1 / 34

ยุทธศาสตร์แผนปฏิบัติการพลังแผ่นดิน เอาชนะยาเสพติด ระยะที่ 3 ปี พ.ศ. 2557

ยุทธศาสตร์แผนปฏิบัติการพลังแผ่นดิน เอาชนะยาเสพติด ระยะที่ 3 ปี พ.ศ. 2557. การประชุม ศพส.จ.เชียงราย เพื่อ จัดทำแผนปฏิบัติการพลังแผ่นดินฯ ประจำปี ๒๕๕๗ วันพฤหัสบดีที่ ๓ ตุลาคม ๒๕๕๖ เวลา ๐๙๓๐ น. ณ ห้องประชุมพญาพิภักดิ์ ศาลากลางจังหวัดเชียงราย. หลักคิด. มุ่งเน้นการบริหารแผน

suki-stuart
Télécharger la présentation

ยุทธศาสตร์แผนปฏิบัติการพลังแผ่นดิน เอาชนะยาเสพติด ระยะที่ 3 ปี พ.ศ. 2557

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. ยุทธศาสตร์แผนปฏิบัติการพลังแผ่นดิน เอาชนะยาเสพติด ระยะที่ 3 ปี พ.ศ.2557 การประชุม ศพส.จ.เชียงราย เพื่อจัดทำแผนปฏิบัติการพลังแผ่นดินฯ ประจำปี ๒๕๕๗ วันพฤหัสบดีที่ ๓ ตุลาคม ๒๕๕๖ เวลา ๐๙๓๐ น. ณ ห้องประชุมพญาพิภักดิ์ ศาลากลางจังหวัดเชียงราย

  2. หลักคิด มุ่งเน้นการบริหารแผน ภายใต้ 7 แผนงานหลักต่อเนื่อง เน้นการทำงานคุณภาพเป็นหลัก โดยจังหวัดบูรณาการ ทั้งเป้าหมายและแผนงาน/โครงการ ภายใต้พื้นที่หมู่บ้านและชุมชนเป็นหลัก

  3. สรุปสถานภาพดำเนินงานกับสภาพปัญหายาเสพติดสรุปสถานภาพดำเนินงานกับสภาพปัญหายาเสพติด การดำเนินงานบรรลุตามเป้าหมาย 100 % ในภาพรวม แต่ สภาพปัญหายาเสพติด ยังมีความรุนแรงดำรงอยู่ ยังไม่ลดลงอย่างชัดเจน

  4. ภาพจำลองศักยภาพและข้อจำกัดภายใต้จุดเน้นหนักในปัจจุบันภาพจำลองศักยภาพและข้อจำกัดภายใต้จุดเน้นหนักในปัจจุบัน ผู้ค้า ผู้เสพ ระบบรองรับ สถานบำบัด/เรือนจำ

  5. ผลการดำเนินรอบ 5 ปี เปรียบเทียบ (วาระแห่งชาติ)

  6. ทางเลือกนโยบาย -ต้องปรับกรอบคิด-กระบวนทัศน,ความเคยชินเดิม ได้หรือไม่ อย่างไร ตัดทางใหม่ -ลดปัญหา -มีทางเลือกใหม่ ทางสายเดิม -ต้องเผชิญกับปัญหาเดิม ที่เรื้อรังและซ้ำซาก

  7. ยุทธศาสตร์ฯระยะที่ 3 ปี 2557 ต้องการแก้โจทย์ใหญ่ที่เป็นข้อจำกัดดังกล่าว สาระสำคัญ..16..ประการ

  8. คุณภาพ(Quality)

  9. ประการที่ 1 การวางกรอบความคิดทางยุทธศาสตร์ วางฐานคิดใหม่ ต่อเนื่อง คุณภาพ จะไม่เน้นงานเชิงปริมาณแต่จะสร้างงานคุณภาพ 6 ฐานคิด -ต่อเนื่องจากการแก้ไขปัญหาในปี 2556 ทำถึงไหนต่อจากนั้น

