1 / 39

2. ตลาดแข่งขันไม่สมบูรณ์

2. ตลาดแข่งขันไม่สมบูรณ์. ลักษณะและสาเหตุที่ทำให้ตลาดเป็นตลาดแข่งขันไม่สมบูรณ์ ประเภทของตลาดแข่งขันไม่สมบูรณ์ ปริมาณการผลิตที่เหมาะสมที่สุดของผู้ผลิต 2.1 ตลาดผูกขาด ( Monopoly) 2.2 ตลาดผู้ขายมากราย ( Monopolistic) 2.3 ตลาดผู้ขายน้อยราย (Oligopoly).

margarita
Télécharger la présentation

2. ตลาดแข่งขันไม่สมบูรณ์

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. 2. ตลาดแข่งขันไม่สมบูรณ์ ลักษณะและสาเหตุที่ทำให้ตลาดเป็นตลาดแข่งขันไม่สมบูรณ์ ประเภทของตลาดแข่งขันไม่สมบูรณ์ ปริมาณการผลิตที่เหมาะสมที่สุดของผู้ผลิต 2.1 ตลาดผูกขาด (Monopoly) 2.2 ตลาดผู้ขายมากราย (Monopolistic) 2.3 ตลาดผู้ขายน้อยราย (Oligopoly)

  2. ลักษณะและสาเหตุที่ทำให้ตลาดเป็นตลาดแข่งขันไม่สมบูรณ์ลักษณะและสาเหตุที่ทำให้ตลาดเป็นตลาดแข่งขันไม่สมบูรณ์ • ผู้ซื้อและผู้ขายในตลาดมีส่วนในการกำหนดราคาสินค้า • สินค้ามีความแตกต่างกัน ไม่สามารถใช้แทนกันได้อย่างสมบูรณ์ • แตกต่างกันทางรูปร่าง ขนาด รูปลักษณ์ภายนอก เช่น รถยนต์ • แตกต่างกันในสายตาของผู้ซื้อ เช่น Nokia ดีกว่า Ericson • แตกต่างด้านบริการหรือการส่งเสริมการขาย เช่น ปั้มน้ำมัน • ผู้ซื้อและผู้ขายไม่มีความรู้เกี่ยวกับตลาดอย่างสมบูรณ์ • การเข้าออกจากอุตสาหกรรมไม่ได้เป็นไปอย่างเสรี • การโยกย้ายปัจจัยการผลิตไม่ได้เป็นไปอย่างเสรี

  3. ประเภทของตลาดแข่งขันไม่สมบูรณ์ประเภทของตลาดแข่งขันไม่สมบูรณ์ • หากพิจารณาจากจำนวนผู้ซื้อและจำนวนผู้ขาย สามารถจำแนกได้เป็น • ตลาดผูกขาด เช่น ไฟฟ้า น้ำประปา สัมปทานการเดินรถ • ตลาดผู้ขายมากราย เช่น ร้านเสริมสวย ร้านอาหารตามสั่ง เฟอร์นิเจอร์ สบู่ ผงซักฟอก แป้ง • ตลาดผู้ขายน้อยราย เช่น การให้บริการโทรศัพท์เคลื่อนที่ เบียร์ น้ำอัดลม ธนาคารพาณิชย์ เครื่องดื่มชูกำลัง

  4. ปริมาณการผลิตที่เหมาะสมที่สุดของผู้ผลิตปริมาณการผลิตที่เหมาะสมที่สุดของผู้ผลิต • เส้นอุปสงค์ในทัศนะของหน่วยธุรกิจ • เส้นรายรับหน่วยสุดท้ายของหน่วยธุรกิจ • การหาปริมาณการผลิตที่เหมาะสมที่สุด • Marginal Concept • Total Concept

  5. 1. เส้นอุปสงค์ในทัศนะของหน่วยธุรกิจ • หน่วยธุรกิจแต่ละรายสามารถเปลี่ยนแปลงปริมาณขายให้เพิ่มขึ้นหรือลดลงได้ โดยการเปลี่ยนแปลงราคาสินค้าของตน • ราคาต่ำจะสามารถขายสินค้าได้มาก ในขณะที่ราคาสูงขึ้นจะขายสินค้าได้ลดลง • เส้นอุปสงค์ของผู้บริโภคจะเป็นเส้นที่ลาดลงจากซ้ายลงมาทางขวา และมีค่าความชันเป็นลบ

