1 / 105

E-Learning

ICT in KM. Knowledge Management Program. CAMT. CMU. 06:. E-Learning. Achara Khamaksorn : July 2012 Knowledge Management Program, College of Arts, Media and Technology, Chiangmai University. Knowledge Management Activities. The main activities of knowledge management: Knowledge Creation

ella
Télécharger la présentation

E-Learning

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. ICT in KM Knowledge Management Program CAMT.CMU 06: E-Learning Achara Khamaksorn : July 2012 Knowledge Management Program, College of Arts, Media and Technology, Chiangmai University

  2. Knowledge Management Activities The main activities of knowledge management: • Knowledge Creation • Knowledge Representation • Knowledge Storage and Retrieval • Knowledge Transfer PREVIOUS

  3. Internet, Intranet and Extranet อินเทอร์เนต (Internet) คือ เครือข่ายนานาชาติ ที่เกิดจากเครือข่ายขนาดเล็กมากมาย รวมเป็นเครือข่ายเดียวทั้งโลก หรือเครือข่ายสื่อสาร ซึ่งเชื่อมโยงระหว่างคอมพิวเตอร์ทั้งหมด ที่ต้องการเข้ามาในเครือข่าย เป็นระบบเครือข่าย (Network) ที่เชื่อมโยงเครือข่ายมากมายหลากหลายเครือข่ายเข้าด้วยกัน เครือข่าย หมายรวมถึง การมีคอมพิวเตอร์ตั้งแต่ 2 เครื่องขึ้นไป เชื่อมต่อ เข้าด้วยกันทางสายเคเบิล หรือสายโทรศัพท์ นอกจากนี้ยังต้องมีผู้ใช้คอมพิวเตอร์และมีการถ่ายเทข้อมูลระหว่างกัน เพื่ออำนวยความสะดวกให้แก่ผู้ใช้ทั่วโลก ผู้ใช้เครือข่ายนี้สามารถสื่อสารถึงกันได้ทางอีเมล์ สามารถสืบค้นข้อมูลและสารสนเทศ รวมทั้งคัดลอกแฟ้มข้อมูลและโปรแกรมมาใช้ได้ แต่ละเครือข่ายจะต้องมีเครื่องแม่ข่าย(Server) หรือ โฮสต์ (Host) คือคอมพิวเตอร์ที่ทำหน้าที่เป็นผู้ให้บริการข้อมูลข่าวสารกับผู้ใช้บริการ PREVIOUS

  4. Internet, Intranet and Extranet อินทราเนต (Intranet) คือ ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์แบบภายในองค์กร ใช้เทคโนโลยีอินเทอร์เน็ตในการใช้งานอินทราเน็ต จะต้องใช้โปรโตคอล IP เหมือนกับอินเทอร์เน็ต สามารถมีเว็บไซต์และใช้ Web Browser ได้เช่นกัน รวมถึงอีเมล์ ถ้าเราเชื่อมต่ออินทราเน็ตของเรากับอินเทอร์เน็ต เราก็สามารถใช้ได้ทั้ง อินเทอร์เน็ต และ อินทราเน็ต ไปพร้อม ๆ กัน แต่ในการใช้งานนั้นจะแตกต่างกันด้านความเร็ว ในการโหลดไฟล์ใหญ่ ๆ จากเว็บไซต์ในอินทราเน็ต จะรวดเร็วกว่าการโหลดจากอินเทอร์เน็ตมาก ดังนั้นประโยชน์ที่จะได้รับจากอินทราเน็ต สำหรับองค์กรหนึ่ง คือ สามารถใช้ความสามารถต่าง ๆ ที่มีอยู่ในอินเทอร์เน็ตได้อย่างเต็มประสิทธิภาพ PREVIOUS

  5. Internet, Intranet and Extranet เอ็กซ์ทราเนต (Extranet) คือ ระบบเครือข่ายซึ่งเชื่อมเครือข่ายภายในองค์กร หรือ อินทราเน็ต (Intranet) เข้ากับระบบคอมพิวเตอร์ ที่อยู่ภายนอกองค์กร เช่น ระบบคอมพิวเตอร์ของสาขาของผู้จัดจำหน่ายหรือของลูกค้า เป็นต้น โดยการเชื่อมต่อเครือข่ายอาจเป็นได้ทั้งการเชื่อมต่อโดยตรงระหว่าง 2 จุด หรือการเชื่อมต่อแบบเครือข่ายเสมือน (Virtual Network) ระหว่างระบบอินทราเน็ต หลาย ๆ เครือข่ายผ่านอินเทอร์เน็ตก็ได้ ระบบเครือข่ายแบบเอ็กซ์ทราเน็ต โดยปกติแล้วจะอนุญาตให้ใช้งานเฉพาะสมาชิกขององค์กร หรือผู้ที่ได้รับสิทธิในการใช้งานเท่านั้น โดยผู้ใช้จากภายนอกที่เชื่อมต่อเข้ามาผ่านเครือข่ายเอ็กซ์ทราเน็ต อาจถูกแบ่งเป็นประเภท ๆ เช่น ผู้ดูแลระบบ สมาชิก คู่ค้า หรือผู้สนใจทั่วๆ ไป เป็นต้น ซึ่งผู้ใช้แต่ละกลุ่มจะได้รับสิทธิในการเข้าใช้งานเครือข่ายที่แตกต่างกันไป PREVIOUS