  10. 6 ฐานคิดสำคัญ Paradigm ครบวงจรด้านการบำบัด เน้นการติดตาม พื้นที่กำหนดด้วยตนเองส่วนกลางให้กรอบ ป้องกันเชิงรุก ตัดวงจรรายใหม่ (Comprehensive) (Bottom-up) (Prevention) ปราบปรามข่ายงาน ตัดวงจรการเงิน/ตัวการ เชิงรุกนอกประเทศ เปิดทางเลือกใหม่ เบี่ยงจากทางหลัก (Offensive) (Diversion) (Attitude) จาก 6 ฐานคิด สร้าง 10 จุดเน้น

  11. ประการที่ 2 การกำหนดงานเชิงคุณภาพ การวางกระบวนการดำเนินงานการแก้ไขปัญหา โดยเน้นคุณภาพเป็นหลัก ไม่ควรก่อการปฏิบัติใดๆ ที่จะเป็นการทำงานแบบเชิงปริมาณ เพื่อให้บรรลุตัวเลขเป้าหมาย โดยทุกแผนจะมีตัวชี้วัดเชิงคุณภาพเป็นสำคัญ

  12. ประการที่ 3 • กำหนดให้จังหวัดกำหนดเป้าหมายดำเนินงานของตนเอง จะไม่กำหนดจากส่วนกลาง โดย • ส่วนกลางจัดส่งข้อมูลปัญหาเป็นแนวทาง จังหวัด พื้นที่เป็นผู้ตัดสินใจ (ยุติที่จังหวัด) • จังหวัดกำหนดเป้าหมายดำเนินงานให้สอดคล้องกับการลด/ควบคุมปัญหาในจังหวัด • จังหวัดพิจารณากำหนดงานเชิงคุณภาพ ไม่ควรกำหนดงานเชิงปริมาณ • จังหวัดปรับ Paradigm ใหม่ สร้างระบบที่สมดุล

  13. ประการที่ 4 กำหนดการแก้ปัญหาให้สมดุลกับการรองรับของระบบ ปรับลดการแก้ปัญหาที่ทำให้ระบบอยู่ในภาวะล้นเกิน จนขาดประสิทธิภาพ เพราะไม่ทำให้เกิดการแก้ไขปัญหาได้อย่างแท้จริง ดังปรากฎการณ์ นักโทษล้นคุก ผู้เสพล้นระบบบังคับบำบัด จับมาก

  14. ประการที่ 5 การเปิดทางเลือก(Diversion) เพื่อเบี่ยงโดยการนำผู้มีพฤติการณ์ด้านยาเสพติดเข้าทางเลือกใหม่แทนเข้าระบบจับกุมและบังคับบำบัดฯ ซึ่งอยู่ในภาวะล้นระบบ โดย: -พัฒนาประสิทธิภาพวิทยากรกระบวนการ -เสริมทักษะการทำประชาคมหมู่บ้าน -การทำโครงการทำความดีเพื่อแผ่นดิน -Diversion ในขั้นตอนของศาล ฯลฯ -การเปิดระบบบำบัดฯสมัครใจให้กว้างขึ้น -การลดทอนความเป็นอาชญากรรม (Decriminalization)

  15. ประการที่ 6 จังหวัดจะต้อง X-Ray ค้นหาพื้นที่ที่ยังคงปัญหายาเสพติดในเกณฑ์สูง และกำหนดเป็นเป้าหมายเร่งด่วนที่จะลดระดับปัญหาได้อย่างเป็นรูปธรรม (ด้วยใจเป็นกลางและยอมรับในข้อเท็จจริง) ค้นพบแล้ว ให้กำหนดมาตรการ ปฏิบัติการ การจัดกำลัง ให้บังเกิดผลเป็นจริง เขตเทศบาลนคร/เทศบาลเมืองเขตเมืองใหญ่

