทุกฝ่าย ทุกระดับมีโอกาสสร้างนวัตกรรมในงานที่ปฏิบัติ

  15. ส วั ส ดี

More Related