  6. CoP: CommunityofPractice: CoP

  7. ? What is Communication Tools PREVIOUS

  8. ? What is Collaboration Tools PREVIOUS

  9. ? What is Groupware? PREVIOUS

  10. ? What is Social Network PREVIOUS

  11. ? What is Storage Tools PREVIOUS

  12. ? What is Search Engine PREVIOUS

  13. ความสำคัญของสำนักงาน PREVIOUS

  14. ลักษณะของสำนักงานอัตโนมัติลักษณะของสำนักงานอัตโนมัติ PREVIOUS

  15. แบ่งออกเป็น 4 ประเภท ระบบสารสนเทศของระบบสำนักงานอัตโนมัติ PREVIOUS

  16. การจัดทำต้นฉบับเอกสารอิเล็กทรอนิกส์การจัดทำต้นฉบับเอกสารอิเล็กทรอนิกส์ PREVIOUS

  17. E.Document “ คือ ระบบจัดเก็บและจัดการเอกสาร อิเล็กทรอนิกส์ ที่สามารถรองรับเอกสารปริมาณมาก โดยช่วยเพิ่มความคล่องตัวในการปฏิบัติงานระบบถูกออกแบบมา ให้ใกล้เคียงกับการจัดการเอกสารแบบเดิม ผู้ใช้งานจึงเรียนรู้ และคุ้นเคยได้ง่ายการจัดเก็บในรูปแบบอิเล็กทรอนิกส์ (เอกสารที่เกิดจากการ scan และไฟล์ข้อมูลทุกประเภท) ทำให้สามารถจัดเก็บอย่างเป็นระบบ และจัดเรียกใช้ หรือค้นหาข้อมูลที่ต้องการ ได้อย่างฉับไว และช่วยป้องกันความเสียหาย ที่อาจเกิดขึ้นกับเอกสารในระหว่างการใช้งาน และยังช่วยให้การค้นหาข้อมูล สะดวก รวดเร็ว แม้ขณะที่อยู่กลุ่มสารสนเทศให้ตรงกับความต้องการของผู้ใช้งานได้ รวมถึงความสามารถด้านการอนุญาตสิทธิ์การใช้เอกสารเป็นครั้งคราว และกำหนดระยะเวลาสิ้นสุด ของการอนุญาต สำหรับการใช้เอกสารร่วมกันในโครงการหนึ่งๆได้ ความสามารถด้านความปลอดภัยในการจัดเก็บและเรียกใช้ข้อมูลสามารถจัดกลุ่ม ของผู้ใช้งาน เพื่อกำหนดสิทธิ์ในการใช้งานได้อย่างละเอียด เช่น สิทธิ์ในการเรียกดูแก้ไข ดึงข้อมูล ลบ ส่งข้อมูลไปยังระบบอื่นๆ เป็นต้น ทำให้เอกสารมีความปลอดภัยสูง สามารถกำหนดค่าความสำคัญ ของเอกสาร เพื่อเปรียบเทียบกับค่าระดับของผู้เรียกดูเอกสาร เป็นการรักษาความปลอดภัยของเอกสารอีกขั้นหนึ่ง มีรายงานประวัติการใช้งาน ทำให้สามารถตรวจสอบได้ว่ามีผู้ใช้งานใดเข้าไปกระทำการใดกับเอกสารที่มีอยู่ในระบบ มีระบบจัดการ กำหนดรุ่น (Versioning) ของเอกสาร เพื่อใช้ตรวจสอบประวัติการแก้ไขเอกสารย้อนหลังได้ การจัดทำต้นฉบับเอกสารอิเล็กทรอนิกส์ ” PREVIOUS