  16. ประการที่ 7 จังหวัดพิจารณาประเมินสถานภาพระดับปัญหายาเสพติดในหมู่บ้าน/ชุมชน ที่ประมวลจากส่วนกลาง เพื่อไปตรวจสอบถึงความถูกต้อง สอดคล้องกับระดับของปัญหา ก่อนกำหนดการดำเนินการอย่างต่อเนื่อง ต่อไป ตามหลักการ จังหวัดเป็นผู้ตัดสิน ส่วนกลางเป็นผู้ชี้แนว

  17. ประการที่ 8 ปรับระบบ DEMAND ให้สมดุลและมีประสิทธิภาพครบวงจร เสริมการดำเนินงานเชิงคุณภาพในกระบวนการบำบัดในขั้นตอนต่างๆโดย : -ทุกจังหวัดทบทวนค่ายปรับเปลี่ยนฯควรคงไว้หรือไม่ เท่าใด และพัฒนาค่ายที่ระบุว่าจะคงไว้ -พัฒนาระบบบำบัดฯสมัครใจของ สธ. ทั้ง ร.พ./รพ.สต. ให้มีประสิทธิภาพ รองรับจำนวน ผู้เสพได้ -ส่งเสริมชุมชน ครอบครัว มีบทบาทด้าน DEMAND -คงและพัฒนาการจำแนกคัดกรองให้มีคุณภาพ -ติดตามผู้ผ่านบำบัดฯในรอบ 2 ปี เน้นช่วยเหลือ ในการกลับสู่ปกติ

  18. ส่งเสริมการติดตามให้ครบ 4 ครั้ง งานคุณภาพ

  19. ประการที่ 9 • ยุทธศาสตร์ป้องกัน เป็นงานเชิงรุกที่มุ่งไปสู่การตัดวงจรรายใหม่ • โดยกำหนด 4 ป้องกันระดับสำคัญ คือ • ป้องกันเด็กก่อนวัยเสี่ยง ป.4-ป.6 (2.5 ล้านคน) โดยใช้ครูในโรงเรียนเป็นหลัก หน่วยภายนอกเสริม • ป้องกันโดยใช้ครอบครัว • ป้องกันโดยจัดตั้งชุดปฏิบัติการแบบเคลื่อนที่ (Mobile Team) เข้ารณรงค์ป้องกันในพื้นที่เป้าหมาย • ป้องกันโดยจัดระเบียบสังคม ควบคุมปัจจัยเสี่ยง (เน้นในโรงเรียนเป้าหมาย)

  20. ประการที่ 10 ปรับทัศนคติงานปราบปรามใหม่ทั่วประเทศ โดยมุ่งเน้นการทำลาย บั่นทอนเครือข่ายการค้า การจับกุมขยายผล การใช้มาตรการสมคบ ริบทรัพย์ การสืบสวนและทำลายรากฐานทางการเงิน การยึดทรัพย์สิน แบบบูรณาการ การจัดตั้ง Task Force การปราบปรามโครงสร้าง การค้าแพร่ระบาดในชุมชน จัดชุดและอบรม ทั่วประเทศ

  21. ประการที่ 11 ให้ความสำคัญการพิจารณากำหนดพื้นที่เป้าหมาย ที่ปัญหายาเสพติดเกี่ยวพันกับการเกิดอาชญากรรม เพื่อลดปัญหาความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ของคนในสังคม (ป้องกันอาชญากรรมอันเกิดจาก ยาเสพติด)

  22. ประการที่ 12 การดำเนินงานเชิงรุกนอกประเทศ ตามยุทธศาสตร์อาเซียน ปลอดยาเสพติด 2558

  23. ประการที่ 13 • การปรับระบบบริหารจัดการ ศพส.จ. • การบรรจุกำลังพล • การประชุมติดตามงาน • ห้อง WARROOM • การบูรณาการงบประมาณ ฯลฯ