  6. ความชันของเส้นอุปสงค์ความชันของเส้นอุปสงค์ D2 คือ ตลาดผูกขาด : ความชันค่อนข้างมาก D คือ ตลาดผู้ขายน้อยราย D1คือ ตลาดผู้ขายมากราย : ความชันค่อนข้างน้อย 1. เส้นอุปสงค์ในทัศนะของหน่วยธุรกิจ (ต่อ) P D2 D1 D Q

  7. 2. เส้นรายรับหน่วยสุดท้ายของหน่วยธุรกิจ

  8. 2. เส้นรายรับหน่วยสุดท้ายของหน่วยธุรกิจ (ต่อ) P P 5 5 D 4 • Q = 3 หน่วย จะได้ TR = 15 • Q = 4 หน่วย จะได้ TR = 20 D Q Q 3 4 3 4 • Q = 3 หน่วย จะได้ TR = 15 • Q = 4 หน่วย จะได้ TR = 16

  9. สมมติให้ขายสินค้าที่ OQ หน่วย หา TR = พื้นที่ OPAQ หา ΣMR = พื้นที่OMNQ TR = ΣMR พื้นที่ OPAQ = พื้นที่OMNQ PME = ANE PE = EA MP = AN ME = EN 2. เส้นรายรับหน่วยสุดท้ายของหน่วยธุรกิจ (ต่อ) P, R M E A P N D=AR MR Q O Q1 Q

  10. MR > MC หน่วยธุรกิจมีกำไร MR = MC จุดที่ทำกำไรให้หน่วยธุรกิจมากที่สุด MR < MC หน่วยธุรกิจขาดทุน ณ จุด E ซึ่งเป็นจุดที่ MR = MC มีปริมาณการผลิตเท่ากับ OQ นับเป็นปริมาณการผลิตที่เหมาะสมที่สุด เนื่องจากหน่วยธุรกิจได้รับกำไรรวมสูงที่สุด (พื้นที่แรเงา) 3. การหาปริมาณการผลิตที่เหมาะสมที่สุด : Marginal Concept C, R MC P E D=AR MR Q O Q1

  11. ลักษณะเส้น TR : เป็นเส้นที่เพิ่มขึ้นในอัตราที่ลดลงตามลำดับ มีระดับสูงสุด และลดลงในที่สุด ปริมาณการผลิตที่เหมาะสมที่สุด เป็นปริมาณการผลิตที่ TR มีระยะห่างจาก TC มากที่สุด จากรูป ปริมาณการผลิต OQ หน่วย เป็นปริมาณการผลิตที่ TR ห่างจาก TC มากที่สุด กำไรที่หน่วยธุรกิจได้รับ คือ AB (กำไรสูงสุด) 3. การหาปริมาณการผลิตที่เหมาะสมที่สุด : Total Concept TC C, R A TR B Q O Q

  12. 2.1 ตลาดผูกขาด (Monopoly) ความหมายและลักษณะของเส้นอุปสงค์ ดุลยภาพและเส้นอุปทานในระยะสั้น ดุลยภาพในระยะยาว การผูกขาดภายใต้ข้อบังคับ การแบ่งแยกราคาขาย

  13. ลักษณะของตลาดผูกขาด • มีผู้ขายสินค้าเพียงรายเดียว • ไม่มีสินค้าอื่นทดแทนได้ • ผู้ผลิตรายใหม่จะเข้ามาแข่งขันไม่ได้ หรือเข้าได้ลำบาก

