1 / 26

นายรังสรรค์ ศรีวร ศาสตร์ ปลัด กระทรวงการคลัง 19 มีนาคม 2557

บทบาท. กระทรวงการคลัง. ในการพัฒนาประเทศ. นายรังสรรค์ ศรีวร ศาสตร์ ปลัด กระทรวงการคลัง 19 มีนาคม 2557. หัวข้อการนำเสนอ. สถานเศรษฐกิจโลกและเศรษฐกิจไทย ปัจจัยเสี่ยงและโอกาสของเศรษฐกิจไทย บทบาทของกระทรวงการคลัง 10 โครงการ Flagship ของกระทรวงการคลัง. สถานการณ์เศรษฐกิจโลกและเศรษฐกิจไทย.

Télécharger la présentation

นายรังสรรค์ ศรีวร ศาสตร์ ปลัด กระทรวงการคลัง 19 มีนาคม 2557

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. บทบาท กระทรวงการคลัง ในการพัฒนาประเทศ นายรังสรรค์ ศรีวรศาสตร์ ปลัดกระทรวงการคลัง19 มีนาคม 2557

  2. หัวข้อการนำเสนอ • สถานเศรษฐกิจโลกและเศรษฐกิจไทย • ปัจจัยเสี่ยงและโอกาสของเศรษฐกิจไทย • บทบาทของกระทรวงการคลัง • 10 โครงการ Flagship ของกระทรวงการคลัง

  3. สถานการณ์เศรษฐกิจโลกและเศรษฐกิจไทยสถานการณ์เศรษฐกิจโลกและเศรษฐกิจไทย

  4. 1. สถานการณ์เศรษฐกิจโลกล่าสุด เศรษฐกิจโลกโดยรวมปรับตัวดีขึ้น นำโดย G-3 อย่างไรก็ตาม ยังคงมีความเสี่ยง • เศรษฐกิจยูโรโซน • อัตราการว่างงานยังทรงตัวอยู่ในระดับสูง 12% ของกำลังแรงงานรวม • ปัญหาเงินฝืดในยุโรป • ปัญหาการเมืองในยุโรป • การเลือกตั้ง EU Parliament • ปัญหาการเมืองในอิตาลี • กรีซ ครบกำหนดชำระหนี้ • ปัญหาการเมืองในยุโรป และ • วิกฤติหนี้ของกรีซอาจปะทุอีก • เศรษฐกิจสหรัฐฯ • Fed เริ่มปรับลดขนาดมาตรการ QE เหลือ 65 bn USD ต่อเดือน • อัตราว่างงาน ม.ค. 57 ลดลงเหลือ ร้อยละ 6.7 ต่ำสุดในรอบกว่า 5 ปี • สัญญาณชี้เศรษฐกิจขยายตัวชะลอลงในไตรมาส 1/57 (จากสภาพอากาศที่หนาวจัด) • ความเสี่ยงหาก Fed ถอน QE เร็ว/ แรงกว่าที่คาด • เศรษฐกิจญี่ปุ่น • มาตรการลูกศร 3 ดอก ประกอบด้วย มาตรการ Q2 มาตรการกระตุ้นการใช้จ่ายภาครัฐ และมาตรการปฏิรูปโครงสร้างเศรษฐกิจญี่ปุ่น • การปรับเพิ่ม VAT จาก 5% เป็น 8% ในเดือนเม.ย. 57 และปรับเพิ่มอีกเป็น10% ในเดือนต.ค. 58 • เศรษฐกิจญี่ปุ่นอาจชะลอตัวหลังขึ้นภาษี VAT เดือน เม.ย 57 • เศรษฐกิจจีน • การระดมทุนผ่านระบบธนาคารเงาได้ก่อให้เกิดความเสี่ยง ในภาคการเงินของจีน ทำให้ต้นทุนการกู้ยืมผ่านตลาดเงินปรับเพิ่มขึ้นอย่างรุนแรงและรวดเร็วอยู่เป็นระยะ และยังมีความเสี่ยงจากการผิดนัดชำระหนี้ของบริษัททรัสต์ ซึ่งอาจส่งต่อสินเชื่ออสังหาริมทรัพย์ที่เติบโตอย่างรวดเร็ว • ปัญหาหนี้เสียของธนาคารเงาและการขาดสภาพคล่อง อาจส่งผลให้เกิดวิกฤติการเงิน+อสังหาฯ ในจีน • เศรษฐกิจอาเซียน • เศรษฐกิจอาเซียนโดยรวมขยายตัวเร่งขึ้นตามการขยายตัวของเศรษฐกิจโลก โดยภาคการส่งออก โดยเฉพาะการส่งออกไปยัง G-3 จะเป็นกลไกหลักในการขับเคลื่อนเศรษฐกิจอาเซียนในระยะต่อไป • ความเสี่ยงจากความผันผวนของเงินทุนเคลื่อนย้ายจาก การปรับลดขนาดมาตรการ QE กระทรวงการคลัง 4

