490 likes | 797 Vues
CPD. C ontinuing P rofessional D evelopment. รายชื่อคณะอนุกรรมการ การพัฒนาวิชาชีพต่อเนื่อง สภาวิศวกร. นายวิระ มาวิจักขณ์ ที่ปรึกษา นายเรืองศักดิ์ วัชรพงศ์ ประธาน รศ.ศุลี บรรจงจิตร รองประธาน. รายชื่อคณะอนุกรรมการ การพัฒนาวิชาชีพต่อเนื่อง สภาวิศวกร. คณะอนุกรรมการ
E N D
CPD Continuing Professional Development
รายชื่อคณะอนุกรรมการ การพัฒนาวิชาชีพต่อเนื่อง สภาวิศวกร นายวิระมาวิจักขณ์ ที่ปรึกษา นายเรืองศักดิ์ วัชรพงศ์ประธาน รศ.ศุลี บรรจงจิตรรองประธาน
รายชื่อคณะอนุกรรมการ การพัฒนาวิชาชีพต่อเนื่อง สภาวิศวกร คณะอนุกรรมการ นายวิวัฒน์ กุลวงศ์วิทย์ นายชัชวาลย์ คุณค้ำชู นายโสภณ เหล่าสุวรรณ นายอุทิศ จันทร์เจนจบ นายบรรพต จำรูญโรจน์ รศ.ดร. ขวัญชัย ลีเผ่าพันธุ์ รศ.ดร.มงคล มงคลวงศ์โรจน์ รศ. สิริวัฒน์ ไชยชนะ ผศ.ดร.นำคุณ ศรีสนิท ดร.นิลวรรณ ชุ่มฤทธิ์ นายสุเมธ โสฬศ นายวันชัย กัญมาศ
ระเบียบคณะกรรมการสภาวิศวกรว่าด้วยระเบียบคณะกรรมการสภาวิศวกรว่าด้วย การพัฒนาวิชาชีพต่อเนื่อง ข้อ ๔ การพัฒนาวิชาชีพต่อเนื่องมีวัตถุประสงค์ ดังต่อไปนี้ (๑) เพื่อใช้ประกอบการเลื่อนระดับเป็นสามัญวิศวกร (๒) เพื่อยกระดับความรู้ความสามารถและประสิทธิผลของผู้ได้รับใบอนุญาตประกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบคุม (๓) เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนให้ผู้ได้รับใบอนุญาตประกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบคุมได้พัฒนาทักษะและความรู้ในการประกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบคุมโดยต่อเนื่อง
ระเบียบคณะกรรมการสภาวิศวกรว่าด้วยระเบียบคณะกรรมการสภาวิศวกรว่าด้วย การพัฒนาวิชาชีพต่อเนื่อง (๔) เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนการฝึกอบรม ศึกษา หรือการวิจัยอันเป็นประโยชน์ต่อการพัฒนาวิชาชีพต่อเนื่อง (๕) เพื่อประโยชน์ในการแลกเปลี่ยนความรู้และประสบการณ์ระหว่างผู้ได้รับใบอนุญาตประกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบคุม (๖) เพื่อเป็นหลักประกันและเสริมสร้างความเชื่อมั่นในการให้บริการวิชาชีพ
ประกาศสภาวิศวกร เรื่อง การกำหนดอัตราค่าตัวคูณคะแนน และวิธีการนำหน่วยพัฒนาวิศวกรรมสะสมมาใช้ในการขอรับใบอนุญาตประกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบคุม ระดับสามัญวิศวกร • หน่วยพัฒนาวิศวกรรมสะสมน้อยกว่า 150 หน่วยอัตราค่าตัวคูณเท่ากับ 1.00 • หน่วยพัฒนาวิศวกรรมสะสมตั้งแต่ 150 ถึง 174 หน่วย อัตราค่าตัวคูณเท่ากับ 1.10 • หน่วยพัฒนาวิศวกรรมสะสมตั้งแต่ 175 ถึง 199 หน่วยอัตราค่าตัวคูณเท่ากับ 1.15 • หน่วยพัฒนาวิศวกรรมสะสมตั้งแต่ 200 หน่วยขึ้นไป อัตราค่าตัวคูณเท่ากับ 1.20