  18. ? 4:Project Integration Management 5:Project Scope Management 6:Project Time Management7:Project Cost Management8:Project Quality Management 9:Project Human Resource Management 10:Project Communication Management 11:Project Risk Management 12:Project Procurement Management 4:Project Integration Management 5:Project Scope Management 6:Project Time Management7:Project Cost Management8:Project Quality Management 9:Project Human Resource Management 10:Project Communication Management 11:Project Risk Management 12:Project Procurement Management 4:Project Integration Management 5:Project Scope Management 6:Project Time Management7:Project Cost Management8:Project Quality Management 9:Project Human Resource Management 10:Project Communication Management 11:Project Risk Management 12:Project Procurement Management 4:Project Integration Management 5:Project Scope Management 6:Project Time Management7:Project Cost Management8:Project Quality Management 9:Project Human Resource Management 10:Project Communication Management 11:Project Risk Management 12:Project Procurement Management 4:Project Integration Management 5:Project Scope Management 6:Project Time Management7:Project Cost Management8:Project Quality Management 9:Project Human Resource Management 10:Project Communication Management 11:Project Risk Management 12:Project Procurement Management 4:Project Integration Management 5:Project Scope Management 6:Project Time Management7:Project Cost Management8:Project Quality Management 9:Project Human Resource Management 10:Project Communication Management 11:Project Risk Management 12:Project Procurement Management 4:Project Integration Management 5:Project Scope Management 6:Project Time Management7:Project Cost Management8:Project Quality Management 9:Project Human Resource Management 10:Project Communication Management 11:Project Risk Management 12:Project Procurement Management 4:Project Integration Management 5:Project Scope4:Project Integration Management 5:Project Scope Management 6:Project Time Management7:Project Cost Management8:Project Quality Management 9:Project Human Resource Management 10:Project Communication Management 11:Project Risk Management 12:Project Procurement Management 4:Project Integration Management 5:Project Scope Management 6:Project Time Management7:Project Cost Management8:Project Quality Management 9:Project Human Resource Management 10:Project Communication Management 11:Project Risk Management 12:Project Procurement Management 4:Project Integration Management 5:Project Scope Management 6:Project Time Management7:Project Cost Management8:Project Quality Management 9:Project Human Resource Management 10:Project Communication Management 11:Project Risk Management 12:Project Procurement Management 4:Project Integration Management 5:Project Scope Management 6:Project Time Management7:Project Cost Management8:Project Quality Management 9:Project Human Resource Management 10:Project Communication Management 11:Project Risk Management 12:Project Procurement Management 4:Project Integration Management 5:Project Scope Management 6:Project Time Management7:Project Cost Management8:Project Quality Management 9:Project Human Resource Management 10:Project Communication Management 11:Project Risk Management 12:Project Procurement Management 4:Project Integration Management 5:Project Scope Management 6:Project Time Management7:Project Cost Management8:Project Quality Management 9:Project Human Resource Management 10:Project Communication Management 11:Project Risk Management 12:Project Procurement Management 4:Project Integration Management 5:Project Scope Management 6:Project Time Management7:Project Cost Management8:Project Quality Management 9:Project Human Resource Management 10:Project Communication Management 11:Project Risk Management 12:Project Procurement Management 4:Project Integration Management 5:Project Scope 4:Project Integration Management 5:Project Scope Management 6:Project Time Management7:Project Cost Management8:Project Quality Management 9:Project Human Resource Management 10:Project Communication Management 11:Project Risk Management 12:Project Procurement Management 4:Project Integration Management 5:Project Scope Management 6:Project Time Management7:Project Cost Management8:Project Quality Management 9:Project Human Resource Management 10:Project Communication Management 11:Project Risk Management 12:Project Procurement Management 4:Project Integration Management 5:Project Scope Management 6:Project Time Management7:Project Cost Management8:Project Quality Management 9:Project Human Resource Management 10:Project Communication Management 11:Project Risk Management 12:Project Procurement Management 4:Project Integration Management 5:Project Scope Management 6:Project Time Management7:Project Cost Management8:Project Quality Management 9:Project Human Resource Management 10:Project Communication Management 11:Project Risk Management 12:Project Procurement Management 4:Project Integration Management 5:Project Scope Management 6:Project Time Management7:Project Cost Management8:Project Quality Management 9:Project Human Resource Management 10:Project Communication Management 11:Project Risk Management 12:Project Procurement Management 4:Project Integration Management 5:Project Scope Management 6:Project Time Management7:Project Cost Management8:Project Quality Management 9:Project What is E-Learning

