1 / 16

กรอบแนวคิด และแนวทางในการขับเคลื่อน นโยบายการดำเนินงานสุขภาพจิต ปีงบประมาณ 2557

กรอบแนวคิด และแนวทางในการขับเคลื่อน นโยบายการดำเนินงานสุขภาพจิต ปีงบประมาณ 2557. นายแพทย์ธิติพันธ์ ธานีรัตน์ ผู้อำนวยการศูนย์สุขภาพจิตที่ 11. สรุปตัวชี้วัดในระดับกระทรวงที่กรมสุขภาพจิตเกี่ยวข้อง. ตัวชี้วัดที่กรมสุขภาพจิตรับผิดชอบหลัก. ตัวชี้วัดที่กรมสุขภาพจิตเกี่ยวข้อง / ร่วมดำเนินการ.

Télécharger la présentation

กรอบแนวคิด และแนวทางในการขับเคลื่อน นโยบายการดำเนินงานสุขภาพจิต ปีงบประมาณ 2557

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. กรอบแนวคิด และแนวทางในการขับเคลื่อนนโยบายการดำเนินงานสุขภาพจิตปีงบประมาณ 2557 นายแพทย์ธิติพันธ์ ธานีรัตน์ ผู้อำนวยการศูนย์สุขภาพจิตที่ 11

  2. สรุปตัวชี้วัดในระดับกระทรวงที่กรมสุขภาพจิตเกี่ยวข้องสรุปตัวชี้วัดในระดับกระทรวงที่กรมสุขภาพจิตเกี่ยวข้อง ตัวชี้วัดที่กรมสุขภาพจิตรับผิดชอบหลัก ตัวชี้วัดที่กรมสุขภาพจิตเกี่ยวข้อง / ร่วมดำเนินการ เด็กปฐมวัย 1. เด็กไทยมีความฉลาดทางสติปัญญาเฉลี่ย (ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 100) เด็กวัยเรียน-วัยรุ่น 6. ร้อยละของเด็กไทยมีความฉลาดทางอารมณ์ไม่ต่ำกว่า เกณฑ์มาตรฐาน (เท่ากับ 70) เป้าหมาย ระยะ 3-5 ปี ผู้สูงอายุ-ผู้พิการ 1. ร้อยละของผู้สูงอายุในช่วงอายุ 60-70 ปี ที่เป็นโรคสมองเสื่อม (ไม่เกิน 10) เป้าหมาย ระยะ 1-2 ปี (เขตสุขภาพ/จังหวัด) 4. ร้อยละของเด็กที่มีพัฒนาการสมวัย 9. ร้อยละของผู้ป่วยโรคซึมเศร้าเข้าถึงบริการ (มากกว่าหรือเท่ากับ 31) 17. ร้อยละของผู้สูงอายุ ผู้พิการที่ได้รับการพัฒนาทักษะทางกายและใจ (ไม่น้อยกว่า 80) 22. ร้อยละของโรงพยาบาลได้รับการพัฒนาคุณภาพตามมาตรฐานที่กำหนด (90) ระบบบริการ 1. ร้อยละของบริการANC คุณภาพ (ไม่น้อยกว่า 70) 3. ร้อยละของบริการWCC คุณภาพ (ไม่น้อยกว่า70) 5. ร้อยละของคลินิกผู้สูงอายุ ผู้พิการคุณภาพ (ไม่น้อยกว่า 70) 6. ร้อยละของบริการNCD คุณภาพ (ไม่น้อยกว่า70) 7. ร้อยละของผู้ป่วยนอกได้รับบริการแพทย์แผน ไทยและแพทย์ทางเลือกที่ได้มาตรฐาน (เท่ากับ 14) 8. เครือข่ายมีระบบพัฒนา Service Plan ที่มีการ ดำเนินการได้ตามแผน ระดับ 1 2 3 4 อย่าน้อย 4 สาขา และตัวชี้วัดอื่นๆ (6 สาขา) ตามที่กำหนด 10. ร้อยละของศูนย์เด็กเล็กคุณภาพระดับดีและ ดีมาก (ไม่น้อยกว่า 70) การมีส่วนร่วม 2. ร้อยละของอำเภอที่มี District Health System (DHS) ที่เชื่อมโยงระบบบริการปฐมภูมิกับชุมชน และท้องถิ่นอย่างมีคุณภาพ ใช้ SRMหรือ เครื่องมืออื่นๆ ในการทำแผนพัฒนาสุขภาพ (ไม่น้อยกว่า 25) สาธารณภัย/ฉุกเฉิน 1. ร้อยละของอำเภอที่ DMATT, MCATT, SRRT คุณภาพ (เท่ากับ 80) ความรอบรู้ด้านสุขภาพ 1. ร้อยละของประชาชนกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวาน/ ความดันโลหิตสูงที่มีการปรับพฤติกรรม 3อ. 2ส. และลดเสี่ยง (ไม่น้อยกว่า 50) เป้าหมาย ระยะ 1 ปี (เขตสุขภาพ/จังหวัด) ระบบบริการ 4. ร้อยละของศูนย์ให้คำปรึกษาคุณภาพ (Psychosocial Clinic) และเชื่อมโยงกับระบบช่วยเหลือนักเรียนในโรงเรียน เช่น ยาเสพติด บุหรี่ OSCCคลินิกวัยรุ่น ฯลฯ (ไม่น้อยกว่า 70)