กิจกรรมที่จะเรียกว่า CPD • ต้องเกี่ยวข้องกับอาชีพวิศวกรรม ซึ่งอาจเป็นกิจกรรมทางด้านเทคนิค หรือด้านอื่นๆก็ได้ ด้านเทคนิค วิศวกรรมในสาขาตนเอง หรือสาขาอื่น ด้านอื่นๆ กฎหมาย ภาษาอังกฤษ ภาษาจีน คอมพิวเตอร์ กราฟฟิค บุคลิกภาพ • ต้องไม่ใช่งานประจำที่ทำอยู่ทุกวัน(ยกเว้นงานพัฒนา) • ต้องสามารถตรวจสอบหรือยอมรับได้โดยสภาวิศวกร
กิจกรรม การพัฒนาวิชาชีพวิศวกรรมอย่างต่อเนื่อง เนื้อหาของเอกสารฉบับนี้เป็นข้อสรุปจากพิจารณาในการสัมมนาผู้แทนสมคมวิชาชีพและวิศวกร
ประเภทกิจกรรม • การศึกษาแบบเป็นทางการ (Formal Learning) • การศึกษาแบบไม่เป็นทางการ (Informal Learning) • การเข้าร่วมสัมมนาและการประชุมทางวิชาการหรือวิชาชีพ (Seminar, Conference and Meeting) • การเข้ามีส่วนร่วมในกิจกรรมวิชาชีพ (Participation) • กิจกรรมบริการวิชาชีพ (Service Activities) • การมีส่วนร่วมในวงการอุตสาหกรรม (Industry Involvement) • การสร้างสรรค์ความรู้ (Contribution to Knowledge) • การจดสิทธิบัตร (Patents)
การศึกษาแบบเป็นทางการ (Formal Learning) Max 40 PDU 1.1 หลักสูตรที่เรียนในวิทยาลัย สถาบันเทคโนโลยี หรือมหาวิทยาลัย (ที่สูงกว่าระดับปริญญาตรี) 1.2 หลักสูตรการอบรมที่จัดโดยองค์กรที่สภาวิศวกรให้การรับรองที่มีการสอบ (ต้องสอบผ่าน) 1.3 หลักสูตรการอบรมที่จัดโดยองค์กรที่สภาวิศวกรให้การรับรองที่ไม่มีการสอบ 1.4 หลักสูตรการอบรมในองค์กรของตนเองที่สภาวิศวกรให้การรับรอง (ต้องเข้าอบรมไม่ต่ำกว่า 80%) 1.5 หลักสูตรอบรมที่จัดโดยหน่วยงานอื่นที่ได้รับการรับรองจากหน่วยงานของรัฐ (ที่ไม่ใช่ทางด้านวิศวกรรม) หลักเกณฑ์: นับตามจำนวนชั่วโมงที่เรียน (ผู้ที่เป็นอาจารย์และวิทยากรไม่จำเป็นต้องได้ชั่วโมงต่ำสุดจากกิจกรรมนี้)
การศึกษาแบบไม่เป็นทางการ (Informal Learning) Max 20 PDU 2.1 การเรียนรู้ด้วยตนเอง (ในงานใหม่ที่ใช้เทคโนโลยีขั้นสูง) โดยมีการจดบันทึกสรุปด้วยการทำเป็นรายงานหรือคู่มือการทำงานแสดงเป็นผลงาน หลักเกณฑ์: นับ 2 ชั่วโมงต่อหน้าของรายงานหรือคู่มือการทำงาน 2.2 การศึกษาดูงาน หลักเกณฑ์: นับตามจำนวนชั่วโมงที่ศึกษาดูงาน โดยไม่นับเวลาเดินทาง
การเข้าร่วมสัมมนาและการประชุมทางวิชาการหรือวิชาชีพการเข้าร่วมสัมมนาและการประชุมทางวิชาการหรือวิชาชีพ (Seminar, Conference and Meeting) Max 30 PDU 3.1 การเข้าฟังการสัมมนาและการประชุมทางวิชาการหรือวิชาชีพ ภายในประเทศ 3.2 การเข้าประชุมในคณะกรรมการหรืออนุกรรมการที่เกี่ยวกับวิชาการหรือวิชาชีพ ภายในประเทศ 3.3 การเข้าฟังการสัมมนาและการประชุมทางวิชาการหรือวิชาชีพ ระหว่างประเทศ 3.4 การเข้าประชุมในคณะกรรมการหรืออนุกรรมการที่เกี่ยวกับวิชาการหรือวิชาชีพ ระหว่างประเทศ หลักเกณฑ์: นับตามจำนวนชั่วโมงที่เข้าสัมมนาหรือประชุม
