1 / 51

QA : Quality Assurance มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน

QA : Quality Assurance มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน. โครงการปฐมนิเทศข้าราชการพลเรือนสายสนับสนุน ณ คลองทรายรีสอร์ทเขาใหญ่ ปากช่อง นครราชสีมา วันที่ 26 มิถุนายน 2556. Limkaisang,Ph.D. มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน กับระบบการประกันคุณภาพการศึกษา. RMUTI – Quality Assurance

tien
Télécharger la présentation

QA : Quality Assurance มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. QA : Quality Assurance มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน โครงการปฐมนิเทศข้าราชการพลเรือนสายสนับสนุน ณ คลองทรายรีสอร์ทเขาใหญ่ ปากช่อง นครราชสีมา วันที่ 26 มิถุนายน 2556

  2. Limkaisang,Ph.D. มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน กับระบบการประกันคุณภาพการศึกษา RMUTI – Quality Assurance (ISO 9001:2008)

  3. การประกันคุณภาพการศึกษาการประกันคุณภาพการศึกษา พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2542 แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ.2545 หมวด 5 ว่าด้วยการบริหารและการจัดการศึกษา -มาตรา 31ให้กระทรวงศึกษามีอำนาจเกี่ยวกับการส่งเสริมและกำกับ ดูแลการศึกษาทุกระดับ โดยกำหนดนโยบาย แผนและมาตรฐานการศึกษา -มาตรา 34ให้คณะกรรมการการอุดมศึกษาจัดทำมาตรฐานการอุดมศึกษาที่สอดคล้องตามแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ และสอดคล้องกับมาตรฐานการศึกษาชาติ

  4. การประกันคุณภาพการศึกษาการประกันคุณภาพการศึกษา พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2542 แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ.2545 หมวด 6 กำหนดให้มีระบบการประกันคุณภาพการศึกษา ประกอบด้วย -การประกันคุณภาพภายในเป็นการสร้างระบบและกลไกในการควบคุม ตรวจสอบและประเมินการดำเนินการของสถานศึกษาให้เป็นไปตามเป้าหมายและคุณภาพตามมาตรฐานที่หน่วยงานกำหนด -การประกันคุณภาพภายนอกเป็นการติดตาม ตรวจสอบและประเมินคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา โดยสำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์กรมหาชน)

  5. มาตรฐานการศึกษาของชาติมาตรฐานการศึกษาของชาติ (พ.ร.บ.การศึกษาแห่งชาติ 2542 แก้ไขฉบับ 2,2545) มาตรฐานที่ 1:คุณลักษณะของคนไทยที่พึงประสงค์ มาตรฐานที่2:แนวทางการจัดการศึกษา มาตรฐานที่3:แนวทางสร้างสรรค์ สังคมแห่งการเรียนรู้/ความรู้ มาตรฐาน การอุดมศึกษา มาตรฐานด้านคุณภาพบัณฑิต มาตรฐานด้านการบริหารจัดการอุดมศึกษา มาตรฐานด้านการสร้างสังคมฐานความรู้และสังคมแห่งการเรียนรู้ หลักเกณฑ์กำกับมาตรฐานรวมถึงกรอบมาตรฐานคุณวุฒิ การประกันคุณภาพภายใน ภายใต้ตัวบ่งชี้ตามองค์ประกอบคุณภาพ 9 ด้าน ผลผลิตทางการศึกษาที่ได้คุณภาพและมาตรฐาน การประกันคุณภาพการศึกษา

  6. การประกันคุณภาพการศึกษาการประกันคุณภาพการศึกษา • การพัฒนาระบบและกลไกการประกันคุณภาพภายใน • ระบบการประกันคุณภาพ สถานศึกษาสามารถพัฒนาให้สอดคล้องกับระดับการพัฒนาของสถาบัน ซึ่งแพร่หลายในระดับชาติหรือนานาชาติหรือระบบที่สถาบันพัฒนาเอง โดยทุกระบบต้องอยู่ในวงจรคุณภาพภายใต้กรอบ PDCA • มาตรฐาน ตัวบ่งชี้และเกณฑ์ประเมินคุณภาพจะอยู่ในทุกองค์ประกอบคุณภาพทั้ง 9 ด้าน ที่สามารถวัดคุณลักษณะที่พึงประสงค์ ตามมาตรฐานอุดมศึกษาและเกณฑ์อื่นๆ เช่น สมศ., ก.พ.ร. (เป้าหมายคุณภาพ) • กลไกการประกันคุณภาพ โดยผู้บริหารต้องให้ความสำคัญและกำหนดนโยบายการประกันคุณภาพอย่างชัดเจนและเข้าใจร่วมกันทุกระดับ • ระบบฐานข้อมูลและสารสนเทศ เพื่อใช้วิเคราะห์และวัดผลการดำเนินการ

  7. การประกันคุณภาพภายใน การประกันคุณภาพภายนอก การปฏิบัติงานของสถาบัน การประเมินตนเองสถาบัน รายงานประจำปี การตรวจเยี่ยม รายงานผลการประเมิน การติด ตามผล ข้อมูลป้อนกลับ ข้อมูลป้อนกลับ การประกันคุณภาพการศึกษา ความสัมพันธ์ระหว่างการประกันคุณภาพภายในและการประกันคุณภาพภายนอก