  19. E-Learning VS KM 06:ระบบการเรียนรู้อิเล็กทรอนิกส์ (E-Learning)

  20. E-Learning cai ต่างจาก อย่างไร? 06:ระบบการเรียนรู้อิเล็กทรอนิกส์ (E-Learning)

  21. E-Learning E-Learning • หมายถึง กระบวนการและการใช้ประโยชน์จากการเรียน • การสอนผ่านเว็บ คอมพิวเตอร์ช่วยสอน ห้องเรียนเสมือน และการเรียนด้วยเครื่องมืออิเล็กทรอนิกส์ต่าง ๆ ทั้งระบบ Internet, Intranet, Network , Audio, Visual, Video , Television, Satellite, CD ROM ฯลฯ E-Learning • หมายถึง การเรียนรู้ผ่านระบบอินเทอร์เน็ต หรือการใช้ • ความสามารถของระบบ อินเทอร์เน็ตเพื่อการเรียนรู้ E-Learning • หมายถึง การบูรณาการทางการศึกษาที่ไม่ยึดติดกับเวลา • และความก้าวหน้าในการเรียนรู้ 06:ระบบการเรียนรู้อิเล็กทรอนิกส์ (E-Learning)

  22. E-Learning องค์ประกอบของ 06:ระบบการเรียนรู้อิเล็กทรอนิกส์ (E-Learning)

  23. E-Learning องค์ประกอบของ 1. เนื้อหา (Content) ไมไดจํากัดเฉพาะสื่อการสอน และ/หรือ คอรสแวรเทานั้นแตยังหมายถึงสวนประกอบสําคัญอื่นๆ ที่ e-Learningจําเปนจะตองมีเพื่อใหเนื้อหามีความสมบูรณ เชน คําแนะนําการเรียน ประกาศสําคัญตาง ๆ ผลปอนกลับของผูสอน 2. ระบบบริหารจัดการการเรียนรู (LearningManagementSystem) ระบบบริหารจัดการการเรียนรู ซึ่งเปนเสมือนระบบที่รวบรวมเครื่องมือซึ่งออกแบบไวเพื่อใหความสะดวกแกผูใชในการจัดการกับการเรียนการสอนออนไลน ระบบบริหารจัดการการเรียนรูที่สมบูรณจะจัดหาเครื่องมือในการติดตอสื่อสารไวสําหรับผูใชระบบไมวาจะเปนในลักษณะของไปรษณียอิเล็กทรอนิกส (e-mail) เว็บบอรด (WebBoard) หรือ แช็ท (Chat) บางระบบก็ยังจัดหาองคประกอบพิเศษอื่นๆ เพื่ออํานวยความสะดวกใหกับผูใชอีกมากมาย เชน ดูสถิติการเขาใชงานในระบบการอนุญาตใหผูใชสรางตารางการเรียน ปฏิทินการเรียน 06:ระบบการเรียนรู้อิเล็กทรอนิกส์ (E-Learning)

  24. E-Learning องค์ประกอบของ 3. โหมดการติดตอสื่อสาร (ModesofCommunication) • คือ การจัดใหผูเรียนสามารถติดตอสื่อสารกับผูสอน วิทยากร ผูเชี่ยวชาญอื่นๆ รวมทั้งผูเรียนดวยกัน ในลักษณะที่หลากหลายและสะดวกตอผูใช กล่าวคือ มีเครื่องมือที่จัดหาไวใหผูเรียนใชไดมากกวา 1 รูปแบบ รวมทั้งเครื่องมือนั้นจะตองมีความสะดวกในการใชงาน (user-friendly) ดวย เครื่องมือที่ e-Learning ควรจัดหาใหผูเรียน • 3.1 การประชุมทางคอมพิวเตอร • การประชุมทางคอมพิวเตอรทั้งในลักษณะของการติดตอสื่อสารแบบตางเวลา (Asynchronous) เช่น WebBoard • ลักษณะของการติดตอสื่อสารแบบเวลาเดียวกัน (Synchronous) เชน การสนทนาออนไลน์ เช่น Chat ในบางระบบอาจจัดใหมีการถายทอดสัญญาณภาพและเสียงสด (Live Broadcast / Videoconference) ผานทางเว็บ 06:ระบบการเรียนรู้อิเล็กทรอนิกส์ (E-Learning)

  25. E-Learning องค์ประกอบของ 3. โหมดการติดตอสื่อสาร (ModesofCommunication) 3.2 ไปรษณียอิเล็กทรอนิกส (e-mail) เปนองคประกอบสําคัญเพื่อใหผูเรียนสามารถติดตอสื่อสารกับผูสอนหรือผูเรียนอื่นๆ ในลักษณะรายบุคคล การสงงานและผลปอนกลับให ผูเรียน ผูสอนสามารถใชไปรษณียอิเล็กทรอนิกส ในการให้ความคิดเห็นและผลปอนกลับที่ทัน ตอเหตุการณ์ 4. แบบฝกหัด/แบบทดสอบ 4.1 การจัดใหมีแบบฝกหัดสําหรับผูเรียน 4.2 การจัดใหมีแบบทดสอบผูเรียน 06:ระบบการเรียนรู้อิเล็กทรอนิกส์ (E-Learning)