การเข้ามีส่วนร่วมในกิจกรรมวิชาชีพ (Participation) Max 30 PDU 4.1 การเป็นสมาชิกในสมาคมทางวิชาการหรือวิชาชีพที่สภาวิศวกรให้การรับรอง 4.2 การเป็นกรรมการในสมาคมทางวิชาการหรือวิชาชีพที่สภาวิศวกรให้การรับรอง (ต้องเข้าร่วมประชุมกรรมการอย่างน้อย 50 % ของเวลาทั้งหมด) 4.3 การเป็นอนุกรรมการหรือคณะทำงานในสมาคมทางวิชาการ หรือวิชาชีพที่สภาวิศวกรให้การรับรอง หลักเกณฑ์: นับ 10 ชั่วโมงต่อหนึ่งสมาคม
กิจกรรมบริการวิชาชีพ (Service Activities) Max 40 PDU 5.1 การพิจารณาการเรียนการสอนในมหาวิทยาลัย (กรรมการต่างๆ โดยเน้นทางวิชาการในมหาวิทยาลัย) หลักเกณฑ์: นับตามจำนวนชั่วโมงที่ร่วมพิจารณา 5.2 การเป็นสมาชิกหรือกรรมการของหลักสูตรการพัฒนาวิชาชีพที่ตั้งขึ้น หลักเกณฑ์: นับ 10 ชั่วโมงต่อหนึ่งหลักสูตร 5.3 การมีส่วนร่วมในการกำหนดและตรวจสอบหลักสูตรการพัฒนาวิชาชีพอย่างต่อเนื่อง หลักเกณฑ์: นับตามจำนวนชั่วโมงที่กำหนด และตรวจสอบหลักสูตร
กิจกรรมบริการวิชาชีพ (Service Activities) Max 40 PDU 5.4 การพิจารณากฎเกณฑ์ทางเทคนิคในงานต่างๆ เช่น การพิจารณาและแก้ไขกฎกระทรวง มาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม เป็นต้น หลักเกณฑ์: นับตามจำนวนชั่วโมงที่ร่วมพิจารณา 5.5 เป็นกรรมการสอบโครงงานวิจัย นักศึกษา ปริญญาตรี, ปริญญาโท และ ปริญญาเอก ในกรณีต่างมหาวิทยาลัยเท่านั้น หลักเกณฑ์: นับตามโครงงาน (ปริญญาตรีให้ 5 ชั่วโมงต่อโครงงาน ปริญญาโท/เอก ให้ 10 ชั่วโมงต่อโครงงาน)
การมีส่วนร่วมในวงการอุตสาหกรรมการมีส่วนร่วมในวงการอุตสาหกรรม (Industry Involvement) Max 40 PDU 6.1 การให้คำปรึกษาให้กับวงการอุตสาหกรรม 6.2 การทำวิจัยให้กับวงการอุตสาหกรรม หลักเกณฑ์: นับ 10 ชั่วโมงต่อ 1 งาน
การสร้างสรรค์ความรู้ (Contribution to Knowledge) Max 40 PDU 7.1 การพัฒนามาตรฐานการปฏิบัติงาน (Code of Practice) หลักเกณฑ์: นับ 5 ชั่วโมงต่อหน้าของผู้ทำ และ 2 ชั่วโมงต่อหน้าของผู้ตรวจ 7.2 การทำวิจัย การนำเสนอ และการเขียนบทความของงานวิจัยลงในวารสารแบบที่ต้องมีการตรวจทาน การเขียนหนังสือหรือเอกสารทางวิชาการ (ในประเทศ) หลักเกณฑ์: นับ 5 ชั่วโมงต่อหน้าของบทความ นับ 40 ชั่วโมงต่อเล่มของหนังสือ (ต่างประเทศ) 7.3 การทำวิจัย การนำเสนอ และการเขียนบทความของงานวิจัยลงในวารสารแบบที่ไม่ต้องมีการตรวจทาน หลักเกณฑ์: นับ 5 ชั่วโมงต่อหน้า
การสร้างสรรค์ความรู้ (Contribution to Knowledge) Max 40 PDU 7.4 การตรวจและปรับแก้บทความของผู้อื่น (ในประเทศ) หลักเกณฑ์: นับ 5 ชั่วโมงต่อหน้า (ต่างประเทศ) 7.5 การเป็นวิทยากรในการอบรมที่มีการสอบ หลักเกณฑ์: นับตามจำนวนชั่วโมงที่ให้การอบรม 7.6 การเป็นวิทยากรในการอบรมที่ไม่มีการสอบ หลักเกณฑ์: นับตามจำนวนชั่วโมงที่ให้การอบรม 7.7 การเป็นวิทยากรในการสัมมนาและการประชุมทางวิชาการ หลักเกณฑ์: นับตามจำนวนชั่วโมงที่ให้การสัมมนา