  14. สาเหตุของการเกิดตลาดผูกขาดสาเหตุของการเกิดตลาดผูกขาด • ผู้ผลิตเป็นเจ้าของหรือควบคุมวัตถุดิบในการผลิตสินค้าแต่เพียงผู้เดียว (ธรรมชาติ) • ธุรกิจเป็นเจ้าของลิขสิทธิ์หรือได้รับสัมปทานในการผลิตและจำหน่ายเพียงผู้เดียว (กฎหมาย) • เกิดจากการประหยัดจากขนาดของการผลิต เช่น โรงงานผลิตไฟฟ้า การผลิตที่มีขนาดเล็กจะมีต้นทุนสูงมาก

  15. ลักษณะของเส้นอุปสงค์ จะมีความยืดหยุ่นน้อย (%ΔP>%ΔQ) อุปสงค์ของหน่วยผลิต เป็นเส้นเดียวกับอุปสงค์ของอุตสาหกรรม ความชันบอกถึงอำนาจการผูกขาด ระยะห่างจากแกนตั้งของเส้น AR,MR บอกถึงขนาดหรือความรุนแรงของการผูกขาดในตลาดนี้อีกด้วยนั่นคือ ยิ่งเส้นอุปสงค์มีระยะห่างจากแกนตั้งมากเท่าไหร่ สินค้านั้นยิ่งมีความจำเป็นสำหรับผู้บริโภคมากยิ่งขึ้น ลักษณะของเส้นอุปสงค์ P, R D=AR MR Q O

  16. เกิดขึ้น ณ จุดซึ่งต้นทุนหน่วยสุดท้ายของผู้ผูกขาดในระยะสั้นเท่ากับรายรับหน่วยสุดท้าย (SMC = MR) จากรูป ดุลยภาพในระยะสั้นเกิดขึ้น ณ จุด E โดยผู้ผูกขาดจะผลิตสินค้าออกขายจำนวน OQ หน่วย และขายสินค้าในราคาหน่วยละ OP บาท ดุลยภาพในระยะสั้น C, R SMC P A SAC B C E D=AR= P MR Q O Q

  17. ดุลยภาพในระยะสั้น (ต่อ) • ผู้ผูกขาดมีกำไรเกินปกติ • TR = OPAQ • TC = OCBQ •  = PABC • กำไรหรือขาดทุนของหน่วยธุรกิจขึ้นอยู่กับ ต้นทุนต่อหน่วย (SAC) และ รายรับต่อหน่วย (AR) • การกำหนดปริมาณการผลิตและราคาของหน่วยธุรกิจ จะต้องเลือกกำหนดตัวแปรตัวใดตัวหนึ่งก่อน แล้วปล่อยให้ตัวแปรอีกตัวหนึ่งกำหนดจากเส้นอุปสงค์ของตลาด

  18. จุดที่แสดงความสัมพันธ์ระหว่างราคาและปริมาณเสนอขาย คือ จุด B ซึ่งอยู่บนเส้น AR การหาเส้นอุปทานตลอดทั้งเส้น จะทำได้เมื่อมีการเปลี่ยนแปลงในเส้นอุปสงค์ (AR) หรือเส้นต้นทุนหน่วยสุดท้ายในระยะสั้น (SMC) เส้นอุปทานในระยะสั้น C, R SMC P B A D=AR MR Q O Q

  19. เมื่อมีการเปลี่ยนแปลงในเส้นอุปสงค์ (AR) แต่มีต้นทุนเท่าเดิม จุด A จุดที่แสดงความสัมพันธ์ระหว่างราคาและปริมาณเสนอขายเดิม จุด B จุดที่แสดงความสัมพันธ์ระหว่างราคาและปริมาณเสนอขายใหม่ ดังนั้น เส้นอุปทานของผู้ผูกขาดคือเส้นที่ลากเชื่อมจุด A และจุด B แสดงให้เห็นว่า ราคาสูงขึ้น ผู้ผูกขาดจะนำสินค้าออกมาเสนอขายมากขึ้น SMC AR1 MR1 เส้นอุปทานในระยะสั้นเมื่อมีการเปลี่ยนแปลงในเส้นอุปสงค์ C, R B P2 A P1 MR2 AR2 Q O Q1 Q2