  5. 2. สถานการณ์เศรษฐกิจไทยปัจจุบัน (1) เศรษฐกิจไทยปี 2556 ขยายตัวร้อยละ 2.9 โดยแรงขับเคลื่อนหลักมาจากอุปสงค์จากต่างประเทศ ในขณะที่อุปสงค์ในประเทศจะขับเคลื่อนจากการบริโภคภาครัฐเป็นสำคัญ • เศรษฐกิจไทยในปี 2556 ขยายตัวในอัตราชะลอลงจากปี 2555 ที่ขยายตัวร้อยละ 6.5 ส่วนหนึ่งเป็นผลมาจากปัจจัยฐานสูงจากปีก่อน และการชะลอตัวของอุปสงค์ภายในประเทศ • ด้านการใช้จ่ายมีแรงขับเคลื่อนหลักจากอุปสงค์จากต่างประเทศ โดยเฉพาะการส่งออกบริการ ในขณะที่ อุปสงค์ในประเทศจะขับเคลื่อนจากการบริโภคภาครัฐเป็นสำคัญ • ด้านการผลิตได้รับแรงขับเคลื่อนหลักจากสาขาขนส่งสื่อสาร และสาขาโรงแรมและภัตตาคาร จากการขยายตัวของจำนวนนักท่องเที่ยวต่างประเทศที่เดินทางเข้ามาในประเทศไทยในปี 2556 ที่ร้อยละ 19.6 ที่มา: สศช. และประมวลผลโดย สศค. กระทรวงการคลัง 5

  6. 2. สถานการณ์เศรษฐกิจไทยปัจจุบัน (2) กระทรวงการคลังเดิมคาดการณ์ว่าเศรษฐกิจไทยปี 2557 จะขยายตัวที่ร้อยละ 4.0 (ณ ธ.ค. 56) แต่หากพิจารณาผลกระทบจากปัจจัยผลทางการเมืองแล้ว ทำให้คาดว่าเศรษฐกิจไทยปี 2557 จะขยายตัวร้อยละ 3.1 • เศรษฐกิจไทยในปี 2557 เดิมคาดว่าจะยังคงขยายตัวได้ในระดับปกติที่ร้อยละ 4.0 อันมีปัจจัยสนับสนุนจาก • อุปสงค์จากต่างประเทศ โดยเฉพาะการส่งออกสินค้าที่คาดว่าจะปรับตัวดีขึ้น โดยได้รับอานิสงส์จากแนวโน้มการฟื้นตัวของเศรษฐกิจโลก โดยเฉพาะเศรษฐกิจสหรัฐฯ และเศรษฐกิจญี่ปุ่น และการลงทุนภาครัฐ เป็นต้น • อย่างไรก็ดี จากปัญหาความไม่สงบทางการเมือง จะส่งผลกระทบต่อเศรษฐกิจไทย ผ่านการเบิกจ่ายของภาครัฐและจากการท่องเที่ยวต่างประเทศที่ปรับลดลง นอกจากนี้ยังส่งผลกระทบต่อเนื่องไปยังอุปสงค์ในประเทศให้ชะลอตัวตามไปด้วย ทั้งนี้ หากพิจารณารวมผลกระทบทาง การเมืองแล้วคาดว่าเศรษฐกิจไทยในปี 2557 จะขยายตัวร้อยละ 3.1 ที่มา: สศช. และประมวลผลโดย สศค. (คาดการณ์ ณ ธ.ค. 56 ) กระทรวงการคลัง 6

