1 / 18

กินอย่างไรให้ปลอดภัยจาก E-Coli

กินอย่างไรให้ปลอดภัยจาก E-Coli. เสนอ ผู้ช่วยศาสตราจารย์วิชัย บุญเจือ จัดทำโดย นางสาวภาวิณี จินดา รหัส 54520547 คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ ภาค ภาษาอังกฤษ (พิเศษ). สารบัญ. อี.โค. ไล E-Coli.

kimberly
Télécharger la présentation

กินอย่างไรให้ปลอดภัยจาก E-Coli

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. กินอย่างไรให้ปลอดภัยจาก E-Coli เสนอผู้ช่วยศาสตราจารย์วิชัย บุญเจือจัดทำโดยนางสาวภาวิณี จินดา รหัส 54520547คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ ภาค ภาษาอังกฤษ (พิเศษ)

  2. สารบัญ

  3. อี.โค.ไลE-Coli เชื้อ อีโคไล ชื่อทางวิทยาศาสตร์ว่า Escherichia coli หรือ E-Coliเป็น เชื้อแบคทีเรียแกรมลบ (gram negative bacteria GNB) ที่มีความสำคัญในการเกิดโรคในทางเดินอาหาร อยู่ใน วงศ์ (family) Enterobacteriaceae

  4. Escherichia coli

  5. อี.โค.ไลE-Coli (ต่อ) • ซึ่งล้วนแล้วแต่เป็นเชื้อแกรมลบบาซิลไลซ์ที่ก่อให้เกิดโรคในระบบทางเดินอาหาร ได้แก่ Escherichia, Klebsiella, Proteus, Enterobacter , Serratia ,Citrobacter , Morganella , Prowidensia ,Edwardsiella จริงๆแล้วเชื้อ อีโคไล สามารถก่อให้เกิดโรคที่ต่างๆในอวัยวะต่างๆของร่างกายได้ แต่ที่เด่น คือในระบบทางเดินอาหาร

  6. Epidemiology • epidemiologyโดยปกติ ในคนปกติ เราจะไม่พบเชื้อ อีโคไล ในทางเดินอาหาร คนที่จะเกิดอาการ เกิดจากการได้รับเชื้อในปริมาณมากพอ เชื้ออีโคไลที่ก่อให้เกิดโรคทางเดินอาหาร แบ่งเป็นสายพันธ์(strains) หรือ path types 6 ตัวด้วยกันคือ....

  7. Epidemiology (ต่อ) • Shiga toxin producing E.coliหรือ STEC หรือ enter hemorrhagic E.coliหรือ EHEC มีอาการคล้ายบิด อีโคไลพวกนี้ก่อให้เกิดอาการถ่ายปวดบิดและมีเลือดปน • Enter opathogenic E.coliหรือ EPEC • Enter otoxigenic E.coli ETEC • Enter invasive E.coli EIEC • Enter aggregative E.coli EAEC • Diffusely adherent E.coli DAEC

  8. การติดต่อ • ติดต่อโดยการได้รับเชื้อจากการกรับประทาน fecal oral route เชื้อปนเปื้อนในอาหาร หรือน้ำ โดยเฉพาะ กลุ่ม ETEC, STEC ,EIEC , EAEC , DAEC ส่วนการติดต่อโดยการสัมผัสคนสู่คน เกิดใน EPEC และ STEC

  9. เชื้อ อีโคไล ชนิดสร้างชิก้าท๊อกซินShiga toxin producing E.coli STECหรือ EHEC • เชื้อชนิดนี้ เป็นเชื้อในกลุ่มซึ่งสามารถสร้างพิษ หรือ toxin ที่สามารถทำให้เกิดอาการ ลำไส้ใหญ่อักเสบแบบมีเลือดออก (hemorrhagic colitis) หรือ อาการที่เรียกว่า มีเม็ดเลือดแดงแตกและไตวาย Hemolytic Uremic syndrome (HUS) เชื้อนี้มีการระบาดเป็นระยะ เนื่องจากติดผ่านเนื้อ หรือผัก  โดยเฉพาะเนื้อที่ปรุงไม่สุก และมีการระบาดในประเทศที่พัฒนาแล้ว เนื่องจากพฤติกรรมการรับประทาน โดยเฉพาะในกลุ่ม serotype O157:H7 เป็น serotype สำคัญ

  10. เชื้อ อีโคไล ชนิดสร้างชิก้าท๊อกซินShiga toxin producing E.coli STECหรือ EHEC (ต่อ) • เชื้อในกลุ่มนี้มีลักษณะสำคัญ หลายอย่าง อย่างแรกที่สำคัญคือ การสามารถสร้างพิษ หรือ toxin ที่เรียกว่า Shiga toxin Stx2 หรือ Stx1 (เหมือนเชื้อบิด Shigella  ที่เรียกว่า Stx) ซึ่งเป็นลักษณะสำคัญในการก่อโรคของกลุ่มนี้เลยทีเดียว โดยเฉพาะ Stx2 ซึ่งมีความสัมพันธ์ในการก่อโรค HUS พิษแบบ Shiga toxins นี้ จัดอยู่ในกลุ่ม Ribosome-inactivating proteins (RIPs)