การจดสิทธิบัตร (Patents) Max 50 PDU 8.1 การจดสิทธิบัตร หลักเกณฑ์: นับ 40 ชั่วโมงต่อสิทธิบัตร
เกณฑ์การพัฒนาวิชาชีพวิศวกรรมอย่างต่อเนื่องเกณฑ์การพัฒนาวิชาชีพวิศวกรรมอย่างต่อเนื่อง • วิศวกรปฏิบัติกิจกรรมCPD ให้ได้ 150 PDU ตลอดระยะเวลา 3 ปีใดๆ โดยเป็นกิจกรรมเทคนิควิศวกรรมอย่างต่ำร้อยละ60 และด้านอื่นๆ อีกไม่เกินร้อยละ 40 • กิจกรรมแต่ละอย่างจะมีน้ำหนัก เช่น เป็นกรรมการสอบโครงการ เข้าร่วมสัมมนาวิชาการต่างประเทศ เป็นสมาชิกสมาคมวิชาชีพ เป็นต้น • จำนวนหน่วยความรู้ PDU – Professional Development Unit PDU = hrs x Factor > 150 ทุกสามปี
CPD 150 หน่วยในระยะ 3 ปีใดๆ 150 หน่วย 150 หน่วย 150 หน่วย 150 หน่วย 150 หน่วย ปีที่ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 การทำ CPD ปีละ 50 หน่วย คิดเป็น 2.65% ของเวลางาน
สิ่งที่จะได้จากโครงการ CPD • วิศวกรมีคุณภาพมากขึ้น • มีศูนย์ข้อมูลเทคโนโลยีเพื่อการค้นหามากขึ้น • มีสื่อในรูปแบบต่างๆเกิดขึ้นเพื่อใช้เป็นฐานการพัฒนา • มีเวที และ สื่อ เพื่อให้วิศวกรได้นำเสนอมากขึ้น • มีองค์กรช่วยพัฒนาวิศวกรทั่วประเทศ • รายได้จากสื่อ และการทำ CPD นำกลับมาพัฒนาวิศวกรให้มีคุณภาพแบบต่อเนื่อง
เกณฑ์สูงสุดที่สามารถทำได้เกณฑ์สูงสุดที่สามารถทำได้
การรับรององค์กร องค์กร สมาคมวิชาชีพ หรือสถาบันการศึกษาที่สภาวิศวกรรับรองแล้วนั้น จะสามารถเปิดอบรมหลักสูตรหรือทำกิจกรรมใดก็ได้ โดยจะถือว่าสภาวิศวกรให้การรับรองทุกหลักสูตรและทุกกิจกรรม
การรับรองหลักสูตรหรือกิจกรรมโดยสภาวิศวกร องค์กร สมาคมวิชาชีพ หรือสถาบันการศึกษาที่ไม่ได้มีกิจกรรมต่อเนื่องหรือนานๆทำครั้ง จะต้องขอรับรองหลักสูตรหรือกิจกรรมจากสภาวิศวกรเป็นครั้งคราว ซึ่งสภาวิศวกรหรือแม่ข่ายจะไปตรวจสอบ
หลักสูตรที่รับรองโดยหน่วยงานของรัฐหลักสูตรที่รับรองโดยหน่วยงานของรัฐ สภาวิศวกรจะให้การรับรองหลักสูตรที่ได้รับการรับรองโดยหน่วยงานของรัฐ (เช่น กระทรวงศึกษาธิการ ฯลฯ) อยู่แล้ว ซึ่งสภาวิศวกรรับรองโดยจะไม่ไปตรวจสอบ ยกเว้นกรณีที่มีการร้องเรียน หรือกรณีที่สภาวิศวกรต้องการสุ่มตรวจ หลักสูตรที่ไม่ใช่ทางเทคนิครับรองโดยหน่วยงานรัฐหรือองค์กรที่เชื่อถือได้
รายชื่อองค์กรแม่ข่ายการพัฒนาวิชาชีพวิศวกรรมต่อเนื่องรายชื่อองค์กรแม่ข่ายการพัฒนาวิชาชีพวิศวกรรมต่อเนื่อง ประเภทสมาคมวิชาชีพ • สมาคมวิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์ • สมาคมวิศวกรรมปรับอากาศแห่งประเทศไทย • สมาคมวิศวกรออกแบบและปรึกษาเครื่องกลและไฟฟ้าไทย • สมาคมไฟฟ้าแสงสว่างแห่งประเทศไทย • สมาคมส่งเสริมเทคโนโลยี (ไทย-ญี่ปุ่น) • สมาคมวิศวกรรมสิ่งแวดล้อมแห่งประเทศไทย • สมาคมอุตสาหกรรมไฟฟ้าแห่งประเทศไทย • สมาคมส่งเสริมคุณภาพแห่งประเทศไทย • สมาคมวิศวกรที่ปรึกษาแห่งประเทศไทย • สมาคมสถาบันวิศวกรไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์แห่งประเทศไทย • สมาคมวิศวกรรมยานยนต์ไทย • สมาคมคอนกรีตไทยสมาคมช่างเหมาไฟฟ้า และเครื่องกลไทยสมาคมเครื่องทำความเย็นไทย • สมาคมวิศวกรเหมืองแร่ไทย ข้อมูล ณ 18 กันยายน 2551