  3. นโยบายปฐมวัย เป้าหมาย ระบบการดำเนินงาน เป้าหมายกรม เป้าหมายกระทรวงฯที่เกี่ยวข้องกับงานกรมฯ การพัฒนาเด็กปฐมวัย GAP / ปัญหา ผลลัพธ์ 1. รพช. มีคลินิกฝากครรภ์ (ANC) และดูแลมารดากลุ่มเสี่ยงตามเกณฑ์ที่กำหนด (70%) 2.รพช.มีคลินิกสุขภาพเด็กดี (WCC) มีการดูแลเด็กกลุ่มที่มีพัฒนาการไม่สมวัยตามเกณฑ์ที่กำหนด (70%) 3. ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กมีการเฝ้าระวังปัญหาพัฒนาการและปัญหาอีคิวตามเกณฑ์ที่กำหนด (70%) 4. ระบบเครือข่ายสุขภาพอำเภอ (DHS) ที่ร่วมดำเนินงานสุขภาพจิตมีแผนพัฒนาอีคิวตามเกณฑ์ที่กำหนด (50%) ระบบการดูแล ระบบสนับสนุน 3-5 ปี เด็กไทยมีความฉลาดทางสติปัญญาเฉลี่ย (ไม่น้อยกว่า 100)  IQ เฉลี่ย = 98.59  เด็กที่มี IQ ต่ำกว่า 100 = 48.5%  เด็กที่มี IQ ต่ำกว่า 70 = 29.7% ปี 2565 - ประเมิน IQ เด็ก 8 ปี + เฝ้าระวัง ปี 2563 - ติดตาม/ประเมิน IQ เด็ก 6 ปี + เฝ้าระวังการเรียนรู้ ปี 2561 - ประเมินพัฒนาการเด็ก 4 ปี + เฝ้าระวังภาวะบกพร่องทางสติปัญญาการเรียนรู้ ปี 2559 – ประเมินพัฒนาการเด็ก 2 ปี + Early Intervention ประเมิน IQ เด็ก 6 ปี  องค์ความรู้ • - EQ • ส่งเสริมพัฒนาการเด็ก Birth Asphyxia • แบบประเมิน Autistic • บทเรียนการดำเนินงาน  เด็กที่มีพัฒนาการล่าช้า = 29.75% 1-2 ปี มีพัฒนาการสมวัย (85% )  คลินิกฝากครรภ์ขาดระบบการดูแลสุขภาพกายและใจของมารดาที่ตั้งครรภ์โดยเฉพาะกลุ่มเสี่ยง คลินิกเด็กสุขภาพดี ขาดระบบการดูแลเด็กพัฒนาการไม่สมวัย ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ยังไม่สามารถเฝ้าระวังปัญหาพัฒนาการและปัญหาอีคิวในเด็กกลุ่มเสี่ยง ผู้เลี้ยงดูเด็กขาดทักษะการดูแลเด็กที่มีปัญหาพัฒนาการ 1 ปี ANC คุณภาพ (70% ) WCC คุณภาพ (70% ) ศูนย์เด็กเล็กคุณภาพระดับดีและดีมาก (70% ) ฐานข้อมูล • พัฒนาการเด็ก • IQ เด็ก ปี 2557 ระบบบริการสาธารณสุข ANC + WCC มีคุณภาพ ผลผลิต 1. เด็กที่มีพัฒนาการไม่สมวัยได้รับการส่งต่อเพื่อดูแลต่อเนื่องตามเกณฑ์ที่กำหนด (80%) 2. เด็กที่มีความเสี่ยงต่อปัญหาอีคิวได้รับการดูแลต่อเนื่องตามเกณฑ์ที่กำหนด (80%) นอกระบบบริการสาธารณสุข ศูนย์เด็กเล็กมีคุณภาพ เครือข่ายผู้ดูแลเด็ก พ่อแม่ ผู้เลี้ยงดู • บทบาท • ความรู้ • การดูแล

  4. นโยบายวัยเรียน - วัยรุ่น เป้าหมาย ระบบการดำเนินงาน เป้าหมายกรม เป้าหมายกระทรวงฯที่เกี่ยวข้องกับงานกรมฯ  การพัฒนาสติปัญญาเด็กไทยวัยเรียน  การรณรงค์ป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด  การบูรณาการระบบสุขภาพใจเพื่อเด็กไทยวัยรุ่น GAP / ปัญหา • ผลลัพธ์ • เด็กวัยเรียนที่มีความเสี่ยงต่อปัญหา IQ และ EQ ได้รับการดูแลต่อเนื่องตามเกณฑ์ที่กำหนด(80%) • แกนนำเยาวชน/วัยรุ่นและเยาวชนที่เข้าร่วมโครงการมีความรู้และทักษะในการป้องกันการติดสารเสพติด (มีภูมิคุ้มกันทางจิต) (75% / 90%) • - วัยรุ่นกลุ่มเสี่ยงและมีปัญหาสุขภาพจิตในพื้นที่เป้าหมายได้รับการดูแลตามระบบ (50%) 3-5 ปี เด็กไทยมี EQ ไม่ต่ำกว่ามาตรฐาน (70%) คะแนน EQ ของเด็ก 6-11 ปี ในปี 50 ลดลงจากปี 45 โดยเฉพาะด้านความมุ่งมั่นพยายาม ระบบการดูแล ระบบสนับสนุน ปี 2559 – ประเมิน EQ เด็กวัยเรียน 6-11 ปี/ วัยรุ่น 12-18 ปี องค์ความรู้ วัยรุ่นอายุ 12-18 ปี มีแนวโน้มเข้าไปเกี่ยวข้องกับยาเสพติดเพิ่มขึ้น อัตราการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น (56.1 : 1,000) กิจกรรมการเสริมสร้างภูมิคุ้มกันทางจิต ยังไม่ครอบคลุมประเด็นพฤติกรรมเสี่ยงในวัยรุ่น วัยรุ่นขาดความรู้เรื่องเพศศึกษา การคุมกำเนิดที่ถูกวิธี การควบคุมอารมณ์ การหลีกเลี่ยง/ ปฏิเสธสื่อเชิงลบ ความรู้ในการป้องกันปัญหาวิกฤตชีวิต เด็กวัยเรียนวัยรุ่นที่มีปัญหาการเรียนรู้ พฤติกรรม + อารมณ์ • - EQ • การดูแลพฤติกรรมเสี่ยง • การให้คำปรึกษาวัยรุ่น • แบบประเมิน + โปรแกรม ทักษะชีวิต 1-2 ปี  ( - ) ระบบบริการสาธารณสุข Psychosocial Clinic มีคุณภาพ 1 ปี ศูนย์ให้คำปรึกษาคุณภาพและเชื่อมโยงกับระบบช่วยเหลือนักเรียนในโรงเรียน (70% ) นอกระบบบริการสาธารณสุข ฐานข้อมูล • ผลผลิต • อำเภอที่มีระบบเฝ้าระวังปัญหา IQ และ EQ เด็กในวัยเรียน (30%) • ระดับความสำเร็จของการดำเนินงานโครงการ TO BE NUMBER ONE ของจังหวัด (85%) • - ศูนย์ให้คำปรึกษาคุณภาพ (Psychosocial Clinic) และเชื่อมโยงกับระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนในโรงเรียน เช่น ท้องไม่พร้อม ยาเสพติด บุหรี่ คลินิกวัยรุ่น ฯลฯ (70%) ระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน • สุขภาพจิตวัยรุ่น เครือข่ายผู้ดูแลเด็ก • เครือข่ายผู้ปฏิบัติงาน • สื่อร่วมสร้างความเข้าใจ • Life Skills, EQ, Risk Behavior • ดูแลเรื่องเพศความรุนแรง ติดเกม

