1 / 37

วันที่ 18 พฤศจิกายน 2557 ณ โรงแรมมณเฑียร สุริวงศ์ กรุงเทพมหานคร

การประชุมเชิงปฎิบัติการ โครงการปรับปรุงการเข้าถึงระบบบริการการดูแลรักษา ผู้ติดเชื้อเอชไอวีและผู้ป่วยเอดส์และการรักษาด้วยยาต้านไวรัส ปี 2557. วันที่ 18 พฤศจิกายน 2557 ณ โรงแรมมณเฑียร สุริวงศ์ กรุงเทพมหานคร. วัตถุประสงค์การประชุม. ประสานแผนการดำเนินงานโครงการ ฯ และกิจกรรม

kerry-dean
Télécharger la présentation

วันที่ 18 พฤศจิกายน 2557 ณ โรงแรมมณเฑียร สุริวงศ์ กรุงเทพมหานคร

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การประชุมเชิงปฎิบัติการโครงการปรับปรุงการเข้าถึงระบบบริการการดูแลรักษาผู้ติดเชื้อเอชไอวีและผู้ป่วยเอดส์และการรักษาด้วยยาต้านไวรัส ปี 2557 วันที่ 18พฤศจิกายน 2557 ณ โรงแรมมณเฑียร สุริวงศ์ กรุงเทพมหานคร

  2. วัตถุประสงค์การประชุมวัตถุประสงค์การประชุม • ประสานแผนการดำเนินงานโครงการ ฯ และกิจกรรม • แนวทางดำเนินกิจกรรม ปี 2557 และการสนับสนุน การรับคนไข้รายใหม่ ใน NAPHA EX. สถานการณ์ การเข้ารับบริการในโครงการ การรับ waiting list เข้าโครงการ การส่งเสริมการใช้ประกันสุขภาพคนต่างด้าว ในโครงการ การส่งเสริม VCT ที่ต่อยอดจาก Same Day Result และเป็น GAP ของระบบและประเทศ LOGO

  3. วัตถุประสงค์การประชุมวัตถุประสงค์การประชุม • แนวทางการเสนอโครงการ ฯ ปี 2558 - ช่องว่างการดำเนินงาน เพื่อเสนอแผนงานและการสนับสนุนจากกองทุนโลก - คาดประมาณ target การเข้าถึงด้วย GF ยังขาดอยู่เท่าไร ประเทศจะ fill gap ได้อย่างไร - ช่องว่างด้านการเงิน - ช่องว่าง HR, Infrastructure - สิ่งที่จะต้องดำเนินการต่อ ควรเป็นกิจกรรมที่มีนวัตกรรมนำไปสู่ getting 3 zeros ได้จริง LOGO

  4. แนวทางการดำเนินงาน กิจกรรมและการประสาเครือข่ายปี 2557 LOGO

  5. โครงการการปรับปรุงการเข้าถึงระบบบริการการดูแลรักษาผู้ติดเชื้อเอชไอวีและผู้ป่วยเอดส์ และการรักษาด้วยยาต้านไวรัสระยะ SSF ปีที่ 3 (ปี 2557) สำนักโรคเอดส์ วัณโรค และโรคติดต่อทาเพศสัมพันธ์ 18 พฤศจิกายน 2556

  6. แผนและสถานะการดำเนินงานโครงการปีที่ 11 • กลุ่มเป้าหมาย กลุ่มผู้ติดเชื้อเอชไอวีและผู้ป่วยเอดส์ที่อยู่นอกสิทธิระบบหลักประกันสุขภาพต่างๆ และกลุ่มทีเข้าถึงยาก จำนวน 2,700 ราย (ต่อเนื่องจากปีที่ 10) • ระยะเวลาการดำเนินงาน SSF คือ ระยะเวลา 3 ปี พ.ศ. 2555-2557 • งบประมาณปี 2557 : ที่ได้รับตามแผน 2,135,832.48 USD หรือ 64,074,974.40 บาท • สถานะการดำเนินงาน • มีการลงนามร่วมกันระหว่าง PR และ BATS เป็นที่เรียบร้อยแล้วและ ขณะนี้รอการสนับสนุนงบประมาณการดำเนินโครงการ - อยู่ระหว่างดำเนินการอนุมัติการดำเนินโครงการภาพรวมจากกรมควบคุมโรค - เตรียมการลงนาม RPGA ร่วมกับหน่วยงานร่วมดำเนินโครงการระดับพื้นที่

  7. โครงการหลัก

  8. Indicators of ART project

  9. กิจกรรม : ระดับพื้นที่ (สคร. และ กทม.)