  11. เชื้อ อีโคไล ชนิดสร้างชิก้าท๊อกซินShiga toxin producing E.coli STECหรือ EHEC (ต่อ) • ลักษณะอื่น ที่สำคัญ เช่น การทนต่อกรด และความสามารถในการเกาะยึดกับผนังลำไส้หรือ adherence ซึ่งช่วยทำให้การก่อโรคของเชื้อนี้มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น เราค้นพบยีนหรือ จีโมนที่สร้างการเกาะยึดที่เรียกว่า Locus for enterocyte effacement (LEE) จริงๆแล้ว ยีนในตำแหน่ง LEE มีพบใน EPEC ด้วยเช่นกัน และก่อให้เกิดการจับยึดผนังลำไส้  และเชื้อในกลุ่ม STEC ที่มียีนตำแหน่ง LEE นี้ จัดเป็นอีกชื่อหนึ่งว่าเป็น Entero hemorrhagic E.coli EHEC

  12. การแพร่ระบาดและการก่อโรคการแพร่ระบาดและการก่อโรค • อีโคไล พวกนี้ ระบาดในกลุ่มประเทศที่พัฒนาแล้ว ในรูปแบบของอาหารสำเร็จ หรือแพคห่อ เช่นเนื้อ ผัก เชื้อเพียงแค่ น้อยกว่า 1000 CFU ก็สามารถก่อโรคได้ และเมื่อมีการระบาด ในสถานที่บางแห่งเช่น สถานรับเลี้ยงเด็ก ก็อาจก่อให้เกิดการระบาดต่อเป็น secondary infection ได้ • เชื้อ O157 เป็นโรคที่รายงานเป็นอันดับ 4 ของโรคติดเชื้อแบคทีเรียในทางเดินอาหารของสหรัฐ (รองลงมาจาก Campylobacter , Salmonella , และ Shigella) • ระยะการฟักตัว 3-4 วันหลังจากได้รับเชื้อ มีอาการท้องเสีย ในตอนแรก ต่อมาจะมีอาการ STEC syndrome คือ ปวดท้องบิด ถ่ายเป็นมูกปนเลือด หรือเลือดสดๆใน 90% ของคนไข้ ปวดท้อง ตรวจอุจจาระมีเม็ดเลือดขาวปน แต่มักไม่ค่อยมีไข้

  13. การวินิจฉัยแยกโรค ต้องระวังเชื้อเหล่านี้ให้อาการคล้ายๆกันคือ • shigella • Campylobacter • Clostridium difficile • Inflammatory bowel disease ที่ไม่ใช่จากการติดเชื้อ • อาการของโรค STEC จะหายเอง ใน 5-10 วัน

  14. อาการข้างเคียง • อาการข้างเคียงแบบเม็ดเลือดแดงแตก และไตวาย HUS จะเกิดใน 2-14 วันหลังจากมีอาการท้องเสีย อีโคไลใน 2-8% ของคนไข้ โดยเฉพาะในกลุ่มคนอายุน้อย หรือคนแก่ๆ เกิดจากการที่ พิษ Stx กระจายเข้าไปในกระแสเลือด และเกาะกับเม็ดเลือด ไปยังเส้นเลือดเล็กๆของไต และสมอง เกิดลิ่มเลือดอุดตันเล็กๆ ไข้ เกร็ดเลือดต่ำ ไตวาย อาการทางสมอง เช่นชัก ซึม และอาจก่อให้เกิดอาการทางไตหรือสมองอย่างถาวร

  15. การรักษา • การให้สารน้ำอย่างเหมาะสม และยาฆ่าเชื้อ มีประโยชน์อย่างมากในการรักษา อีโคไลหลีกเลี่ยงยาในกลุ่ม loperamide ที่ทำให้หยุดท้องเสีย • ยาฆ่าเชื้อ E.coliในกลุ่ม quinolone พอเพียงสำหรับการรักษา เช่น ciprofloxacin ยาอื่นๆเช่น 3rd generation cephalosporin, amikacin

  16. การป้องกันและทำลายเชื้อการป้องกันและทำลายเชื้อ • เชื้อนี้สามารถป้องกันได้โดย รับประทานอาหารทำสุก สะอาด การทำให้สุกโดยอุณหภูมิมากกว่า 70 องศาเซลเซียสนานกว่า 5 นาที แอลกอฮอล์ หรือยาฆ่าเชื้ออ่อน ก็ฆ่าได้ หมั่นล้างมือให้สะอาด และเมื่อสัมผัสผู้ที่ท้องเสีย อย่าลืมล้างมือให้สะอาด

  17. ที่มา • นพ.กิจการ จันทร์ดา อายุรแพทย์ • http://infectious.thaihealth.net/

  18. จบการนำเสนอThe End! • กลับหน้าหลักHOME

More Related