  20. ดุลยภาพในระยะยาว • ในระยะยาวผู้ผูกขาดสามารถได้รับกำไรเกินปกติต่อไปได้ แต่ผู้ผูกขาดจะปรับขนาดการผลิตใหม่ให้เหมาะสมกับสภาพความต้องการสินค้าในตลาด • ปริมาณการผลิตที่เหมาะสมที่สุดอยู่ ณ จุดที่ต้นทุนหน่วยสุดท้ายในระยะยาวเท่ากับรายรับหน่วยสุดท้าย (LMC = MR)

  21. ดุลยภาพในระยะสั้น คือ จุด E1 (SMC1=MR) ผลิตสินค้า OQ1ด้วยขนาดโรงงาน SAC1 TR = OP1A1Q1 TC = OC1B1Q1  = P1A1B1C1 ดุลยภาพในระยะยาว (ต่อ) C, R SMC1 A1 P1 LAC SAC1 B1 C1 E1 AR=D=P MR Q 0 Q1

  22. ดุลยภาพในระยะยาว คือ จุด E(LMC=MR) ผลิตสินค้า OQ ด้วยขนาดโรงงานที่เหมาะสมที่สุด TR = OPAQ TC = OCBQ  = PABC ดุลยภาพในระยะยาว (ต่อ) C, R LMC A P LAC B C AR=D=P E MR Q 0 Q

  23. ดุลยภาพในระยะยาว (ต่อ) C, R LMC SMC1 A1 P1 A P LAC SAC1 C1 B1 B C E1 AR=D=P E MR Q 0 Q1 Q

  24. การผูกขาดภายใต้ข้อบังคับ (Regulated Monopoly) • การผูกขาดก่อให้เกิดประโยชน์ในแง่เศรษฐกิจ เนื่องจากเกิดการประหยัดต่อขนาด • ในตลาดผูกขาด ผู้ผูกขาดอาจเอาเปรียบผู้บริโภคโดยการตั้งราคาสูง หรือการนำสินค้าออกมาขายในปริมาณที่ไม่เพียงพอกับความต้องการของผู้บริโภค • รัฐจึงเข้าควบคุมดูแลการผูกขาด เพื่อป้องกันไม่ให้ผู้ผูกขาดเอาเปรียบผู้บริโภค ซึ่งเรียกว่า การผูกขาดภายใต้ข้อบังคับ โดย

  25. การผูกขาดภายใต้ข้อบังคับ (ต่อ) • ทางตรง (direct control): เป็นการเข้าควบคุมกำหนดราคาสินค้า ซึ่งเท่ากับเป็นการกำหนดปริมาณการผลิตของผู้ผูกขาดไปในตัว • ทางอ้อม (indirect control): เป็นการควบคุมโดยผ่านระบบภาษี ซึ่งรัฐจะปล่อยให้ผู้ผูกขาดกำหนดปริมาณการผลิตและราคาสินค้าโดยเสรี แต่จะเข้าเก็บภาษีจากการจำหน่ายสินค้าดังกล่าว • ภาษีต่อหน่วย • ภาษีเหมาจ่าย

  26. กรณีรัฐไม่เข้าไปควบคุม : ผู้ผูกขาดจะผลิต ณ จุด E TR = OPAQ TC = OCBQ  = PABC ผู้ผูกขาดยังสามารถทำกำไรเกินปกติได้จนถึงปริมาณการผลิต Qg ซึ่งเป็นจุดที่ LAC=AR การควบคุมโดยตรง (Direct Control) C, R LMC P A LAC C B D Pg E D=AR MR Q O Q Qg

  27. การควบคุมโดยตรง (ต่อ) • ปริมาณการผลิตที่ผู้ผลิตได้รับกำไรปกติ นับเป็นปริมาณการผลิตและราคาที่ยุติธรรม (fair quantity an fair price) • ผู้ผลิตได้รับกำไรปกติ ซึ่งเพียงพอที่จะดำเนินธุรกิจต่อไป • ผู้บริโภคสามารถมีสินค้าบริโภคได้มากขึ้นกว่าเดิม ในราคาที่ต่ำลง • ซึ่งการกำหนดราคาเท่ากับต้นทุนเฉลี่ยต่อหน่วย (ได้รับกำไรปกติ) เรียกว่า average cost price C, R LMC P A LAC C B D Pg E D=AR MR Q O Q Qg