  26. E-Learning ประโยชน์ของ E-Learning E-Learning E-Learning 06:ระบบการเรียนรู้อิเล็กทรอนิกส์ (E-Learning)

  27. E-Learning ประโยชน์ของ E-Learning • สามารถเรียนรู้ได้ทุกที่ทุกเวลา • สามารถเรียนรู้ได้ด้วยตนเอง • กำหนดความต้องการในการเรียนรู้ได้ • ติดต่อสื่อสารระหว่างผู้เรียน/ผู้สอนได้ • ประหยัดงบประมาณ ราคาถูกและใช้งานได้ง่าย • ใช้เป็นสื่อหลัก/สื่อเสริมก็ได้ E-Learning E-Learning 06:ระบบการเรียนรู้อิเล็กทรอนิกส์ (E-Learning)

  28. ระบบการจัดการเรียนรู้ระบบการจัดการเรียนรู้ E-Learning • LMS (Learning Management System) • เป็นการจัดระบบกระบวนการเรียนการสอนต่างๆในการออนไลน์ตั้งแต่เนื้อหาการลงทะเบียนการเก็บข้อมูลการมีปฏิสัมพันธ์ระหว่างผู้สอนกับผู้เรียนเช่นอีเมล์กระดานข่าวห้องสนทนาเป็นต้นซึ่งจะมีส่วนของระบบฐานข้อมูลที่สนับสนุนการจัดการเนื้อหาวิชา (Content) โดยจะเอื้ออำนวยความสะดวกให้กับผู้เรียนผู้สอนผู้ผลิตและผู้ดูแลระบบ 06:ระบบการเรียนรู้อิเล็กทรอนิกส์ (E-Learning)

  29. ระบบการจัดการเนื้อหา E-Learning • CMS (Content Management System) • เป็นในส่วนของเนื้อหาวิชาที่เรียนผู้สอนจะเป็นผู้จัดทำขึ้นและนำมาใส่ไว้ในระบบฐานข้อมูลของ LMS หรือผู้สอนจัดทำขึ้นเองเป็นอิสระโดยมีระบบเหมือนกับ LMS แต่ผู้สอนสามารถจัดการบริหารเพิ่มเติมเนื้อหาติดตั้งอุปกรณ์เครื่องมือบางส่วนได้ด้วยตนเองอาจกล่าวได้ว่าเป็นระบบการจัดการเนื้อหาโดยผู้สอนเพื่อที่ผู้เรียนจะได้นำไปศึกษาโดยไม่ต้องมีระบบการจัดการเต็มรูปแบบเข้ามาช่วย 06:ระบบการเรียนรู้อิเล็กทรอนิกส์ (E-Learning)

  30. ความแตกต่างระหว่าง Lmsvscms 06:ระบบการเรียนรู้อิเล็กทรอนิกส์ (E-Learning)

  31. คณะทำงาน E-Learning • ผู้ดูแลระบบ (Administrator)เป็นผู้ที่มีหน้าที่ดูแลระบบเครือข่ายการบริหารเครือข่าย • ผู้ดูแลเว็บ (Webmaster) จะต้องเป็นผู้ดูแลและติดตั้งเว็บ • ผู้ออกแบบและพัฒนาเว็บ (Web designer) เป็นผู้ออกแบบและสร้างเว็บตามผู้ออกแบบการเรียนการสอน • ผู้ออกแบบระบบการเรียนการสอน (Instructional System Developer) เป็นผู้กำหนดรูปแบบการเรียนการสอนองค์ประกอบเนื้อหา • ผู้สอน (Instructor) เป็นผู้เชี่ยวชาญเนื้อหาเฉพาะวิชาที่ต้องการจะนำมาใช้ในการเรียนการสอนกำหนดเนื้อหาที่จะสอนแบบฝึกหัดข้อสอบการวัดผลและประเมินการเรียน 06:ระบบการเรียนรู้อิเล็กทรอนิกส์ (E-Learning)

  32. ขั้นตอนการสร้างและพัฒนาขั้นตอนการสร้างและพัฒนา E-Learning 06:ระบบการเรียนรู้อิเล็กทรอนิกส์ (E-Learning)

