1 / 19

แนวคิดและหลักการจัดการความรู้ ( Knowledge Management , KM )

แนวคิดและหลักการจัดการความรู้ ( Knowledge Management , KM ). องค์ความรู้. คือ สารสนเทศที่ได้รับมา และกลั่นกรองมาจนตกผลึก และเลือกที่จะหยิบมาเป็นองค์ความรู้ในเรื่องนั้น ๆ ที่จะใช้เป็นมุมมองของตนเอง

Télécharger la présentation

แนวคิดและหลักการจัดการความรู้ ( Knowledge Management , KM )

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. แนวคิดและหลักการจัดการความรู้แนวคิดและหลักการจัดการความรู้ ( Knowledge Management , KM )

  2. องค์ความรู้ • คือ สารสนเทศที่ได้รับมา และกลั่นกรองมาจนตกผลึก และเลือกที่จะหยิบมาเป็นองค์ความรู้ในเรื่องนั้น ๆ ที่จะใช้เป็นมุมมองของตนเอง • เป็นกรอบความคิดที่จะอธิบายปรากฏการณ์ต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นในสังคม เช่น องค์ความรู้เรื่องชุมชนเข้มแข็ง ถ้าเราเห็นปรากฏการณ์ต่าง ๆ ที่มีเรื่องเหล่านี้ เราก็จะหยิบองค์ความรู้เหล่านี้มาใช้

  3. การสร้างความรู้ • เป็นการสังเคราะห์ หรือ หลอมรวมความรู้ที่เด่นชัด กับความรู้ที่ฝังลึก ยกระดับขึ้นไปเป็นความรู้ที่สูงขึ้น โดยผ่านกระบวนการ 4 ส่วน ที่เรียกว่า “เซกิ” (SECI)

  4. แนวคิดการบริหารองค์กรในยุคของการเปลี่ยนแปลงแนวคิดการบริหารองค์กรในยุคของการเปลี่ยนแปลง Learning Organization (Dr. Peter M. Senge) Five Disciplines : 1. Personal Mastery 2. Mental Models 3. Shared Vision 4. Team Learning 5. Systems Thinking มุ่งมั่นสู่ความเป็นเลิศ เปิดโลกทัศน์เชิงพัฒนา พาองค์การสานวิสัยทัศน์ จัดการเรียนรู้ร่วมกัน รู้เท่าทันความคิดเชิงระบบ (Dr. Peter M. Senge ศาสตราจารย์ ที่ MIT Sloan School of Management)

  5. KM. เป็นเครื่องมือพัฒนา LO. • KM มีเป้าหมาย 3 ประการ • พัฒนางานให้มีคุณภาพและผลสัมฤทธิ์ • พัฒนาคน/ผู้ปฏิบัติงาน • พัฒนา “ฐานความรู้” ขององค์กร/หน่วยงาน (สร้างทุนทางปัญญา)

  6. ความรู้ 4 ระดับ • Know-What: ความรู้เชิงทฤษฏีล้วนๆ ใช้งานได้ผลบ้างไม่ได้ผลบ้าง • Know-How: ความรู้ที่มีทั้งทฤษฏีและบริบท รู้จักปรับใช้ให้เข้ากับบริบท • Know-Why: ความรู้ระดับอธิบายได้ว่าทำไม จึงใช้ในบริบทนั้น และใช้ไม่ได้อีกบริบทหนึ่ง • Care-Why: ความรู้ระดับคุณค่า ความเชื่อ เป็นแรงผลักดันให้ทำจากจิตใจ เมื่อต้องเผชิญสถานการณ์

  7. หลักการ KM • ให้คนหลายทักษะ หลากวิธีคิด ทำงานร่วมกัน (จะเกิดพลังเน้น Heterogeneity > Homogeneity) • ร่วมกันพัฒนาวิธีการทำงานรูปแบบใหม่ๆ เพื่อบรรลุผล การจัดการสมัยใหม่ 4 ประการ • ตอบสนองความต้องการ (Responsiveness) • นวัตกรรม (Innovation) • ประสิทธิภาพการทำงาน (Efficiency) • ทดลองและเรียนรู้ เพื่อได้วิธีทำงานใหม่ที่ได้ผล (Best Practice) • การนำเข้าความรู้จากภายนอกที่เหมาะสม

  8. การจัดการความรู้(KM: Knowledge Management) ● เริ่มที่งานไม่ใช่เริ่มที่ความรู้ ก้าวแรกคือคนในชุมชนมา “สุมหัวกัน” เพื่อกำหนดผลสัมฤทธิ์ ที่เป็นเป้าหมายร่วมกัน ● การจัดการความรู้เน้น “ความรู้ในคน” (Tacit Knowledge)เป็นอันดับต้น “ความรู้ในกระดาษ”(Explicit Knowledge) เป็นอันดับรอง

  9. ความรู้ 2 ประเภท 1. ความรู้ในคน (Tacit Knowledge) * อยู่ใน หัว-ใจ-มือ ของคน ในหัวสมอง เป็น ความคิด ในใจ เป็น ความเชื่อ ความนิยม ในมือ เป็น ทักษะ : ความสามารถในการปฏิบัติ * เชื่อมโยงกับประสบการณ์ * ไม่สามารถถ่ายทอดออกมาเป็นถ้อยคำตัวหนังสือได้ทั้งหมด * เป็นความรู้ที่เชื่อมโยงกับบริบท