  28. การควบคุมโดยอ้อม (indirect control)กรณีของการเก็บภาษีต่อหน่วย • เส้นต้นทุนเฉลี่ยต่อหน่วย และเส้นต้นทุนหน่วยสุดท้าย ของผู้ผูกขาดจะเคลื่อนสูงขึ้นหน่วยละเท่าๆกัน เท่ากับภาษีต่อหน่วยที่เรียกเก็บ C, R LMCT LMC A1 Pg A LACT P LAC B1 C1 B C E1 AR=D=P E MR Q 0 Q Q1

  29. การควบคุมโดยอ้อม:กรณีของการเก็บภาษีต่อหน่วย (ต่อ) • เดิมต้นทุนของผู้ผูกขาดเท่ากับ LAC และ LAC ผู้ผูกขาดจะกำหนดการผลิต ณ จุด E (LMC=MR) ปริมาณการผลิต OQ หน่วย และขายราคาหน่วยละ OP บาท • เมื่อรัฐเข้าควบคุมการผูกขาดโดยการเก็บภาษีต่อหน่วย ต้นทุนของผู้ผูกขาดเท่ากับ LACTและ LMCTโดยผู้ผูกขาดจะกำหนดปริมาณการผลิตใหม่ที่จุด E1 (LMCT=MR) ปริมาณการผลิต OQg หน่วย และขายราคาหน่วยละ OPg บาท • กำไรของผู้ผูกขาดจะลดลง

  30. การควบคุมโดยอ้อม : กรณีของการเก็บภาษีเหมา • ต้นทุนของผู้ผูกขาดเพิ่มขึ้นในลักษณะเดียวกับการเพิ่มขึ้นของต้นทุนคงที่ ดังนั้น ต้นทุนต่อหน่วยจะเพิ่มขึ้นในจำนวนที่ลดลงเมื่อปริมาณการผลิตเพิ่มขึ้น (ภาษีเฉลี่ยต่อหน่วยลดลง) • ลักษณะของเส้น LACTจะเลื่อนสูงขึ้นจากเส้น LAC เดิม แต่ระยะห่างจะค่อยๆ ลดลง • ลักษณะของเส้น LMC จะไม่เปลี่ยนแปลง เนื่องจากต้นทุนหน่วยสุดท้ายไม่มีความสัมพันธ์กับต้นทุนคงที่

  31. การควบคุมโดยอ้อม : กรณีของการเก็บภาษีเหมา (ต่อ) C, R LMC A P LACT B1 C1 LAC B C AR=D=P E MR Q 0 Q

  32. การควบคุมโดยอ้อม : กรณีของการเก็บภาษีเหมา (ต่อ) • เดิมต้นทุนของผู้ผูกขาดเท่ากับ LAC และ LAC ผู้ผูกขาดจะกำหนดการผลิต ณ จุด E (LMC=MR) ปริมาณการผลิต OQ หน่วย และขายราคาหน่วยละ OP บาท • เมื่อรัฐเข้าเก็บภาษีเหมา ต้นทุนของผู้ผูกขาดเท่ากับ LACTและ LMC ผู้ผูกขาดจะยังคงกำหนดปริมาณการผลิตที่จุด E (LMC=MR) ปริมาณการผลิต OQ หน่วย และขายราคาหน่วยละ OP บาท • กำไรของผู้ผูกขาดจะลดลง

  33. สรุปผลของการควบคุมโดยอ้อมสรุปผลของการควบคุมโดยอ้อม • การเก็บภาษีต่อหน่วย : LAC& LMC ของผู้ผูกขาดจะเคลื่อนสูงขึ้นหน่วยละเท่าๆกัน เท่ากับภาษีต่อหน่วยที่เรียกเก็บ • ราคาสินค้าเพิ่มสูงขึ้น • ปริมาณการผลิตลดลง • กำไรของผู้ผูกขาดลดลง • การเก็บภาษีเหมา : LACจะเลื่อนสูงขึ้นจากเส้นเดิม แต่ระยะห่างจะค่อยๆ ลดลง แต่LMC จะไม่เปลี่ยนแปลง • ราคาสินค้าและปริมาณการผลิตไม่เปลี่ยนแปลง • กำไรของผู้ผูกขาดลดลง