  10. Regional Programme Grant Agreement

  11. Regional Programme Grant Agreement

  12. Regional Programme Grant Agreement

  13. Regional Programme Grant Agreement

  14. Regional Programme Grant Agreement

  15. Regional Programme Grant Agreement

  16. Regional Programme Grant Agreement

  17. Regional Programme Grant Agreement

  18. Regional Programme Grant Agreement

  19. การรายงาน รายงานผลการดำเนินงาน 1. รายงานผลการดำเนินงาน ราย 2 ไตรมาส เป็นผลการดำเนินงานกิจกรรม ประกอบด้วย ครั้งที่ 1รายงานของไตรมาสที่ 9 – 10 (ตุลาคม 2556 – มีนาคม 2557) ครั้งที่ 2 รายงานของไตรมาสที่ 11 – 12 (เมษายน 2557 – กันยายน 2557) 2. รายงานสรุปผลการดำเนินงานและรายงานทางการเงินและบัญชีประจำปี (Annual Report)ที่หน่วยงานได้ดำเนินกิจกรรมเสร็จสิ้นแล้ว ภายในปีงบประมาณ 2557 เสนอสำนักโรคเอดส์ วัณโรค และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ เพื่อทราบ

  20. การรายงาน รายงานด้านการเงิน เป็นการรายงานด้านการเงินเทียบการดำเนินรายกิจกรรมภายใต้โครงการในปีงบประมาณ 2557 ที่ สำนักงานป้องกันควบคุมโรคและสำนักอนามัย กทม. นำส่งต่อ สำนักโรคเอดส์ ฯ ทุก ไตรมาส

  21. งบประมาณที่ร่วมดำเนินการในระดับพื้นที่ ปีงบประมาณ 2556 (1 ตุลาคม 2555 - 30 กันยายน 2556 )

  22. NAPHA EXTENSION

  23. กลุ่มเป้าหมาย • กลุ่มผู้ติดเชื้อเอชไอวีและผู้ป่วยเอดส์ที่อยู่นอกสิทธิระบบหลักประกันสุขภาพต่างๆ ทั้งกลุ่มที่เคยและ ไม่เคยรับยาต้านไวรัส จำนวน 2,700 ราย เช่น กลุ่มคนไทยที่รอพิสูจน์สิทธิ กลุ่มคนไทยพลัดถิ่น กลุ่มชาติพันธุ์ กลุ่มแรงงานข้ามชาติที่มีหลักประกันสุขภาพ กลุ่มผู้อพยพด้วยสาเหตุต่างๆ กลุ่มผู้ต้องขังในเรือนจำ เป็นต้น

  24. ปรับเกณฑ์การเริ่มยาต้านไวรัสให้สอดคล้องกับแนวทางการดูแลรักษาด้วยยาต้านไวรัสของประเทศเริ่มการรักษาผู้ติดเชื้อเอชไอวีเมื่อมี CD4 ต่ำกว่าหรือเท่ากับ 350 cell/cu.mm

  25. Service Package for ARV

  26. Service Package for Laboratory • หมายเหตุ : สนับสนุนการตรวจในราย • ตรวจก่อนเข้าโครงการ • หลังรับยาต้านไวรัสในโครงการ

  27. โครงการส่งเสริมการเข้าถึงการปรึกษาและตรวจหาการติดเชื้อเอชไอวีในกลุ่มประชากรเคลื่อนย้ายและกลุ่มเข้าถึงยาก(Mobile Population VCT )

  28. Objective : สร้างและผลักดันกลไกการทำงานในบริบทของพื้นที่ รวมถึงพัฒนากลวิธีการจัดระบบบริการในกลุ่มประชากรเป้าหมาย : ส่งเสริมการเข้าถึงบริการตรวจหาการติดเชื้อเอชไอวีในกลุ่มประชากรเคลื่อนย้าย กลุ่มเข้าถึงยากและกลุ่มที่มีข้อจำกัด รวมถึงประชาชนทั่วไป ให้สามารถเข้าถึงบริการปรึกษาและตรวจหาการติดเชื้อเอชไอวีเพื่อการป้องกัน การดูแลรักษา และการส่งต่อรับบริการสวัสดิการต่างๆที่เหมาะสม

  29. การดำเนินงาน การสนับสนุนจากโครงการกองทุนโลก เริ่มดำเนินการส่งเสริมการเข้าถึงบริการปรึกษา ฯ ในปี 2549 -2552 ในทุกกลุ่มประชากร ตามบริบทของพื้นที่และหน่วยบริการ ดำเนินการต่อเนื่อง ปี 2552 - 2554 และ 2555 -2557 โดยเน้นการทำงานในกลุ่มประชากรเคลื่อนย้ายและกลุ่มเข้าถึงยาก

  30. เป้าหมาย หน่วยบริการสุขภาพที่เข้าร่วมโครงการได้มีการปรับระบบบริการ ฯ จากแบบตั้งรับไปสู่การบริการเชิงรุกทั้งภายในและภายนอกหน่วยบริการสุขภาพมากขึ้นเกิดการวิเคราะห์กลุ่มเป้าหมายในการดำเนินการส่งเสริม ฯรวมถึงการจัดรูปแบบบริการสุขภาพที่สอดคล้องกับการระบาดของเชื้อและบริบทของกลุ่มเป้าหมายในแต่ละพื้นที่ กลุ่มเป้าหมายที่มีกลไกการส่งเสริมการเข้าถึงบริการปรึกษา ฯ 1. กลุ่มประชากรเคลื่อนย้าย ทั้งคนไทยและต่างด้าว เช่น แรงงานไทยทำงานเคลื่อนย้าย แรงงานไทยที่ห่างสิทธิ แรงงานต่างด้าว กลุ่มประมง เป็นต้น 2. กลุ่มที่เข้าถึงยาก อาทิ กลุ่มที่มีอุปสรรคในการเข้าถึงบริการด้วยสาเหตุต่าง ๆ จากถิ่นที่อยู่ การประกอบอาชีพ ฯลฯ เช่น กลุ่มชาติพันธุ์ กลุ่มผู้ต้องขัง กลุ่มผู้ใช้ยา และกลุ่มพนักงานบริการ วัยรุ่น / MSM และ กลุ่ม VCT เมือง