  10. ความรู้ 2 ประเภท 2.ความรู้ในกระดาษ (Explicit Knowledge) * อยู่ในตำรา คู่มือ VCD Computer Internetฯลฯ * เป็นความรู้ที่ยกระดับเป็นนามธรรมไร้บริบท * ถ่ายทอดได้ไม่หมด (ไม่มีชีวิต) * อาจไม่เชื่อมโยงกับประสบการณ์

  11. การอธิบายความหมายของ “ตลาดนัดความรู้” ตลาดนัด ผู้ซื้อ ผู้ขาย สินค้า สถานที่ ความรู้ ความรู้จากการปฏิบัติที่เห็นส่งผลแล้ว การแบ่งกลุ่มย่อย เพื่อทำ กระบวนการสกัดความรู้จากเรื่องเล่า คุณอำนวย คุณบันทึก คุณกิจ คุณสังเกต คุณกิจ คุณกิจ คุณกิจ

  12. ถอดหมวก ลดอาวุโส ไม่ติดยึดยศ ตำแหน่ง เชื่อว่าไม่มีใครรู้ไปหมดเสียทุกเรื่อง ทำจิตให้ว่าง ทุกอย่างคือสิ่งใหม่ ฟังให้ลึก (Deep listening) สงบ มีสมาธิ ฟังในตัวตน หรือสิ่งที่ผู้เล่าเป็นและเล่าให้ฟัง ไม่ตัดสิน ถูก/ผิด ของผู้อื่น อย่าเอาความเป็นตัวตนของเราเองไปใส่แทนผู้เล่า เคารพทั้งต่อตนเองและผู้อื่น ลดความคิดนิยม “ต้องความสมบูรณ์แบบ” ซักถาม-แลกเปลี่ยนด้วยความชื่นชม เชื่อมั่นเสมอว่า “ทุกที่มีความรู้” ข้อเสนอแนะ เวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้

  13. สิ่งที่ควรปฏิบัติในการฟังสิ่งที่ควรปฏิบัติในการฟัง สนใจ ตั้งใจ เข้าใจผู้อื่น เห็นใจ ให้กำลังใจผู้พูด แยกแยะข้อเท็จจริง ปัญหา ฝึกรู้จักเงียบเมื่อจำเป็น ตระหนักว่าคำพูดคือสัญลักษณ์ ความหมายอยู่ที่จุดมุ่งหมายผู้พูด สังเกตอย่างจริงจังเพื่อเข้าใจความหมาย

  14. สิ่งที่ควรปฏิบัติในการฟัง(ต่อ)สิ่งที่ควรปฏิบัติในการฟัง(ต่อ) เลิกคิดว่าเราเป็นผู้รอบรู้ มีจิตใจที่จดจ่ออยู่กับเรื่องที่ฟัง วิเคราะห์ สังเคราะห์ สิ่งที่เขา คิด พูด รู้สึก ให้เวลาเขาคิดบ้าง อย่าลุกไล่ อย่าถามขัดความคิด มีความตื่นตัวตลอดเวลาที่ฟัง ต้องมีที่ท่าที่ช่วยให้ผู้พูดเกิดความเชื่อมั่น

  15. การถามเพื่อการเรียนรู้การถามเพื่อการเรียนรู้ กำหนดวัตถุประสงค์ เป้าหมายให้ชัด กระตุ้น ท้าทายให้คิด แลกเปลี่ยน ไม่เป็นนามธรรมมากเกินไป เลี่ยงคำศัพท์ ภาษา ที่ไม่เข้าใจ เข้าใจผิดบ่อย คำถาม สั้น ง่าย ชัดเจนในตัว ตรงเป้า ถามเป็นข้อๆ ไม่ถามหลายคำถามซ้อน ไม่ถามย้อนไปมา ถามให้คนอภิปรายไม่ใช้คำถามปิด

  16. การถามเพื่อการเรียนรู้การถามเพื่อการเรียนรู้ ถามให้เขาตอบได้ ไม่หักหน้า ไม่จับผิด ถามแล้วไม่เข้าใจ ถามซ้ำ เปลี่ยนภาษา เกิดประโยชน์ต่อตัวผู้ฟังโดยรวม คำถามสร้างสรรค์ ไม่ลองภูมิ

  17. ส่วนประกอบของการเขียนส่วนประกอบของการเขียน • ส่วนนำหรือความนำ - เป็นส่วนที่สร้างความสนใจให้ติดตามส่วนต่อไป • ส่วนเนื้อหา - เป็นส่วนแสดงรายละเอียด • ส่วนสรุปหรือส่วนท้าย - เป็นส่วนสรุปและแสดงการจบเรื่องที่ทำให้เกิดความสนใจ และนำไปพิจารณา - หากมีการอ้างอิง ต้องแสดงแหล่งที่ในลักษณะเชิงอรรถ และบรรณานุกรม

  18. ส่วนกลางลำตัว ส่วนที่เป็น “หัวใจ” ให้ความสำคัญกับการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ช่วยเหลือ เกื้อกูลซึ่งกันและกัน (Share & Learn) Knowledge Sharing Knowledge Vision Knowledge Assets ส่วนหาง สร้างคลังความรู้ เชื่อมโยงเครือข่าย ประยุกต์ใช้ ICT “สะบัดหาง” สร้างพลังจาก CoPs ส่วนหัว ส่วนตา มองว่ากำลังจะไปทางไหน ต้องตอบได้ว่า “ทำ KM ไปเพื่ออะไร” แนวทางหนึ่ง ที่จะช่วยให้ “ไม่ไปผิดทาง” • KM Model “ปลาทู” • Knowledge Vision (KV) • Knowledge Sharing (KS) • Knowledge Assets (KA) KV KS KA

More Related