  7. 2. สถานการณ์เศรษฐกิจไทยในปัจจุบัน (3) เศรษฐกิจไทยด้านอุปสงค์ การส่งออกในเดือน ม.ค. 2557 หดตัวร้อยละ -2.0 จากช่วงเดียวกันปีก่อน (โดยเป้าการส่งออกของกระทรวงพาณิชย์ปี 2557 อยู่ที่ร้อยละ 5.0) Total ExportValue • การส่งออกของไทยในเดือน ม.ค. 2557 หดตัว ร้อยละ -2.0 จากช่วงเดียวกันปีก่อน • มิติด้านสินค้า ตามการลดลงของการส่งออกสินค้าในหมวดยานพาหนะ สินค้าเกษตรที่หดตัวร้อยละ -12.4 และร้อยละ -5.3 ตามลำดับ อย่างไรก็ดี สินค้าอิเล็กทรอนิกส์ และเครื่องใช้ไฟฟ้า ยังคงขยายตัวต่อเนื่องที่ร้อยละ 6.5 และร้อยละ 7.8 ตามลำดับ • มิติด้านคู่ค้า การส่งออกไปประเทศคู่ค้าหลักที่หดตัว อาทิ จีน ฮ่องกง และทวีปออสเตรเลีย ในขณะที่ประเทศ G3 (สหรัฐฯ สหภาพยุโรป และญี่ปุ่น) ขยายตัวได้ต่อเนื่อง จากการฟื้นตัวทางเศรษฐกิจ ที่มา: กระทรวงพาณิชย์ 7 กระทรวงการคลัง 7

  8. 8 2. สถานการณ์เศรษฐกิจไทยในปัจจุบัน (4) เศรษฐกิจไทยด้านอุปสงค์ อุปสงค์ภายในประเทศในเดือน ม.ค. 2557 ส่งสัญญาณชะลอตัว ทั้งจากการบริโภคและการลงทุนภาคเอกชน • อุปสงค์ภายในประเทศ ในเดือน ม.ค. 2557 ส่งสัญญาณชะลอตัวทั้งจากการบริโภคและการลงทุนภาคเอกชน • การบริโภคภาคเอกชน โดยเฉพาะการบริโภคในหมวดสินค้าคงทน จากยอดขายรถยนต์นั่งและยอดขายรถจักรยานยนต์หดตัวลงเป็นประวัติการณ์ สอดคล้องกับการบริโภคในภาคชนบท ตามการหดตัวของรายได้เกษตรกร • การลงทุนภาคเอกชน ส่งสัญญาณชะลอตัว ทั้งจากลงทุนในหมวดเครื่องมือเครื่องจักรและการ ลงทุนในหมวดการก่อสร้าง สะท้อนจากปริมาณการนำเข้าสินค้าทุนที่หดตัวร้อยละ -12.3 จากช่วงเดียวกันปีก่อน Passenger Car Sales ที่มา: รวบรวมโดย สศค. กระทรวงการคลัง 8