  5. นโยบายวัยทำงาน – สูงอายุ ระบบการดำเนินงาน เป้าหมาย เป้าหมายกระทรวงฯที่เกี่ยวข้องกับงานกรมฯ GAP / ปัญหา เป้าหมายกรม  การพัฒนาระบบส่งเสริมและป้องกันปัญหาสุขภาพจิตในวัยทำงาน-ผู้สูงอายุ ผลลัพธ์ – พนักงานในสถานประกอบการขนาดกลางและเกษตรกร มีพลังใจในการทำงานและสามารถจัดการกับความเครียดได้ด้วยตนเอง - เกิดระบบการดูแลช่วยเหลือทางสังคมจิตใจ แก่ประชาชนวัยทำงาน วัยสูงอายุ วัยทำงาน อัตราการหย่าร้างมีแนวโน้มสูงขึ้น ปัญหาความรุนแรงในครอบครัว ผู้หญิง และเด็กถูกทำร้ายมากขึ้น (52 คน/วัน) วัยแรงงาน 100 คน รับภาระเลี้ยงดูผู้สูงอายุ 25.3 คน ขาดระบบการดูแลช่วยเหลือทางสังคมจิตใจ (Phychosocial Clinic) ระบบการดูแล ระบบสนับสนุน 3-5 ปี ร้อยละของผู้สูงอายุในช่วงอายุ 60-70 ปี ที่เป็นโรคสมองเสื่อม (ไม่เกิน 10) องค์ความรู้ เครือข่ายภาคประชาชน/ ชุมชน • การดูแลทางสังคม จิตใจ (Psychosocial Care) • การเสริมสร้างพลังใจและการจัดการความเครียดด้วยตนเองสำหรับพนักงานในสถานประกอบการขนาดกลางและเกษตรกร • แบบคัดกรองความเครียด ภาวะซึมเศร้า ฆ่าตัวตาย • แบบประเมินต่างๆ • การให้ความช่วยเหลือทางสังคมจิตใจแก่ผู้สูงอายุที่ติดบ้าน/ติดเตียง/ ผู้ป่วยระยะสุดท้าย/ วิกฤตสุขภาพจิต/ ผู้ป่วยเรื้อรัง ร่วมดูแลทางสังคมจิตใจในชุมชน 1-2 ปี ร้อยละของผู้สูงอายุผู้พิการที่ได้รับการพัฒนาทักษะทางกายและใจ (80% ) เครือข่ายบริการสุขภาพ • Psychosocial Clinic ให้คำปรึกษาปัญหาวัยทำงานและครอบครัว- การสร้างพลังใจ • - การจัดการความเครียด 1 ปี ร้อยละของคลินิกผู้สูงอายุ – ผู้พิการคุณภาพ (70% ) ร้อยละของคลินิก NCDคุณภาพ (70% ) ผลผลิต – รพช. มีการจัดบริการให้การปรึกษาใน Psychosocial Clinic ในประเด็นปัญหาครอบครัว สุรา ยาเสพติด การปรับตัวต่อภาวะโรค (70%) - ผู้สูงอายุได้รับการพัฒนาทักษะในการชะลอความเสื่อมทางด้านร่างกายและจิตใจ (80%) วัยสูงอายุ  ผู้สูงอายุยังมีคุณภาพชีวิตที่ไม่ดี ไม่ได้รับการบริการอย่างมีศักดิ์ศรี  ยังไม่มีระบบการดูแลช่วยเหลือทางด้านสังคมจิตใจ (Psychosocial Clinic) ในโรงพยาบาลศูนย์ โรงพยาบาลทั่วไป โรงพยาบาลชุมชน บุคลากรกรมสุขภาพจิต TOT & Supervision การดูแลทางสังคมจิตใจ

  6. นโยบายผู้พิการทางจิต เป้าหมาย ระบบการดำเนินงาน เป้าหมายกระทรวงฯที่เกี่ยวข้องกับงานกรมฯ GAP / ปัญหา เป้าหมายกรม  การสร้างความเข้มแข็งของเครือข่ายผู้พิการทางจิตใจ สติปัญญา การเรียนรู้ และออทิสติก ผู้พิการทางจิต  อัตราการเข้าถึงบริการของ ผู้พิการทางจิตยังน้อย - ผู้พิการทางสติปัญญา 5.65% - Autistic 12.02% ผู้พิการทางจิต สติปัญญาการเรียนรู้และออทิสติก ยังมีบัตรประจำตัวคนพิการน้อย ผลลัพธ์ – ร้อยละ 80 ของผู้พิการทางจิตใจ สติปัญญา การเรียนรู้ และออทิสติก ได้รับการพัฒนาทักษะกาย/ ใจ/ การดูแล/ช่วยเหลือ/ ฟื้นฟูสมรรถภาพและเข้าถึงบริการ/ สิทธิขั้นพื้นฐาน ระบบการดูแล ระบบสนับสนุน 1-2 ปี ร้อยละของผู้สูงอายุ ผู้พิการที่ได้รับการพัฒนาทักษะทางกายและใจ (80% ) สังคม องค์ความรู้ • แนวทางการดำเนินงานดูแลช่วยเหลือ/ฟื้นฟูสมรรถภาพผู้พิการทางสติปัญญา การเรียนรู้ และออทิสติกระดับจังหวัด • คู่มือการดูแลช่วยเหลือฟื้นฟูสมรรถภาพทางสังคมของผู้พิการฯ สำหรับ • - ผู้ดูแล/ ผู้ปกครอง • - อาสาสมัครพัฒนาสังคมและช่วยเหลือคนพิการ • - คู่มือการทำกลุ่ม Self Help Group สำหรับบุคลากรที่ทำงานด้านผู้พิการ - พิทักษ์สิทธิประโยชน์สู่การรับรองสิทธิผู้พิการ - สื่อสารความเข้าใจในการดูแลกลุ่มผู้พิการ 4 ประเภท 1 ปี ร้อยละของคลินิกผู้สูงอายุ – ผู้พิการคุณภาพ (70% ) ผลผลิต – เครือข่ายผู้พิการทางจิตใน 12 เครือข่ายบริการสุขภาพ (เครือข่ายละ 1 กลุ่ม) – มีการดำเนินงานดูแลช่วยเหลือ/ฟื้นฟูสมรรถภาพตามสิทธิประโยชน์ขั้นพื้นฐานอย่างน้อย 12 จังหวัด เครือข่ายผู้ดูแล / ญาติ • ความรู้ ความเข้าใจในสิทธิและการเข้าถึงสิทธิขั้นพื้นฐาน เครือข่ายบริการสุขภาพ • ชุดเครื่องมือสำหรับการพัฒนาทักษะกายใจ การดูแลช่วยเหลือ/ ฟื้นฟูสมรรถภาพ