  33. ขั้นตอนการสร้างและพัฒนาขั้นตอนการสร้างและพัฒนา E-Learning • Planning • หน้าแรกของเว็บไซต์Homepage • ข้อมูลหน่วยงาน(Information) • โปรแกรมการสร้างและพัฒนาเว็บ • Dreamweaver, PhotoShop, Flash etc.. • พื้นที่ติดตั้งเว็บไซต์และองค์ประกอบภายในเว็บ • Thai.net , NECTEC • ผู้รับผิดชอบตรวจสอบและดูแล • Webmaster หน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับ E-Learning • NECTEC • http://www.nectec.or.th • CHULAONLINE • http://www.chulaonline.com • THAI2Learn • http://www.thai2learn.com • THAIWBI • http://www.thaiwbi.com • Webbassed learning • http://www26.brinkster.com/it2002/wbi.html 06:ระบบการเรียนรู้อิเล็กทรอนิกส์ (E-Learning)

  34. ข้อจำกัดของ E-Learning 1. ผูสอนที่นํา e-Learningไปใชในลักษณะของสื่อเสริม โดยไมมีการ ปรับเปลี่ยนวิธีการสอนเลย ยัง คงใชแตวิธีการบรรยายในทุกเนื้อหา และสั่งใหผูเรียนไปทบทวนจาก e-Learning 2.ผูสอนจะตองเปลี่ยนบทบาทจากการเปนผูใหเนื้อหาแกผูเรียนมาเปนผูชวยเหลือและใหคําแนะนําตางๆแกผูเรียน หมายรวมถึง การที่ผูสอนควรมีความพรอมทางดานทักษะคอมพิวเตอรและรับผิดชอบตอการสอนมีความใสใจกับผูเรียนโดยไมทิ้งผูเรียน 3. การลงทุนในดานของ e-Learning ตองครอบคลุมถึงการจัดการใหผูสอนและผูเรียนสามารถ เขาถึงเนื้อหาและการติดตอสื่อสารออนไลนไดสะดวกและมีประสิทธิภาพ เชน ผูสอนและผูเรียนสามารถติดตอสื่อสารกับผูอื่นได และสามารถเรียกดูเนื้อหาโดยเฉพาะอยางยิ่งในลักษณะมัลติมีเดียไดอยางครบถวน ดวยความเร็วพอสมควร 06:ระบบการเรียนรู้อิเล็กทรอนิกส์ (E-Learning)

  35. ข้อจำกัดของ E-Learning 4. ในการที่ e-Learningจะสงผลตอประสิทธิผลของการเรียนรูของผูเรียนไดนั้น สิ่งสําคัญไดแก การที่ผูเรียนจะตองรูจักวิธีการเรียนรูดวยตนเอง (self-Learning) อยางมีประสิทธิภาพ ตระหนักถึงความสําคัญในการสรางเสริมลักษณะนิสัยใฝเรียน ใฝรู รูจักวิธีการเลือกสรรประเมิน รวบรวมสารสนเทศ รวมทั้งรูจักการจัดระเบียบ(organize) วิเคราะห สังเคราะห และการนําเสนอสารสนเทศตามความเขาใจของตนเอง 06:ระบบการเรียนรู้อิเล็กทรอนิกส์ (E-Learning)

  36. ระดับของการนำ E-Learning ไปใช้ในการเรียนการสอน การนํา e-Learningไปใชในการเรียนการสอน สามารถทําได 3 ระดับ 1. ใช e-Learningเปนสื่อเสริม (Supplementary) หมายถึง นอกจากการนํา e-Learningไปใชแล้ว ผูเรียนยังสามารถศึกษาเนื้อหาเดียวกันนี้ในลักษณะอื่นๆ เชน จากเอกสาร(Sheet) ประกอบการสอน จากวิดีทัศน (Videotape) ฯลฯ 2. ใช e-Learningเปนสื่อเติม (Complementary) หมายถึงการนํา e-Learningไปใชในลักษณะเพิ่มเติมจากวิธีการสอนในลักษณะอื่น ๆ เชน นอกจากการบรรยายในหองเรียนแลว ผูสอนยังออกแบบเนื้อหาใหผูเรียนเขาไปศึกษาเนื้อหาเพิ่มเติมจาก e-Learning เนื้อหาที่ผูเรียนเรียนจาก e-Learningผูสอนไมจําเปนตองสอนซ้ำอีก แตสามารถใชเวลาในชั้นเรียนในการอธิบายในเนื้อหาที่เขาใจไดยาก คอนขางซับซอน หรือเปนคําถามที่มีความเขาใจผิดบอย ๆ 06:ระบบการเรียนรู้อิเล็กทรอนิกส์ (E-Learning)