  31. Main Act - MPVCT • การแลกเปลี่ยนเรียนรู้และศึกษาปัจจัยที่นำสู่ความสำเร็จในการส่งเสริม การเข้าถึงบริการปรึกษาฯ ในประชากรเคลื่อนย้ายและเข้าถึงยาก รวมถึงเพิ่มศักยภาพหน่วยบริการสุขภาพในการจัดบริการตรวจหาการติดเชื้อเอชไอวีแบบทราบผลในวันเดียว จากประสพการณ์ของหน่วยงานร่วมดำเนินงานในพื้นที่ระหว่างปี 2553-2556 โดยกลุ่มเป้าหมาย ได้แก่ บุคลากรจากหน่วยบริการที่เข้าร่วมโครงการ จำนวน 46 แห่ง บุคลากรจากสำนักงานสาธารณสุขจังหวัด สำนักงานป้องกันควบคุมโรค 12 เขต และกรุงเทพมหานคร • สนับสนุนงบประมาณสำนักงานป้องกันควบคุมโรค และกรุงเทพมหานคร ในการถ่ายทอดรูปแบบการส่งเสริมการเข้าถึงการปรึกษาและตรวจหาการติดเชื้อเอชไอวีในกลุ่มประชากรเคลื่อนย้ายและกลุ่มเข้าถึงยาก จากหน่วยงานที่เป็นต้นแบบระดับเขต สู่การขยายและการบูรณาการแก่หน่วยงานเครือข่ายในพื้นที่

  32. โครงการเพิ่มประสิทธิภาพการติดตามและการป้องกันการเกิดเชื้อเอชไอวีดื้อต่อยาต้านไวรัสในประเทศไทย (Strengthening the monitoring and prevention system for HIV drug resistance-EWI)

  33. แผนการดำเนินงาน • การวิเคราะห์และนำข้อมูลเบื้องต้นจากข้อมูล NAP ไปใช้ให้เกิดประโยชน์ เพื่อติดตามตัวชี้วัดฯ • การใช้โปรแกรมสำเร็จรูปและใช้ฐานข้อมูล NAP เพื่อประมวลผลสำหรับการติดตามตัวชี้วัดฯ • สร้างเสริมแนวทางการผสานการดำเนินงานการเก็บข้อมูลเพื่อการติดตามตัวชี้วัดฯ เข้าไปในระบบบริการปกติ • พัฒนารูปแบบกิจกรรมการป้องกัน HIVDR โดยการติดตามตัวชี้วัดฯ • พัฒนาแนวทางการป้องกันการเกิดปัญหาเชื้อเอชไอวีดื้อยา • สร้างเสริมความสามารถและศักยภาพของในระดับเขต และจังหวัด เพื่อการวิเคราะห์ตัวชี้วัดฯ • การพัฒนาฐานข้อมูลเชื้อเอชไอวีดื้อยา เพื่อเป็นข้อมูลอ้างอิงในอนาคต • การติดตามความชุกเชื้อเอช ไอ วี ที่ดื้อยาต้านไวรัสก่อนเริ่มรับการรักษา และติดตามอุบัติการณ์การเกิดเชื้อไอวีดื้อยาในผู้เริ่มรับการรักษาด้วยยาต้านไวรัส (Cohort 2013)

  34. กิจกรรมระดับเขต • สร้างเสริมศักยภาพของในระดับโรงพยาบาล จังหวัด และเขต เพื่อการวิเคราะห์ตัวชี้วัดฯ • การพัฒนาทีมระดับโรงพยาบาล จังหวัด และเขต เพื่อให้มีการใช้ประโยชน์จากข้อมูล EWI • การพัฒนารูปแบบการป้องกันการเกิดเชื้อเอชไอวีดื้อต่อยาต้านไวรัสในแต่ละเขต • การเพิ่มศักยภาพการดำเนินงานของหน่วยบริการสุขภาพ ในเนื้อหาที่เกี่ยวข้องกับการเกิดเชื้อเอชไอวีดื้ยา • การติดตามความชุกเชื้อเอช ไอ วี ที่ดื้อยาต้านไวรัสก่อนเริ่มรับการรักษา และติดตามอุบัติการณ์การเกิดเชื้อไอวีดื้อยาในผู้เริ่มรับการรักษาด้วยยาต้านไวรัส (Cohort 2013)

  35. Thank You !

More Related