  7. นโยบายระบบบริการ เป้าหมาย ระบบการดำเนินงาน เป้าหมายกรม เป้าหมายกระทรวงฯที่เกี่ยวข้องกับงานกรมฯ • การพัฒนาศูนย์ความเชี่ยวชาญระดับสูงด้านจิตเวชศาสตร์ • การพัฒนาบริการสุขภาพจิตและจิตเวชในเครือข่ายบริการสุขภาพ เพื่อเพิ่มการเข้าถึงบริการ • การพัฒนาเครือข่ายสุขภาพอำเภอเพื่อพัฒนาระบบสุขภาพจิตชุมชนที่ยังยืน GAP / ปัญหา ผลลัพธ์ ผู้มีปัญหาสุขภาพจิตเข้าถึงบริการ - โรคจิต/ Schizophrenia (75%,80%) - โรคซึมเศร้า (31%,50%) - Dementia (5%,10%) - ความพิการทางปัญญา/ Autistic/ ADHD (20%,25%) - Suicide Ideation/ Attempt (80%,90%) • ปัญหาสุขภาพจิตในกลุ่มวัยมีแนวโน้มเพิ่มสูงขึ้น แต่เข้าถึงบริการน้อย โดยเฉพาะจิตเวชเด็ก • ปัญหา ป่วย รับบริการ • - MR 1.2 ล้านคน 62,760 คน • - Autistic 14,000 คน • - ADHD 7,000 คน 273 คน • ปัญหาการเรียน • วัยทำงานพบปัญหาจิตเวชจากการดื่มแอลกอฮอล์ การใช้สารเสพติด และ • โรคจิต • เครือข่ายบริการสุขภาพยังไม่ได้ผนวกบริการสุขภาพจิตและจิตเวชอย่างครอบคลุม • ภาคีเครือข่ายในพื้นที่ยังไม่สามารถบูรณาการงานสุขภาพจิตเข้ากับระบบสาธารณสุข • ระบบบริการสาธารณสุขระดับปฐมภูมิ ยังไม่สามารถดำเนินงานสุขภาพจิตครบทั้ง 4 มิติ • ศักยภาพของศูนย์ความเชี่ยวชาญระดับสูงด้านจิตเวช เพื่อรองรับการส่งต่อ 1-2 ปี ผู้ป่วยโรคซึมเศร้าเข้าถึงบริการ (  37%) 1 ปี เครือข่ายมีระบบพัฒนา Service Plan ที่มีการดำเนินการได้ตามแผนระดับ 1 2 3 4 อย่างน้อย 4 สาขา และตัวชี้วัดอื่นๆ (6 สาขา) ตามที่กำหนด อำเภอมี DHS ที่เชื่อมโยงระบบบริการปฐมภูมิกับชุมชนและท้องถิ่นอย่างมีคุณภาพใช้ SRM หรือเครื่องมืออื่นๆ ในการพัฒนาทำแผนสุขภาพ (25% ) ระบบสนับสนุน ระบบการดูแล 2559 ลดความทุกข์ - เครียด  - ฆ่าตัวตาย  องค์ความรู้ • ผลผลิต • จำนวนหน่วยบริการฯ ผ่านเกณฑ์ Super Specialist Service ระดับภาค 3 แห่ง / ระดับประเทศ 3 แห่ง / Supra Tertiary 8 แห่ง • - รพศ./ รพท. มีบริการจิตเวชเด็กและวัยรุ่นตามแนวทางที่กำหนด (50%) • มีการบูรณาการระบบงานสุขภาพจิตชุมชนสู่ระบบบริการสุขภาพระดับอำเภอ จำนวน 438 อำเภอ • - ร้อยละ 100 ของบุคลากรกรมฯ (ครู ก)และร้อยละ 80 ของบุคลากรระดับ รพช.(ครู ข.) ได้รับความรู้เกี่ยวกับการคัดกรองและการเฝ้าระวังกลุ่มเสี่ยงเพื่อป้องกันผู้มีปัญหาสารเสพติดรายใหม่ • - แนวทาง/มาตรฐานการดำเนินงานส่งเสริมป้องกันปัญหาสุขภาพจิตในชุมชน • เครื่องมือการดำเนินงาน • นวัตกรรมสุขภาพจิตในชุมชน ศูนย์ความเชี่ยวชาญระดับสูง • ระดับประเทศ • ระดับภาค ฐานข้อมูล เครือข่ายบริการสุขภาพ • ฐานข้อมูลเชิงวิชาการ • ฐานข้อมูลเครือข่าย • ศักยภาพของ รพศ./ รพท./ รพช. ในพื้นที่ เครือข่ายการดำเนินงานในอำเภอ/ ชุมชน • ร่วมค้นหา วิเคราะห์ปัญหาวางแผนดำเนินงานด้วยกระบวนการมีส่วนร่วม

  8. นโยบาย วิกฤตสุขภาพจิต เป้าหมาย ระบบการดำเนินงาน เป้าหมายกระทรวงฯที่เกี่ยวข้องกับงานกรมฯ  การพัฒนางานวิกฤตสุขภาพจิต  การแก้ไขปัญหาวิกฤตสุขภาพจิตในพื้นที่จังหวัดชายแดนใต้ เป้าหมายกรม GAP / ปัญหา วิกฤตสุขภาพจิต ระบบการดูแล วิกฤตสุขภาพจิต  ประชาชนที่ประสบภาวะวิกฤตมีความเสี่ยงต่อปัญหาสุขภาพจิต ยังไม่ได้รับการดูแลเยียวยาจิตใจและเข้าถึงบริการสุขภาพจิตและจิตเวชอย่างต่อเนื่องและครอบคลุม  ทีมช่วยเหลือเยียวยาจิตใจผู้ประสบภาวะวิกฤต ระดับอำเภอยังขาดความรู้ ทักษะการให้ความช่วยเหลือ กรณีเกิดวิกฤตบุคคล/วิกฤตครอบครัว  ขาดการซ้อมแผนการเกิดสถานการณ์ฉุกเฉิน ระบบสนับสนุน 1 ปี ร้อยละของอำเภอที่มีทีม DMAT, MCATT, SRRT คุณภาพ (80%) ผลลัพธ์ - ร้อยละของผู้ประสบภาวะวิกฤต ได้รับการเฝ้าระวังปัญหาสุขภาพจิตและการดูแลอย่างต่อเนื่อง (70%) - ร้อยละของประชาชนมีความรู้ ความเข้าใจในการดูแลตนเองเมื่อประสบภาวะวิกฤต (80%) องค์ความรู้ เครือข่ายต่างประเทศ ชุมชน/สังคม • - คู่มือจิตวิทยาการเจรจาต่อรองช่วยเหลือ • คู่มือปฐมพยาบาลด้านจิตใจตามหลักการ EASE • สร้างความเข้าใจในภาวะวิกฤต • เสริมสร้างความเข้มแข็งทางจิตใจ - แลกเปลี่ยนความร่วมมือ/ประสบการณ์ กับประเทศสิงคโปร์ ผลผลิต – ร้อยละของทีม MCATT ระดับอำเภอ มีคุณภาพมาตรฐาน (100%) เครือข่ายใน+นอกระบบบริการสุขภาพ ฐานข้อมูล ซ้อมแผนวิกฤตสุขภาพจิตและสุขภาพจิตฉุกเฉิน • ระบบฐานข้อมูล/การเฝ้าระวังวิกฤตสุขภาพจิต และสุขภาพจิตฉุกเฉิน • ระบาดวิทยาสุขภาพจิตในภาวะวิกฤต วิกฤตชายแดนใต้ • Crisis Intervention (Individual Family) • Motivation Csg • CBT • ชุมชนนักปฏิบัติ ผลลัพธ์ - ผู้ได้รับผลกระทบจากสถานการณ์ความไม่สงบบนฐานข้อมูล VMS ที่มีความเสี่ยงต่อการมีปัญหาสุขภาพจิตได้รับการดูแลเยียวยาจิตใจตามมาตรฐานที่กำหนดแล้วปัญหาสุขภาพจิตลดลง (70%) • ระดับอำเภอ วิกฤตชายแดนใต้  รูปแบบการดำเนินงานของเครือข่ายภาคประชาชนสุขภาพจิตยังไม่ชัดเจน สตรีผู้สูญเสีย เด็กกำพร้าที่ เกิดจากเหตุการณ์ความไม่สงบ  ยังขาดการติดตามและประเมินผล อย่างต่อเนื่อง Logistics ในภาวะวิกฤต บุคลากรกรมสุขภาพจิต • - เวชภัณฑ์ยา • ยานพาหนะ (รถ/เรือ) การบำบัดผู้ประสบภาวะวิกฤตด้วย CBT ผลผลิต – ผู้ได้รับผลกระทบจากสถานการณ์ความไม่สงบบนฐานข้อมูล VMS ที่มีความเสี่ยงต่อการมีปัญหาสุขภาพจิตได้รับการดูแลเยียวยาจิตใจตามมาตรฐานที่กำหนด (70%)