  9. 9 2. สถานการณ์เศรษฐกิจไทยในปัจจุบัน (5) เศรษฐกิจไทยด้านอุปทาน เศรษฐกิจไทยภาคการผลิตในเดือน ม.ค. 2557 ส่งสัญญาณชะลอตัวจากการผลิตอุตสาหกรรมและ ภาคบริการ ขณะที่การผลิตเกษตรขยายตัวในเกณฑ์ดี • เศรษฐกิจไทยด้านอุปทานในเดือน ม.ค. 2557 ส่งสัญญาณชะลอตัวโดยเฉพาะการผลิตอุตสาหกรรมและภาคบริการ • ดัชนีผลผลิตอุตสาหกรรม (MPI)หดตัวลงจากการผลิตเฟอร์นิเจอร์ และยานยนต์ อย่างไรก็ตาม อุตสาหกรรมที่มีสัญญาณปรับตัวดีขึ้น ได้แก่ อิเล็กทรอนิกส์ และวิทยุโทรทัศน์ • จำนวนนักท่องเที่ยวต่างชาติขยายตัวเล็กน้อยที่ร้อยละ 0.1 จากช่วงเดียวกันปีก่อน แต่จากเครื่องชี้ล่าสุดพบว่านักท่องเที่ยวที่เดินทางผ่านท่าอากาศยานสุวรรณภูมิในช่วง 1- 24 ก.พ. 2557 หดตัวที่ร้อยละ -19.6 สะท้อนถึงกระทบจากสถานการณ์ความไม่สงบทางการเมือง • ผลผลิตภาคเกษตรกรรม ขยายตัวต่อเนื่องที่ร้อยละ 3.2 จากช่วงเดียวกันปีก่อน ตามการขยายตัวของผลผลิตยางพารา จากพื้นที่เพาะปลูกและเก็บเกี่ยวเพิ่มขึ้น Manufacturing Production Index (MPI) ที่มา: กระทรวงอุตสาหกรรม กระทรวงการคลัง 9

  10. 10 10 2. สถานการณ์เศรษฐกิจไทยในปัจจุบัน (6) เสถียรภาพเศรษฐกิจอยู่ในระดับแข็งแกร่ง Unemployment Rate • เสถียรภาพเศรษฐกิจทั้งในและนอกประเทศยังคงแข็งแกร่ง • เสถียรภาพเศรษฐกิจภายในประเทศ อัตราการว่างงานเดือน ธ.ค. 2556 อยู่ที่ร้อยละ 0.6 ของกำลังแรงงานรวม ขณะที่อัตราเงินเฟ้อทั่วไป เดือน ม.ค. 2557 อยู่ในระดับต่ำที่ร้อยละ 1.9 ต่อปี ซึ่งยังคงเป็นปัจจัยที่เอื้อต่อการบริโภคภาคเอกชน • เสถียรภาพเศรษฐกิจภายนอกประเทศ ทุนสำรองระหว่างประเทศยังคงอยู่ในระดับสูง และเพียงพอที่จะรองรับความผันผวนได้ โดย อยู่ที่ระดับ 168.4 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ (2.8 เท่าของหนี้ต่างประเทศระยะสั้น) ที่มา: สำนักงานสถิติแห่งชาติ กระทรวงการคลัง 10

  11. ปัจจัยเสี่ยงและโอกาสของเศรษฐกิจไทยปัจจัยเสี่ยงและโอกาสของเศรษฐกิจไทย

  12. ปัจจัยเสี่ยงและโอกาสของเศรษฐกิจไทยปัจจัยเสี่ยงและโอกาสของเศรษฐกิจไทย ปัจจัยเสี่ยง โอกาส ความไม่แน่นอนทางการเมือง การฟื้นตัวของเศรษฐกิจสหรัฐ และสหภาพยุโรป ความผันผวนจากต่างประเทศ การเข้าสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ภัยธรรมชาติ อาทิ ภัยแล้ง โรคระบาด

  13. บทบาทของกระทรวงการคลังบทบาทของกระทรวงการคลัง

  14. บทบาทของกระทรวงการคลังบทบาทของกระทรวงการคลัง วิสัยทัศน์ : “เสาหลักทางการคลังและเศรษฐกิจ เพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน” “Being Fiscal and Economic Pillar for Sustainable Development” พันธกิจ : 1. เสนอแนะและกำหนดนโยบายการคลังและระบบการเงิน 2. เสนอแนะและกำหนดนโยบายภาษี และบริหารการจัดเก็บภาษี 3. เสนอแนะและกำหนดนโยบายรายจ่ายและหนี้สาธารณะ บริหารรายรับ รายจ่ายและหนี้สาธารณะและบริหารพัสดุภาครัฐ 4. บริหารที่ราชพัสดุ เหรียญกษาปณ์ รัฐวิสาหกิจและหลักทรัพย์ และ ทรัพย์สินอื่นๆของรัฐ