รายชื่อองค์กรแม่ข่ายการพัฒนาวิชาชีพวิศวกรรมต่อเนื่องรายชื่อองค์กรแม่ข่ายการพัฒนาวิชาชีพวิศวกรรมต่อเนื่อง ประเภทคณะวิศวกรรมศาสตร์ในมหาวิทยาลัยของรัฐบาล • คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ • คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น • คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ค • ณะวิศวกรรมศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง • คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ • สถาบันเทคโนโลยีนานาชาติสิรินธร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ • คณะวิศวกรรมศาสตร์และเทคโนโลยีอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยศิลปากร • คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย • คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี • คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี • สำนักวิชาวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี ข้อมูล ณ 18 กันยายน 2551
รายชื่อองค์กรแม่ข่ายการพัฒนาวิชาชีพวิศวกรรมต่อเนื่องรายชื่อองค์กรแม่ข่ายการพัฒนาวิชาชีพวิศวกรรมต่อเนื่อง ประเภทคณะวิศวกรรมศาสตร์ในมหาวิทยาลัยของเอกชน • คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีปทุม • มหาวิทยาลัยวงษ์ชวลิตกุล • มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีมหานคร • มหาวิทยาลัยกรุงเทพ • คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ • คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเอเชียอาคเนย์ ข้อมูล ณ 18 กันยายน 2551
รายชื่อองค์กรแม่ข่ายการพัฒนาวิชาชีพวิศวกรรมต่อเนื่องรายชื่อองค์กรแม่ข่ายการพัฒนาวิชาชีพวิศวกรรมต่อเนื่อง ประเภทหน่วยงานราชการ • ศูนย์เชี่ยวชาญพิเศษเฉพาะด้านเทคโนโลยีไฟฟ้ากำลัง คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย • ศูนย์เทคโนโลยีโลหะและวัสดุแห่งชาติ (MTEC) • มูลนิธิเพื่อการพัฒนามหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี • สถาบันวิศวกรรมป้องกันอัคคีภัย • สถาบันมาตรวิทยาแห่งชาติ ข้อมูล ณ 18 กันยายน 2551
รายชื่อองค์กรแม่ข่ายการพัฒนาวิชาชีพวิศวกรรมอย่างต่อเนื่องรายชื่อองค์กรแม่ข่ายการพัฒนาวิชาชีพวิศวกรรมอย่างต่อเนื่อง ประเภทหน่วยงานรัฐวิสาหกิจ • การไฟฟ้านครหลวง • การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย ประเภทหน่วยงานเอกชน และองค์กรอื่นๆ • สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย ข้อมูล ณ 18 กันยายน 2551