  9. นโยบาย วิจัย/ระบาดวิทยาฯ เป้าหมาย ระบบการดำเนินงาน  การพัฒนางานระบาดวิทยาสุขภาพจิตและเฝ้าระวังภาวะสุขภาพจิตในคนไทย เป้าหมายกรม GAP / ปัญหา ระบาดวิทยาสุขภาพจิต ระบบสนับสนุน • ระบาดวิทยาสุขภาพจิต •  กรมสุขภาพจิตยังขาดการเฝ้าระวังและสอบสวนทางระบาดวิทยาสุขภาพจิตด้านเด็ก วัยรุ่น วัยทำงาน วัยสูงอายุ ทั้งในภาวะปกติ และวิกฤตสุขภาพจิต ที่มีการเชื่อมต่อระบบการเฝ้าระวังและสอบสวนสู่ส่วนกลาง • ยังขาดทีมบุคลากรที่สามารถปฏิบัติงานทางระบาดวิทยาสุขภาพจิต และดำเนินงานร่วมกับทีมระบาดในพื้นที่ได้ • การนำข้อมูลทางระบาดวิทยามาใช้ในการวางแผนเพื่อดำเนินการแก้ไขและป้องกันปัญหาสุขภาพจิต ยังมีน้อย • ผลลัพธ์ • มีระบบการเฝ้าระวังและสอบสวนทางระบาด • วิทยาสุขภาพจิตตามกลุ่มวัยในพวงบริการ • อย่างน้อย 1 ระบบ • มีรายงานระบาดวิทยาสุขภาพจิตอย่างน้อย • 3 เรื่อง • มีรายงานผลระบาดวิทยาเบื้องต้น ในระดับ • เครือข่ายบริการสุขภาพจิต • มีรายงานดัชนีตัวชี้วัดสุขภาพจิตสำหรับทีม • MCATT 1 หลักสูตร • ทีม MCATT มีความรู้และดำเนินงานระบาด • วิทยาสุขภาพจิตในพื้นที่ได้ • มีรายงานและฐานข้อมูลระบาดวิทยา • สุขภาพจิตในประเด็นปัญหาสุขภาพจิต • ปัญหาสังคม 1. การพัฒนาระบบเฝ้าระวังและสอบสวนทางระบาดวิทยาสุขภาพจิต 2. การพัฒนาระบบการสำรวจทางระบาดวิทยาสุขภาพจิต • เด็กทีมีอายุ 6 -17 ปี • ผู้มีอายุ 18 ปีขึ้นไป 3. การพัฒนาระบบสารสนเทศทางระบาดวิทยาสุขภาพจิต 4. การพัฒนาศักยภาพและกำลังคนทางระบาดวิทยาสุขภาพจิต 5. การเฝ้าระวังภาวะสุขภาพจิตของคนไทยในช่วงเวลาต่างๆ • การเฝ้าระวังภาวะสุขภาพจิตของคนไทยในช่วงเวลาต่างๆ • การเก็บรวบรวมข้อมูลปัญหาความรุนแรงในสังคมจากข่าว • หนังสือพิมพ์ 6. การบริหารจัดการเพื่อให้เกิดความพร้อมสำหรับการดำเนิน โครงการ

  10. ผังแสดงความเชื่อมโยงของแผนการบริหารราชการแผ่นดินของรัฐบาล (พ.ศ.2555-2558) ยุทธศาสตร์การจัดสรรงบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2557 แผนปฏิบัติราชการ 4 ปี (พ.ศ. 2555– 2558) กระทรวงสาธารณสุข แผนปฏิบัติราชการ 4 ปี (พ.ศ. 2555 – 2558) กรมสุขภาพจิต ยุทธศาสตร์กรมสุขภาพจิต ในช่วงแผนฯ 11 (พ.ศ.2555 – 2559) และโครงการที่สำคัญของกรมสุขภาพจิต ประจำปี 2557 ข้อมูล ณ 27 พค. 56 ระดับชาติ แผนการบริหารราชการแผ่นดินของรัฐบาล (พ.ศ. 2555 – 2558) ระดับชาติ ยุทธศาสตร์การจัดสรรงบประมาณ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2557 นโยบายรัฐบาล ประเด็นนโยบาย เป้าประสงค์เชิงนโยบาย ของรัฐบาล กลยุทธ์ / วิธีการของรัฐบาล ยุทธศาสตร์ การจัดสรร ประเด็นยุทธศาสตร์ การจัดสรร เป้าหมาย เชิงยุทธศาสตร์ นโยบาย การจัดสรรงบประมาณ 4.7.1 ส่งเสริมให้ทุกภาคส่วนร่วมกันต่อต้านยาเสพติด สนับสนุนการสร้างภูมิคุ้มกันในเด็กเยาวชนและประชาชนกลุ่มเสี่ยงโดยให้ชุมชนมีส่วนร่วม รวมทั้งส่งเสริมสถาบันครอบครัวและสถานศึกษาให้มีบทบาทสำคัญในการให้ความรู้ ความเข้าใจและปลูกฝังค่านิยมที่ถูกต้อง 4.7.3 บำบัด รักษา ฟื้นฟูสมรรถภาพ ผู้ติดยาเสพติดให้สามารถกลับไปใช้ชีวิตในสังคมได้ตามปกติและมีกลไกติดตามการช่วยเหลืออย่างเป็นระบบ สังคมมีความปลอดภัย และได้รับผลกระทบ จากปัญหา ยาเสพติดลดลง 1.2.1 ป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดครบวงจรโดยบริหารจัดการอย่างบูรณาการฯ การบำบัดฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติด รวมทั้ง การสร้างเครือข่ายเฝ้าระวังและส่งเสริมกระบวนการมีส่วนร่วมของภาคประชาชน 4.ยุทธศาสตร์การศึกษาคุณธรรม จริยธรรม คุณภาพชีวิตและความเท่าเทียมกันในสังคม 4.7 การป้องกัน ปราบปราม และบำบัดรักษา ผู้ติดยาเสพติด 1.2 กำหนดให้การแก้ไขและป้องกันปัญหายาเสพติดเป็นวาระแห่งชาติฯ 1.2(1) ปัญหายาเสพติดลดลงและไม่ส่งผลกระทบต่อความสงบสุขของสังคม 1. นโยบายเร่งด่วน 1.2.2 พัฒนาเครือข่ายสร้างความร่วมมือจากภาคประชาชนในการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดในชุมชนหมู่บ้านลักษณะพลังแผ่นดิน ระบบสุขภาพมีการพัฒนาอย่างเป็นองค์รวมทั้งด้านการส่งเสริมสุขภาพ การป้องกันและควบคุมโรค การรักษาพยาบาล และการฟื้นฟูสุขภาพ อันจะนำไปสู่สุขภาพที่ยั่งยืนและพึ่งตนเองได้ของประชาชน 4.3(3) ประชาชนมีสุขภาพอนามัยดี มีพฤติกรรมสุขภาพเหมาะสม สามารถควบคุมและลดปัจจัยเสี่ยงต่อโรคเรื้อรัง ภัยพิบัติ และภัยสุขภาพ 4. นโยบายสังคมและคุณภาพชีวิต 4.3 นโยบายการพัฒนาสุขภาพของประชาชน 4.3 การพัฒนาด้านสาธารณสุข 4.3.6 พัฒนาระบบและกลไกการเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรค และปัจจัยเสี่ยงที่คุกคามต่อสุขภาพและระบบเตรียมความพร้อมตอบโต้ภาวะฉุกเฉินด้านการแพทย์และสาธารณสุข 4.3.2 สนับสนุนมาตรการสร้างเสริมสุขภาพ การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมด้านสุขภาพ การเฝ้าระวัง และการป้องกันโรครวมทั้งการดูแลสุขภาพของคนในชุมชนผ่านกลไกต่างๆ อย่างเหมาะสม 1