  37. ระดับของการนำ E-Learning ไปใช้ในการเรียนการสอน 3. ใช e-Learningเปนสื่อหลัก (ComprehensiveReplacement) หมายถึงการนํา e-Learningไปใชในลักษณะแทนที่การบรรยายในหองเรียน ผูเรียนจะตองศึกษาเนื้อหาทั้งหมดออนไลนและโตตอบกับเพื่อนและผูเรียนอื่นๆ ในชั้นเรียนผานทางเครื่องมือติดตอสื่อสารตางๆ ที่ e-Learning จัดเตรียมไว้ ในปจจุบันแนวคิดเกี่ยวกับการนํา e-Learningไปใชในตางประเทศจะอยูในลักษณะ learningthroughtechnology หมายถึง การเรียนรูโดยมุงเนนการเรียนในลักษณะมีสวนรวมของผูเกี่ยวของไมวาจะเปน ผูสอน ผูเรียน และผูเชี่ยวชาญอื่น ๆ (CollaborativeLearning) โดยอาศัยเทคโนโลยีในการนําเสนอเนื้อหา และกิจกรรมตางๆซึ่งตองการการโตตอบ ผานเครื่องมือสื่อสารตลอด ในขณะที่ในประเทศไทยการใช e-Learning ในลักษณะสื่อหลักเชนเดียวกับตางประเทศนั้น จะอยูในวงจํากัดแตการใชสวนใหญจะยังคงเปนในลักษณะของ learningwithtechnology ซึ่งหมายถึง การใช e-Learningเปนเสมือนเครื่องมือทางเลือกเพื่อใหผูเรียนเกิดความกระตือรือรน สนุกสนานพรอมไปกับการเรียนรูในชั้นเรียน 06:ระบบการเรียนรู้อิเล็กทรอนิกส์ (E-Learning)

  38. การวัดผลสำเร็จของ E-Learning • วัดจาก Business Goals (การส่งออก (Outcome) ไม่ใช่ ผลของการส่ง (Output)) • ทางธุรกิจจะเน้นเรื่องผลตอบแทนการลงทุน (Return On Investment (ROI)) • Save cost VS Profit • Hard gain VS Soft gain โปรแกรมสร้างบทเรียนที่มีใช้หลายแห่งในประเทศ • Moodle (ม.วลัยลักษณ์, ม.บูรพา) • Claroline (ม.ธรรมศาสตร์?) • ATutor (ม.ศรีนครินทรวิโรฒ, ม.นเรศวร, ม.สุโขทัย) 06:ระบบการเรียนรู้อิเล็กทรอนิกส์ (E-Learning)

  39. http://moodle.org/ Moodle

  40. Moodle Background ของผู้พัฒนา • Mr.MartinDougiamasผู้ดูแลระบบการเรียนการสอนออนไลน์ Curtin University • ปริญญาตรีทางด้านวิทยาศาสตร์คอมพิวเตอร์, เป็นผู้พัฒนาซอฟท์แวร์อินเทอร์เน็ต (ตั้งแต่ปี 1986) • ไม่พึงพอใจกับโปรแกรมต่างๆ ที่ใช้อยู่ ณ เวลานั้น • มีความสามารถในการแก้ไขปัญหาและปรับแต่งซอฟท์แวร์ แต่ติดปัญหาเรื่องของ closed-source licenses • มีความเชื่ออย่างแรงกล้าในเรื่องของความเป็นไปได้ในการพัฒนาไปสู่สิ่งที่ดีกว่า • วิจัยระดับปริญญาโทและเอก • กรณีศึกษาห้องเรียนออนไลน์และนักเรียนในห้องเรียนออนไลน์ • ทฤษฏีและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการศึกษาโดยละเอียด Moodle 1.0 , สิงหาคม 2545 • Mr. MartinDougiamas 06:ระบบการเรียนรู้อิเล็กทรอนิกส์ (E-Learning)