  34. การแบ่งแยกราคาขาย (price discrimination) • เป็นการกำหนดราคาสินค้าชนิดเดียวกัน สำหรับกลุ่มผู้ซื้อกลุ่มต่างๆ ในราคาที่แตกต่างกัน โดยผู้ซื้อกลุ่มหนึ่งจะตั้งราคาสูง และอีกกลุ่มหนึ่งจะตั้งราคาต่ำ • ยกตัวอย่างเช่น การให้บริการ Fitness KKU การซื้อบัตรเข้าชมการแสดงละคร การซื้อตั๋วเครื่องบิน

  35. การแบ่งแยกราคาขาย (ต่อ) • ผู้ผลิตจะทำการแบ่งแยกราคาขายได้ ก็ต่อเมื่อ • ผู้ผลิตต้องมีอำนาจผูกขาดอย่างเต็มที่ • ผู้ผลิตจะต้องสามารถแยกผู้ซื้อออกเป็นกลุ่มๆ ได้ โดยผู้ซื้อแต่ละกลุ่มจะมีค่าความยืดหยุ่นของอุปสงค์ที่แตกต่างกัน • กรณีสินค้าเหมือนกันทุกประการ ผู้ผลิตจะต้องสามารถป้องกันไม่ให้เกิดการขายซ้ำ

  36. การแบ่งแยกราคาขาย (ต่อ) C, R C, R C, R MC P1 P2 AR2=d2 MR AR=D AR1=d1 MR2 MR1 Q Q Q 0 Q1 Q2 Q

  37. การแบ่งแยกราคาขาย (ต่อ) • ผู้ผูกขาดสามารถแบ่งผู้ซื้อออกเป็น 2 กลุ่ม คือ • กลุ่มที่มีความยืดหยุ่นของอุปสงค์ต่อราคาสินค้าค่อนข้างต่ำ • กลุ่มที่มีความยืดหยุ่นของอุปสงค์ต่อราคาสินค้าค่อนข้างสูง • ผู้ผูกขาดจะกำหนดปริมาณการผลิตที่ MC=MR ปริมาณการผลิต OQ หน่วย ผู้ผลิตจะแบ่งสินค้าขายในแต่ละตลาดจนกระทั่งรายรับเพิ่มของแต่ละตลาดเท่ากันพอดี (MR1 = MR2) • แบ่งสินค้าไปขายในตลาดที่ 1 จำนวน OQ1 หน่วย • แบ่งสินค้าไปขายในตลาดที่ 2 จำนวน OQ2 หน่วย

  38. การแบ่งแยกราคาขาย (ต่อ) • การตั้งราคาขายที่แตกต่างกันสำหรับกลุ่มผู้บริโภคที่แตกต่างกัน จะทำให้ได้รับกำไรรวมมากกว่าการตั้งราคาขายเพียงราคาเดียว • ผู้ผลิตจะแบ่งสินค้าขายในแต่ละตลาดจนกระทั่งรายรับเพิ่มของแต่ละตลาดเท่ากันพอดี (MR1 = MR2) หาก MR1 > MR2 ผู้ผลิตจะเคลื่อนย้ายสินค้าจากตลาดที่ 2 ไปตลาดที่ 1 • ข้อสังเกต: ราคาในตลาดที่มีความยืดหยุ่นของอุปสงค์ต่ำจะมีราคาสูงกว่าตลาดที่มีความยืดหยุ่นของอุปสงค์สูง

  39. การกำหนดราคาลำเอียง รายรับ รายรับ ต้นทุน&รายรับ 12 MC 7 6 5 4 ΣD1+D2 2 MC MR1 D1 D2 MR2 ΣMR1+MR2 50 40 90 ปริมาณสินค้า TR= 350 TC = 100  = 250 TR= 160 TC = 80  = 80 TR= 450 TC = 180  = 270 >

More Related