  11. ผังแสดงความเชื่อมโยงของแผนการบริหารราชการแผ่นดินของรัฐบาล (พ.ศ.2555-2558) ยุทธศาสตร์การจัดสรรงบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2557 แผนปฏิบัติราชการ 4 ปี (พ.ศ. 2555– 2558) กระทรวงสาธารณสุข แผนปฏิบัติราชการ 4 ปี (พ.ศ. 2555 – 2558) กรมสุขภาพจิต ยุทธศาสตร์กรมสุขภาพจิต ในช่วงแผนฯ 11 (พ.ศ.2555 – 2559) และโครงการที่สำคัญของกรมสุขภาพจิต ประจำปี 2557 ข้อมูล ณ 27 พค. 56 ระดับกรม แผนปฏิบัติราชการ 4 ปี พ.ศ.2557 -2560 กรมสุขภาพจิต ระดับกระทรวง แผนปฏิบัติราชการ 4 ปี พ.ศ. 2557 – 2560 กระทรวงสาธารณสุข เป้าหมายการให้บริการ ยุทธศาสตร์ ประเด็นยุทธศาสตร์ เป้าหมายการให้บริการ /ตัวชี้วัด กลยุทธ์ 1. พัฒนารูปแบบและช่องทางการสื่อสารความรู้สุขภาพจิตที่เหมาะสม กับกลุ่มเป้าหมาย 2. ขับเคลื่อนการรณรงค์ ประชาสัมพันธ์เชิงรุก เพื่อสร้างความรู้ ความเข้าใจในการป้องกันปัญหาสุขภาพจิต 1. ประชาชนมีความรู้ ความเข้าใจ ทัศนคติที่ถูกต้องเกี่ยวกับสุขภาพจิตและผู้ที่อยู่กับ ปัญหาสุขภาพจิตได้รับการดูแลสุขภาพจิต รวมทั้งได้รับการยอมรับในการดำรงชีวิต ร่วมกับผู้อื่นในสังคม ประชาชนผู้เสพ ผู้ติดยาและสารเสพติด ได้รับการบำบัด รักษา ฟื้นฟู เฝ้าระวัง ควบคุมการใช้วัตถุเสพติด เพื่อ สามารถดำเนินชีวิตได้ตามปกติในสังคม 5. พัฒนาระบบการบำบัดรักษาฟื้นฟู และป้องกันปัญหาการติดสารเสพติด 11 เสริมสร้างระบบเฝ้า ระวัง ควบคุม ป้องกัน บำบัดรักษา และฟื้นฟู สภาพของประชาชน ผู้เสพ ผู้ติดยาและ สารเสพติดให้มี ประสิทธิภาพ 1. พัฒนาและสนับสนุนการดำเนินงานสุขภาพจิตของเครือข่าย ในระบบบริการสาธารณสุข 2. เสริมสร้างการมีส่วนร่วมของภาคีเครือข่ายนอกระบบบริการ สาธารณสุขในการดำเนินงานสุขภาพจิต 1 ตัวชี้วัดร้อยละผู้เสพยาเสพติดที่ผ่านการบำบัดที่ได้รับการติดตาม ไม่กลับไปเสพซ้ำ ตัวชี้วัด 1.ร้อยละ 95 ของประชาชนมีความรู้และทักษะในการป้องกันการติดสารเสพติด 2. ร้อยละ68 ของผู้เสพ/ผู้ติดที่ได้รับการติดตาม ตามเกณฑ์ที่กำหนด และเลิกได้ หยุดได้ 1. พัฒนาระบบบริการสุขภาพจิตและบุคลากรเครือข่ายในจังหวัดชายแดนใต้ 1. พัฒนาและสนับสนุนการดำเนินงานสุขภาพจิตของเครือข่าย ในระบบบริการสาธารณสุข 2. เสริมสร้างการมีส่วนร่วมของภาคีเครือข่ายนอกระบบบริการ สาธารณสุขในการดำเนินงานสุขภาพจิต 3. พัฒนาความเป็นเลิศในงานบริการ/วิชาการสุขภาพจิต ของหน่วยงานในสังกัดกรมสุขภาพจิต ปี 57 80 ปี 58 80 ปี 59 80 ปี 60 80 2 5. พัฒนาระบบบริการ ด้านสร้างเสริมสุขภาพ และป้องกันโรค การฟื้นฟูสมรรถภาพ และการคุ้มครอง ผู้บริโภคด้านสุขภาพ ให้มีประสิทธิภาพเพื่อ ให้ประชาชนทุกกลุ่มวัย มีพฤติกรรมสุขภาพที่ ถูกต้อง เหมาะสม 2. ประชาชนในจังหวัดชายแดนใต้ได้รับการเยียวยาจิตใจ 3. พัฒนาความเป็นเลิศเฉพาะทางด้านบริการจิตเวช ตัวชี้วัด 1.ร้อยละ 70 ของผู้ได้รับผลกระทบจาก สถานการณ์ความไม่สงบบนฐานข้อมูล VMS ที่มีความเสี่ยงต่อการมีปัญหาสุขภาพจิตได้รับ การดูแลเยียวยาจิตใจตามมาตรฐานที่กำหนด 1. พัฒนากลไกเพื่อรองรับการดำเนินงานสุขภาพจิตในระดับชาติ และระดับท้องถิ่น 2. พัฒนาระบบการนำและการบริหารจัดการองค์การที่ดี 3. พัฒนาระบบการบริหารจัดการยุทธศาสตร์ให้มีประสิทธิภาพ 4. พัฒนาระบบคุณภาพการบริหารทรัพยากรบุคคล 5. พัฒนากระบวนการดำเนินงานให้สอดคล้องกับความต้องการและ ความคาดหวังของผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย 6. พัฒนาระบบข้อมูลสารสนเทศด้านสุขภาพจิตเพื่อมุ่งสู่การเป็น ศูนย์กลางของประเทศ 3 ประชาชนทุกกลุ่มวัยมีพฤติกรรมสุขภาพที่ถูกต้อง และ อยู่ในสภาพแวดล้อมที่เหมาะสม สามารถลดภาระโรค และภัยคุกคามตลอดจนได้รับการคุ้มครองผู้บริโภค ด้านสุขภาพ 2. พัฒนากลไกการดำเนินงานสุขภาพจิตและคุณภาพระบบบริหารจัดการ 3. ประชาชนได้รับบริการสุขภาพจิตจากหน่วย บริการจิตเวช และเครือข่ายที่มีคุณภาพมาตร ฐานภายใต้การบริหารองค์กรและสมรรถนะ บุคลากรที่มีประสิทธิภาพ ตัวชี้วัด ร้อยละของเด็กที่มีพัฒนาการสมวัย ตัวชี้วัด หน่วยบริการจิตเวชผ่านการรับรองคุณภาพ มาตรฐาน (HA) 17 แห่ง 4 4. พัฒนาความเป็นเลิศทางวิชาการด้านสุขภาพจิต เพื่อเสริมสร้างศักยภาพความร่วมมือของเครือข่ายและสื่อสารสู่สังคมแบบเชิงรุก ปี 57 85 ปี 58 85 ปี 59 85 ปี60 85 1. พัฒนาและสนับสนุนการดำเนินงานสุขภาพจิตของเครือข่าย ในระบบบริการสาธารณสุข 2. เสริมสร้างการมีส่วนร่วมของภาคีเครือข่ายนอกระบบบริการ สาธารณสุขในการดำเนินงานสุขภาพจิต 3. พัฒนาองค์ความรู้ด้านสุขภาพจิตให้มีคุณภาพมาตรฐานสอดคล้อง กับสภาพปัญหาและความต้องการของผู้รับบริการเครือข่ายและสังคม 4. พัฒนาคลังความรู้ทางวิชาการด้านสุขภาพจิต 5. พัฒนาการแลกเปลี่ยนความรู้และถ่ายทอดวิชาการด้านสุขภาพจิต กับเครือข่ายในประเทศและนานาชาติ 4. เครือข่ายและประชาชนได้รับการถ่ายทอด องค์ความรู้และเทคโนโลยีด้านสุขภาพจิต ตัวชี้วัด ร้อยละ 80 ของกลุ่มเป้าหมายมีความพึงพอใจ ต่อเนื้อหาและรูปแบบการถ่ายทอดองค์ความรู้ด้านสุขภาพจิต 5 2