  41. Moodle ปรัชญาการสร้าง • การเรียนรู้แบบสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเอง (Constructivism)คนเรานั้นจะมีการสร้างความรู้ใหม่เสมอ หากมีสภาวะแวดล้อมเอื้ออำนวย การเรียนรู้แบบเดิมที่มาจากการ ฟัง เห็น ล้วนเป็นการเรียนรู้ทางเดียว นั่นคือเราเป็นผู้รับสารและเก็บเอาไว้ จึงมีการเรียกผู้ที่มีความจำดีว่า “พจนานุกรมเดินได้” หากแต่เราจะเรียนรู้ได้มากกว่าหากเป็นการถ่ายทอดจากสมองสู่สมองนั่นคือ มีการแลกเปลี่ยนทัศนะและเรียนรู้จากประสบการณ์ของผู้อื่น • การเรียนรู้แบบคิดเองสร้างเอง (Constructionist)การเรียนรู้แบบคิดเองสร้างเองคือ การเรียนรู้ด้วยการลงมือทำไม่ว่าจะเป็นการพูด การโพสต์แสดงความคิดเห็นบนกระดานเสวนา ตัวอย่างเช่น ปกติอ่านหนังสือพอวางหนังสือก็จะลืม แต่ถ้าได้อธิบายให้คนอื่นฟังจะทำให้จำได้มากขึ้น 06:ระบบการเรียนรู้อิเล็กทรอนิกส์ (E-Learning)

  42. Moodle ปรัชญาการสร้าง • การเรียนรู้แบบสร้างองค์ความรู้ในสังคม (Social Constructivism)การเรียนรู้ร่วมกันเป็นหมู่คณะโดยอาศัยหลักการว่าความสำเร็จของหมู่คณะ คือ ความสำเร็จของตน • ทุกคนสามารถเป็นครูและนักเรียนได้ในเวลาเดียวกัน • เรียนรู้ด้วยการสร้างสิ่งใดสิ่งหนึ่งให้ผู้อื่นเห็น • เรียนรู้ด้วยการสังเกตการณ์การกระทำของเพื่อนร่วมชั้นเรียน • เชื่อมโยงความรู้ใหม่กับบริบทส่วนบุคคลของผู้เรียน (เรียกว่า Transformative Knowledge and Constructivism) • มีความสามารถในการปรับเปลี่ยนและปรับแต่งได้ เนื่องจากทุกคนในห้องเรียนออนไลน์มีส่วนร่วมในการสร้างห้องเรียน • การเชื่อมโยงและการแยกส่วน (Connected and Separated Knowing) • ผู้ที่มีพฤติกรรมแบบเชื่อมโยงภายในกลุ่ม จะเป็นผู้ที่ช่วยกระตุ้นให้เกิดการเรียนรู้นอกจากจะทำให้คนในกลุ่มมีความสนิทสนมกันมากขึ้นแล้วยังช่วยให้แต่ละคนได้สะท้อนความคิดของตน 06:ระบบการเรียนรู้อิเล็กทรอนิกส์ (E-Learning)

  43. Moodle ความสามารถของ • เป็น CMS (Course Management System) open source ที่ได้รับการยอมรับทั่วโลก • สามารถนำเอกสารหรือไฟล์รูปแบบต่างๆ เข้าไปได้ เช่น Word, PowerPoint, PDF, Webpage (html) Video และ Image • มีระบบติดต่อสื่อสารครบทุกประเภท เช่น Webboard, Chat etc. • มีระบบการทำแบบฝึกหัด และแบบทดสอบ ส่งและรับการบ้าน • มีการ UPLOAD ขึ้นเครื่องแม่ข่าย ได้โดยใช้ Zip • มีการปรับโปรแกรมเป็นภาษาไทยที่ใช้งานได้ดี 06:ระบบการเรียนรู้อิเล็กทรอนิกส์ (E-Learning)

  44. Moodle ทำอะไรได้บ้าง? • Chat • Glossary • Label • Lesson • Web board • Homework • Vote • Test • Source 06:ระบบการเรียนรู้อิเล็กทรอนิกส์ (E-Learning)

  45. Moodle องค์กรที่ใช้ สอนส่วนตัว ประถม มัธยมมหาวิทยาลัย บริษัท อื่นๆ 06:ระบบการเรียนรู้อิเล็กทรอนิกส์ (E-Learning)

  46. http://www.claroline.net/ Claroline

  47. ATutor http://www.atutor.ca/

  48. E-Learning tools: E-Mail • Every teacher should have an e-mail account • Communicate with students • Communicate with parents • Students can submit assignment • Can have attachments • Create a paperless environment • Simple but effective • Efficient and cost effective 06:ระบบการเรียนรู้อิเล็กทรอนิกส์ (E-Learning)

  49. E-Learning tools: chat • Synchronous communication tool • Communicate with students • Communicate with parents • More students participate • Collaborative learning 06:ระบบการเรียนรู้อิเล็กทรอนิกส์ (E-Learning)

  50. E-Learning tools: online forum • Asynchronous discussion forum • Teacher can create discussion groups • Teacher could post a question and request students to comment • Students can post their comments • Can encourage community participation • Collaborative learning can be fostered • Feedback from diverse culture 06:ระบบการเรียนรู้อิเล็กทรอนิกส์ (E-Learning)

More Related