คลิก เพื่อเข้าสู่เวปไซต์ CPD
เว็บไซต์ระบบพัฒนาวิชาชีพวิศวกรรมต่อเนื่อง(อยู่ระหว่างปรับปรุงเพื่อใช้ต้นปี 2552)
เว็บไซต์ระบบพัฒนาวิชาชีพวิศวกรรมต่อเนื่อง(อยู่ระหว่างปรับปรุงเพื่อใช้ต้นปี 2552) องค์กรแม่ข่ายจะบันทึกข้อมูลกิจกรรมต่างๆ เข้าสู่ระบบ
เว็บไซต์ระบบพัฒนาวิชาชีพวิศวกรรมต่อเนื่อง(อยู่ระหว่างปรับปรุงเพื่อใช้ต้นปี 2552) สมาชิกสามารถค้นหากิจกรรมได้
เว็บไซต์ระบบพัฒนาวิชาชีพวิศวกรรมต่อเนื่อง(อยู่ระหว่างปรับปรุงเพื่อใช้ต้นปี 2552) สมาชิกสามารถทราบข้อมูลกิจกรรมขององค์กรแม่ข่าย
เว็บไซต์ระบบพัฒนาวิชาชีพวิศวกรรมต่อเนื่อง(อยู่ระหว่างปรับปรุงเพื่อใช้ต้นปี 2552) สมาชิกสามารถตรวจสอบหน่วยความรู้ที่สะสมได้
เว็บไซต์ระบบพัฒนาวิชาชีพวิศวกรรมต่อเนื่อง(อยู่ระหว่างปรับปรุงเพื่อใช้ต้นปี 2552) จำนวนหน่วยความรู้ที่สะสมได้
การดำเนินการเกี่ยวกับ CPD ของสภาวิศวกร • เริ่มโครงการนำร่อง CPD 14 ก.ค. 2548 • ทำซอฟแวร์เพื่อให้สมาชิกและองค์กรกรอกผ่านเว็บ • หาข้อมูลกิจกรรม CPD ได้จากเว็บ • จัดทำ CPD logbook เพื่อให้สมาชิกกรอกเพื่อพัฒนาตนเอง • จัดทำตำราและเอกสารเพื่อให้วิศวกรเรียนรู้เอง • จัดทำการทดสอบด้านวิศวกรรมด้วยตนเองผ่านเว็บ • กำหนดวิธีการออกประกาศนียบัตร โดยกำหนด PDU
กิจกรรมโครงการ CPD ของสภาวิศวกรปี 2552 • โครงการประชาสัมพันธ์การพัฒนาวิชาชีพวิศวกรรมต่อเนื่อง • โครงการอบรมความรู้เพื่อการพัฒนาวิชาชีพวิศวกรรมต่อเนื่อง • โครงการการตรวจประเมินหลักสูตรและองค์กรพัฒนาวิชาชีพ • ด้านการพัฒนาวิชาชีพวิศวกรรมต่อเนื่อง (CPD) • โครงการจัดทำเนื้อหาสำหรับโปรแกรม e-learning • โครงการอบรมการใช้โปรแกรมองค์กรแม่ข่าย • โครงการออกข้อสอบสำหรับระบบทดสอบตนเองผ่านเว็บ เสนอขออนุมัติแผนงานในการประชุมใหญ่สามัญ ปี 2552 (เดือนเมษายน 2552)
การดำเนินการเกี่ยวกับ CPD ของสภาวิศวกร • อบรมองค์กรแม่ข่ายครั้งที่ 123 ม.ค. 2551 • จัดงานสัปดาห์ความรู้เพื่อพัฒนาวิชาชีพวิศวกรรมอย่างต่อเนื่อง • 27 - 31 มี.ค. 2551 • ผ่านการเห็นชอบจากที่ประชุมใหญ่ 3 เม.ย. 2551 • ระเบียบฯ และประกาศ • อบรมองค์กรแม่ข่ายครั้งที่ 230 เม.ย. 2551 • ประชาสัมพันธ์โครงการ CPD ในส่วนภูมิภาค • ประกาศใช้ระเบียบฯ ในราชกิจจานุเบกษา
E-Learning (CPD) อยู่ระหว่างจัดทำ
E-Learning (CPD) อยู่ระหว่างจัดทำ
การทดสอบตนเองผ่านเว็บ (CPD) อยู่ระหว่างจัดทำ
การทดสอบตนเองผ่านเว็บ (CPD) อยู่ระหว่างจัดทำ
โครงการอบรมความรู้เพื่อการพัฒนาวิชาชีพวิศวกรรมต่อเนื่อง ครั้งที่ 2 22 – 25 เมษายน 2552
CPD Continuing Professional Development