  12. ผังแสดงความเชื่อมโยงของแผนการบริหารราชการแผ่นดินของรัฐบาล (พ.ศ.2555-2558) ยุทธศาสตร์การจัดสรรงบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2557 แผนปฏิบัติราชการ 4 ปี (พ.ศ. 2555– 2558) กระทรวงสาธารณสุข แผนปฏิบัติราชการ 4 ปี (พ.ศ. 2555 – 2558) กรมสุขภาพจิต ยุทธศาสตร์กรมสุขภาพจิต ในช่วงแผนฯ 11 (พ.ศ.2555 – 2559) และโครงการที่สำคัญของกรมสุขภาพจิต ประจำปี 2557 ข้อมูล ณ 27 พค. 56 ระดับกรมแผนปฏิบัติการกรมสุขภาพจิต ประจำปี 2557 ระดับกรม ยุทธศาสตร์กรมสุขภาพจิต ในช่วงแผนฯ11 (พ.ศ.2556 – 2559) กิจกรรมหลัก นโยบายการขับเคลื่อนดำเนินงาน ตัวชี้วัด / ค่าเป้าหมาย (กลางแผน / สิ้นแผน) โครงการที่สำคัญประจำปี 2557 ผลผลิต แผนงาน ประเด็นยุทธศาสตร์ เป้าประสงค์ 1. ประชาชนผู้เสพและผู้ติดยาเสพติดได้รับการป้องกัน บำบัด รักษา และฟื้นฟูจากปัญหายาเสพติด หลัก 1.1:บำบัด รักษา และฟื้นฟูผู้ป่วยยาเสพติดที่มีปัญหาสุขภาพจิต 1. โครงการรณรงค์ป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด(TO BE NUMBER ONE) (87.825 ลบ.) ก.หลัก 1.2 1. ร้อยละของประชาชนมีความรู้ ความเข้าใจในเรื่องสุขภาพจิต (50 / 70) 2. ร้อยละของประชาชนมีทัศนคติ ที่ดีต่อเรื่องสุขภาพจิต(50 / 70) นโยบายการพัฒนางานสุขภาพจิตวัยเรียน - วัยรุ่น 1. พัฒนาการสื่อสารสุขภาพจิตสู่สังคมแบบ เชิงรุก 2. โครงการบูรณาการระบบสุขภาพใจเพื่อเด็กไทยวัยรุ่น (13.807 ลบ.) ก.หลัก 3.2 ประชาชนมีความรู้ ความเข้าใจ และทัศนคติที่ดี ต่อเรื่องสุขภาพจิต ตัวชี้วัดร้อยละ 80 ของผู้ป่วย ยาเสพติดที่มีปัญหาสุขภาพจิตที่ผ่านการบำบัด รักษาครบตามกำหนดได้รับการติดตามดูแลอย่างน้อย 4 ครั้ง ในรอบ 1 ปี หลัก 1.2 : ศึกษา วิจัย พัฒนา และถ่ายทอดองค์ความรู้ด้านยาเสพติด ป้องกัน ปราบปราม และบำบัดรักษายาเสพติด 3. โครงการพัฒนาสติปัญญาเด็กไทยวัยเรียน (5.028ลบ.) ก.หลัก 3.2 นโยบายการพัฒนางานสุขภาพจิตวัยเด็ก 1. ร้อยละของผู้มีปัญหาสุขภาพจิต เข้าถึงบริการสุขภาพจิต - โรคจิต( 75 / 80) - โรคซึมเศร้า(12 / 15) - Dementia ( 5 / 10) - ความพิการทางปัญญา และ Autistic (15 / 20) 2. ร้อยละของประชาชนสามารถ เข้าถึงบริการส่งเสริมและป้องกัน ปัญหาสุขภาพจิต (20 / 25) หลัก 1.1: พัฒนาประชาชนและเครือข่ายด้านสุขภาพจิตทั้งในและนอกระบบสาธารณสุข 4. โครงการพัฒนาเด็กปฐมวัยเพื่อรองรับยุทธศาสตร์ชาติ (20 ลบ.) ก.หลัก 3.2 1. เครือข่ายและประชาชนในจังหวัดชายแดนใต้ได้รับการเยียวยาด้านจิตใจ 2. เสริมสร้างความร่วมมือกับภาคีเครือข่ายในการดำเนินงานสุขภาพจิต 5. โครงการพัฒนาระบบส่งเสริมและป้องกันปัญหาสุขภาพจิตวัยทำงาน-วัยสูงอายุ (15 ลบ.) ก.หลัก 3.2 ประชาชนได้รับ การดูแลและเข้าถึง บริการสุขภาพจิต นโยบายการพัฒนางานสุขภาพจิตวัยทำงาน – วัยสูงอายุ - ผู้พิการ หลัก 2.1: พัฒนาระบบบริหารจัดการด้านสุขภาพจิต 6. โครงการสร้างความเข้มแข็งของเครือข่ายผู้พิการทางจิตใจ สติปัญญา การเรียนรู้ และออทิสติก (5 ลบ.) ก.หลัก 3.2 ตัวชี้วัด ร้อยละ 55 ของเครือข่ายมีบริการเยียวยาด้านจิตใจตามเกณฑ์มาตรฐานที่กำหนด ผ่านระดับ 3 หลัก 2.2: บริการด้านสุขภาพจิตทั้งในและนอกสถานบริการ 7. โครงการแก้ไขปัญหาวิกฤตสุขภาพจิตในจังหวัดชายแดนใต้ (5.9 ลบ.) ก.หลัก 1.1 นโยบายการพัฒนางานวิกฤตสุขภาพจิต หลัก 2.3: พัฒนาระบบบริการด้านสุขภาพจิต 2. ประชาชนได้รับการบริการเฉพาะทางด้านสุขภาพจิต 3. พัฒนาความเป็นเลิศทางการบริการและวิชาการสุขภาพจิต หน่วยงานในสังกัด กรมฯ มีความเป็น เลิศ ในงานบริการ และวิชาการด้าน สุขภาพจิต 1. จำนวนหน่วยงานในสังกัดกรม สุขภาพจิตมีความเป็นเลิศใน งานบริการ/วิชาการด้าน สุขภาพจิต (15 / 31) 8. โครงการพัฒนางานวิกฤตสุขภาพจิต (12 ลบ.) ก.หลัก 2.4 หลัก 2.4: พัฒนาระบบบริการด้านสุขภาพจิตทุกระดับแบบเครือข่ายบริการสุขภาพจิตตาม Service Plan ตัวชี้วัดร้อยละ100 ของสถานบริการจิตเวชผ่านการรับรองมาตรฐาน (HA) 9. โครงการพัฒนาบริการสุขภาพจิตและจิตเวชในเครือข่ายบริการสุขภาพเพื่อเพิ่มการเข้าถึงบริการ (21.384 ลบ.) ก.หลัก 2.4 พัฒนาด้านสาธารณสุข นโยบายการพัฒนาระบบบริการสุขภาพจิตและจิตเวชและเพิ่มการเข้าถึงบริการ หลัก 2.5: พัฒนาระบบข้อมูลเทคโนโลยีสารสนเทศ เพื่อสนับสนุนระบบบริการสุขภาพจิต 4. สร้างกลไกเพื่อรองรับการดำเนินงานสุขภาพจิตในระดับชาติและระดับท้องถิ่น 3. องค์ความรู้และเทคโนโลยีด้านสุขภาพจิตได้รับการวิจัย พัฒนา ถ่ายทอด และประยุกต์ ใช้สู่บุคลากร เครือข่ายและประชาชน มีข้อเสนอเชิง นโยบายด้าน สุขภาพจิต ที่ผ่านความเห็นชอบ ของคณะกรรมการ สุขภาพจิตแห่งชาติ 1. จำนวนข้อเสนอเชิงนโยบาย ด้านสุขภาพจิตที่ผ่านความ เห็นชอบของคณะกรรมการ สุขภาพจิตแห่งชาติ (3 / 6) 10. โครงการพัฒนาศูนย์ความชี่ยวชาญระดับสูงด้านจิตเวชศาสตร์ (Super Specialist Service) (23.676 ลบ.)ก.หลัก 2.4 หลัก 3.1 : ศึกษาวิจัย พัฒนา และถ่ายทอด องค์ความรู้ ด้านสุขภาพจิตสู่เครือข่ายและประชาชน 11. โครงการพัฒนาเครือข่ายสุขภาพอำเภอเพื่อพัฒนาระบบสุขภาพจิตชุมชนที่ยั่งยืน (11 ลบ.) ก.หลัก2.4 ตัวชี้วัด ร้อยละ 80 ขององค์ความรู้และเทคโนโลยีด้านสุขภาพจิตที่ผ่านการวิจัยพัฒนา และถ่ายทอดสู่เครือข่ายและประชาชนแล้ว ถูกนำไปใช้ในการพัฒนาดำเนินงานสุขภาพจิต การบริหารจัดการ ของกรมสุขภาพจิตมีคุณภาพตามเกณฑ์ การบริหารจัดการภาครัฐ 1. กรมสุขภาพจิตผ่านการประเมิน ตามเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ (ผ่าน Certified FL/ ผ่าน TQC) พัฒนาและจัดทำข้อเสนอแนะเชิงนโยบายด้านสุขภาพจิต 5. พัฒนาคุณภาพระบบบริหารจัดการสู่มาตรฐานสากล หลัก 3.2 :สร้างเสริมสุขภาพจิตตามกลุ่มวัย 12. โครงการพัฒนางานระบาดวิทยาสุขภาพจิตและเฝ้าระวังภาวะสุขภาพจิตของคนไทย (9 ลบ.) ก.หลัก 2.5 นโยบายการพัฒนางานระบบข้อมูลสารสนเทศและระบาดวิทยาสุขภาพจิต 3