  24. ประการที่ 14 ขยายแนวความคิด ชุมชนอุ่นใจฯ ชุมชนอุ่นใจฯ สายตรวจอุ่นใจฯ ห้องเรียนอุ่นใจฯ ครอบครัวอุ่นใจฯ โดยให้ทุกจังหวัดกำหนดเป้าหมายการปฏิบัติอย่างชัดเจน

  25. ประการที่ 15 • กำหนดแผนปฏิบัติการ ปี 57 ขอให้พิจารณา 2 ประเด็นสำคัญ คือ • (1) กำหนดให้ไตรมาสแรก หรือ 4 เดือนแรก ให้มีกิจกรรมการเตรียมความพร้อมหรือพัฒนาระบบ กลไก บุคลากร เพื่อให้เกิด Output เชิงคุณภาพในด้านต่างๆ เช่น • การประเมินค่ายปรับเปลี่ยนพฤติกรรมฯอำเภอ • การพัฒนาครูผู้สอนเพื่อการป้องกัน • การพัฒนาวิทยากรกระบวนการ • การอบรมชุดปราบฯเพื่อปรับทัศนคติใหม่ • การทำข้อตกลงด้านการปราบปรามฯ • (2) การระบุห้วงปฏิบัติการให้ชัดเจนใน 6 เดือนแรก

  26. ประการที่ 16ข้อแนะนำการจัดทำแผนจังหวัดปี 57 • ประเมินสถานการณ์ปัญหาและขอบเขตปัญหาอย่างแท้จริง • กำหนดเป้าหมายดำเนินการให้สอดคล้องกับสภาพและระดับของปัญหา • กำหนดแนวทางสมดุล แก้ไขปัญหาล้นเกิน • กำหนดช่วงเวลาปฏิบัติให้ชัดเจน ใช้ 4 เดือนแรกเป็นการเตรียมการ จัดระบบ สร้างความพร้อมพัฒนาคน • สร้างกิจกรรมต่อเนื่อง “ทำถึงไหน ต่อจากตรงนั้น” • บูรณาการแผน/งบประมาณ ให้สอดรับชัดเจน • มีการรายงานผลตามโปรแกรม ตามห้วงเวลา

  27. งบประมาณรายจ่ายฯ ปีงบประมาณ ๒๕๕๗ ๑,๓๙๐,๖๓๓,๐๐๐ บาท (งบประจำ) ๑,๖๕๑,๓๒๙,๓๐๐ บาท (งบปฏิบัติการ) ๓,๔๒๘,๔๕๙,๐๐๐ บาท (งบปฏิบัติการ) ๒,๘๕๗,๔๐๕,๐๐๐ บาท (งบปฏิบัติการ) ๑,๐๔๓,๙๙๕,๔๐๐ บาท (งบประจำ) ๙ กระทรวง/๒๖ หน่วยงาน งบประมาณทั้งสิ้น ๑๐,๓๗๑,๘๒๑,๗๐๐ บาท งบประจำ จำนวนทั้งสิ้น ๒,๔๓๔,๖๒๘,๔๐๐ บาท (ร้อยละ ๒๓.๔๗) งบที่ใช้ ในการปฏิบัติการ จำนวนทั้งสิ้น ๗,๙๓๗,๑๙๓,๓๐๐ บาท (ร้อยละ ๗๖.๕๓)

  28. งบประมาณที่ใช้แก้ไขปัญหายาเสพติดในจังหวัด/กทม.งบประมาณที่ใช้แก้ไขปัญหายาเสพติดในจังหวัด/กทม. งบจากส่วนกลาง งบของท้องถิ่น งบพัฒนา จังหวัด ราชการ ภาค ประชาชน อุดหนุน ดำเนินการเอง จัดสรรให้ ส่วนราชการ ในสังกัด ศพส.จ./กทม. ปปส.ภาค/กทม. ศพส.อ./ข. โครงการ ตาม แผนของ ท้องถิ่น องค์กรมูลนิธิ แผนปฏิบัติการจังหวัด/กทม. โครงการเงินอุดหนุน อำเภอ...หมู่บ้าน/ชุมชน เป้าหมาย