  15. ยุทธศาสตร์กระทรวงการคลังยุทธศาสตร์กระทรวงการคลัง • ยุทธศาสตร์กระทรวงการคลัง • ปีงบประมาณ 2556-2559 • 3 เป้าหมาย • การลดความเหลื่อมล้ำทางเศรษฐกิจ • การสนับสนุนศักยภาพและเพิ่มความสามารถในการแข่งขัน • การรักษาความยั่งยืนทางการคลัง ยุทธศาสตร์ประเทศ (Country Strategy) 4 ยุทธศาสตร์ 1. Growth & Competitiveness 2. Inclusive Growth 3. Green Growth 4. Internal Process • AEC Blueprint • Single Market and Production Base • Competitive Economic • Equitable Economic • Integration into the Global Economy เชื่อมโยง • ยุทธศาสตร์กระทรวงการคลัง • ด้านการเงินการคลังเพื่อรองรับ • ประชาคมอาเซียน • 4 ยุทธศาสตร์ 13 กลยุทธ์ 36 มาตรการ • เป็นตลาดและฐานการผลิตร่วมกัน • เสริมสร้างขีดความสามารถในการแข่งขัน • พัฒนาเศรษฐกิจอย่างเสมอภาค • บูรณการเข้ากับเศรษฐกิจโลก เชื่อมโยง

  16. แผนยุทธศาสตร์ของกระทรวงการคลัง ประจำปีงบประมาณ 2557

  17. เป้าหมายที่ 1 ลดความเหลื่อมล้ำทางเศรษฐกิจและสังคม ยุทธศาสตร์ที่ 2 สร้างระบบ สวัสดิการพื้นฐานให้ทั่วถึงและมีคุณภาพ ยุทธศาสตร์ที่ 1 เพิ่มโอกาสทางเศรษฐกิจ ให้แก่คนฐานราก ยุทธศาสตร์ที่ 3 กระจายรายได้ และการถือครองทรัพย์สินอย่างเป็นธรรม

  18. เป้าหมายที่ 2 สนับสนุนศักยภาพและเพิ่มความสามารถในการแข่งขัน ยุทธศาสตร์ที่ 4 สนับสนุนการจัดตั้งธุรกิจการพัฒนาภาคเอกชน ให้เกิดการสร้างมูลค่า ยุทธศาสตร์ที่ 5 เชื่อมโยงธุรกิจ เพื่อก้าวสู่เศรษฐกิจระดับภูมิภาคและระดับโลก ยุทธศาสตร์ที่ 6 พัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน เพื่อเพิ่มศักยภาพการแข่งขัน

  19. ยุทธศาสตร์ที่ 8 ส่งเสริมความโปร่งใส ในการดำเนินงาน ของภาครัฐ ยุทธศาสตร์ที่ 7 เสริมสร้างความมั่นคง ทางการคลัง เป้าหมายที่ 3 รักษาความยั่งยืนทางการคลัง ยุทธศาสตร์ที่ 9 เพิ่มประสิทธิภาพในการทำงานของกระทรวงการคลัง

  20. 10 โครงการ Flagship ของกระทรวงการคลัง

  21. 1. การอำนวยความสะดวกทางการค้า เพื่อรองรับการเข้าสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC) 2. การบริหารสินทรัพย์ราชการให้เกิดประโยชน์

  22. 3. การบริหารการคลังท้องถิ่น 4. การเสริมสร้างศักยภาพทางการเงินแก่ภาคประชาชน

  23. 5. การบริหารรายจ่ายเพื่อความยั่งยืนทางการคลัง 6. การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานของประเทศ

  24. 7. การปฏิรูปและเพิ่มทุนสถาบันการเงินเฉพาะกิจ อิสลาม ที่อยู่อาศัย เกษตรกร วิสาหกิจชุมชน/ SMEs 8. นโยบายการคลังเพื่อสิ่งแวดล้อม

  25. 9. การปฏิรูประบบภาษีเพื่อเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขัน 10. การส่งเสริมความโปร่งใสและป้องกันการทุจริต ในการดำเนินการของภาครัฐ http://www.gprocurement.go.th 25

  26. ขอขอบคุณ

More Related