  13. โครงการขับเคลื่อนนโยบายการดำเนินงานสุขภาพจิต ปีงบประมาณ 2557 ที่ตอบสนองต่อตัวชี้วัดระดับกรม และ ระดับกระทรวง อายุคาดเฉลี่ยเมื่อแรกเกิด ไม่น้อยกว่า 80 ปี 10 ปี อายุคาดเฉลี่ยของการมีสุขภาพดี ไม่น้อยกว่า 72 ปี 3-5 ปี IQ ≥ 100 คะแนน EQ≥ 70% 1-2 ปี ร้อยละของผู้ป่วยโรคซึมเศร้าเข้าถึงบริการ 1 ปี ANC/ WCC/ DCC Psychosocial Clinic Service Plan / DHS MCATT โครงการ ขับเคลื่อน นโยบายฯ ปี 2557 วัยเด็ก วัยเรียน - วัยรุ่น วัยทำงาน - สูงอายุ - ผู้พิการ บริการ วิกฤต 1. การพัฒนาเด็กปฐมวัยเพื่อรองรับยุทธศาสตร์ชาติ 1. การรณรงค์ป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด (TO BE NUMBER ONE) 2. การบูรณาการระบบสุขภาพใจเพื่อเด็กไทยวัยรุ่น 3. การพัฒนาสติปัญญาเด็กไทยวัยเรียน 1. การพัฒนาเครือข่ายสุขภาพอำเภอเพื่อพัฒนาระบบสุขภาพจิตชุมชนที่ยั่งยืน 2. การพัฒนาบริการสุขภาพจิตและจิตเวชในเครือข่ายบริการสุขภาพเพื่อเพิ่มการเข้าถึงบริการ 3. การพัฒนาศูนย์ความเชี่ยวชาญระดับสูงด้านจิตเวชศาสตร์ 1. การพัฒนางานวิกฤตสุขภาพจิต 2. การแก้ไขปัญหาวิกฤตสุขภาพจิตในพื้นที่จังหวัดชายแดนใต้ 1.การพัฒนาระบบส่งเสริมและป้องกันปัญหาสุขภาพจิตใน วัยทำงาน-วัยสูงอายุ 2. การสร้างความเข้มแข็งของเครือข่ายผู้พิการทางจิตใจสติปัญญา การเรียนรู้ และ ออทิสติก การพัฒนางานระบาดวิทยาสุขภาพจิตและเฝ้าระวังภาวะสุขภาพจิตของคนไทย IT (Database + Networking) R&D KM Training

More Related