  29. การจัดสรรงบประมาณยาเสพติดการจัดสรรงบประมาณยาเสพติด หน่วยระดับภาค/เขต: กองทัพภาค 1-4 กองเรือภาค 1-3/... บก.สส.(บางหน่วย) ทัณฑสถาน (บางพื้นที่) ปปส.ภาค/กทม. หน่วยระดับภาค/เขต: ศูนย์สุขภาพจิต กรมการแพทย์ ศูนย์วิทยาศาสตร์การแพทย์ กอ.รมน.ภาค 1-4 (สย.) กองทัพภาค 1-4 องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ศพส.จ. งบของจังหวัด ศพส.อ. หมู่บ้าน/ชุมชน

  30. การบริหารจัดการงบปี ๒๕๕๗ จะยึดตามแผนปฏิบัติการ พลังแผ่นดิน เอาชนะยาเสพติด ระยะที่ ๓ ปี ๒๕๕๗ เป็นหลักในการดำเนินงาน โดยมีกรอบดังนี้ ๑. กรอบความคิดทางยุทธศาสตร์ ระยะที่ ๓ ปี ๒๕๕๗ ยังคงยึดกรอบความคิดทางยุทธศาสตร์ ในปี ๒๕๕๖ ๓ ยุทธศาสตร์ คือ ยุทธศาสตร์ต่อเนื่อง คือ ต่อเนื่องในยุทธศาสตร์การใช้พลังแผ่นดิน ยืนยันที่จะขับเคลื่อนโดย ๗ แผนงานหลักเช่นเดิม และต่อเนื่องจากงานที่ทำ ในปี ๒๕๕๖ ยุทธศาสตร์ป้องกัน คือ ป้องกันรายใหม่ ป้องกันพื้นที่ ป้องกันการมีพฤติการณ์ซ้ำ และ ป้องกันชุมชน เพื่อตัดวงจรการเกิดรายใหม่ให้มากที่สุด ยุทธศาสตร์เสริมสร้าง คือ เสริมสร้างมาตรการ องค์กร กลไกให้มีประสิทธิภาพ เสริมสร้างงานรองรับประชาคมอาเชียนฯ ปี ๒๕๕๘ ๒. กรอบความคิดการแก้ไขปัญหาโดยเน้นคุณภาพ โดยให้ กระบวนการแก้ไขปัญหาอย่างมี คุณภาพ เป็นกรอบความคิดอยู่ในทุกแผนงาน กิจกรรมการแก้ไขปัญหายาเสพติด เพื่อให้เกิดความยั่งยืน สามารถแก้ไขปัญหาได้อย่างแท้จริง **ในปี ๒๕๕๗ ยึดกรอบความคิดยุทธศาสตร์ คือ QUALITY/คุณภาพของการแก้ไขปัญหา**

  31. ปฏิทินการทำแผนปฏิบัติการปฏิทินการทำแผนปฏิบัติการ

  32. ปฏิทินการทำแผนปฏิบัติการปฏิทินการทำแผนปฏิบัติการ

  33. การผลิตยาเสพติด ภายนอกประเทศ การลักลอบนำเข้า-ส่งออกยาเสพติด/เคมีภัณฑ์ ตามแนวชายแดน ชนเผ่า ประชากรแฝง การฟอกเงิน/ ธุรกรรมการเงินผิดกฎหมาย การลำเลียงยาเสพติด ไปสู่พื้นที่ตอนใน/ Logistic การแพร่ระบาดในกลุ่มเสี่ยง สถานการณ์ปัญหายาเสพติดที่สำคัญของจังหวัดเชียงราย

  34. จบนำเสนอ

More Related