  8. การพัฒนาระบบราชการไทยการพัฒนาระบบราชการไทย แผนยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบราชการไทย (พ.ศ.2546-2550) มีเป้าประสงค์หลัก 4 ประการ • การพัฒนาคุณภาพการให้ บริการประชาชนดีขึ้น • การปรับบทบาท ภารกิจและขนาดให้มีความเหมาะสม • การยกระดับขีดความสามรถ การทำงานตามมาตรฐานสากล • การตอบสนองต่อการบริหารปกครองในระบอบประชาธิปไตย KPI

  9. การพัฒนาระบบราชการไทยการพัฒนาระบบราชการไทย พ.ร.ฎ.ว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ.ศ.2546 ประกอบด้วย 3 มาตรา • มาตรา 21 (สาระสำคัญ): ให้ส่วนราชการจัดทำบัญชีต้นทุนในงานบริหารสาธารณะแต่ละประเภทและรายจ่ายต่อหน่วยของบริการสาธารณะ… • มาตรา 22 (สาระสำคัญ): ให้ สศช. และ สงป. ร่วมกันจัดให้มีการประเมินความคุ้มค่าในการปฏิบัติภารกิจของรัฐที่ส่วนราชการดำเนินการอยู่… • มาตรา 23 (สาระสำคัญ): การจัดซื้อจัดจ้างจะต้องกระทำการโดยเปิดเผยและเที่ยงธรรม โดยจะต้องชั่งน้ำหนักถึงผลประโยชน์และผลเสียต่อสังคม…. KPI

  10. การบริหารงานที่มุ่งผลสัมฤทธิ์ (Results Based Management : RBM) กระบวนการบริหารงานภาครัฐ ระบบงบประมาณแบบมุ่งเน้นตามยุทธศาสตร์ (Strategic Performance Budgeting : SPB) การพัฒนาระบบราชการไทย

  11. มิติแผนงาน ระบบสารสนเทศ มิติกองทุน มิติหน่วยงาน การพัฒนาระบบบัญชี 3 มิติ

  12. 1. ระบบคุณภาพ 5 ส 2. ระบบ ISO 9001:2008 3. ระบบคุณภาพ PMQA 4. ระบบ งปม.PART 5. กรอบมาตรฐาน สกอ. ระบบประกันคุณภาพและมาตรฐานการศึกษา

  13. Input Process Output Outcome 1. ประเมินภายใน 9 องค์ประกอบ 2. ประเมินภายนอก 7 มาตรฐาน 3. รายงาน กพร. ใน 4 มิติ 4. รายงานประจำปี PART (สงป.) 5. รายงานยุทธศาสตร์พัฒนาฯ ประจำปี 6. ฐานข้อมูลเพื่อการบริหาร ระบบ 5 ส ระบบ ISO ระบบ PMQA TQF : HEd QA : Quality Assurance มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน

  14. A P C D RMUTI QA ระบบ 5 ส ISO 9001:2008 ระบบบริหารนโยบาย การแก้ไขปรับปรุง ทำให้เกิดมาตรฐาน SAR (มหาวิทยาลัย/สมศ.) SAR (กพร.) DATA

  15. ข้อกำหนดในมาตรฐาน ISO 9001:2008 1. ขอบข่าย (Scope) 2. เอกสารอ้างอิง (Normative reference) 3. นิยามและคำจำกัดความ (Terms and definitions) 4. ระบบบริหารคุณภาพ (Quality management system) 5. ความรับผิดชอบของฝ่ายบริหาร (Management responsibility) 6. การบริหารทรัพยากร (Resource management) 7. การทำให้ผลิตภัณฑ์เป็นจริง (Product realization) 8. การวัด/วิเคราะห์/การปรับปรุง(Measurement/analysis/improvement) ระบบประกันคุณภาพ ISO 9001:2008

  16. 4. ระบบบริหารคุณภาพ 4.1 ข้อกำหนดทั่วไป 4.2 ข้อกำหนดทั่วไปของเอกสาร 5. ความรับผิดชอบของฝ่ายบริหาร 5.1 ความมุ่งมั่นของผู้บริหาร 5.2 การไปที่ผู้รับบริการ 5.3 นโยบายคุณภาพ 5.4 การวางแผนเป้าหมายคุณภาพและระบบฯ 5.5 อำนาจหน้าที่ ความรับผิดชอบและการสื่อสาร 5.6 การทบทวนของฝ่ายบริหาร 6. การบริหารทรัพยากร 6.1 การจัดหาทรัพยากรต่างๆ 6.2 ทรัพยากรบุคคล 6.3 สิ่งอำนวยความสะดวก 6.4 สภาพแวดล้อมในการทำงาน 7. การทำให้ผลิตภัณฑ์เป็นจริง 7.1 การวางแผนการผลิตและการบริการ 7.2 กระบวนการที่เกี่ยวข้องกับผู้รับบริการ 7.3 การออกแบบและพัฒนา 7.4 การจัดซื้อจัดจ้าง 7.5 การดำเนินงานและการบริการต่างๆตามภารกิจ 7.6 การควบคุมเครื่องมือ อุปกรณ์วัดและติดตาม 8. การวัด, วิเคราะห์และปรับปรุง 8.1 ข้อกำหนดทั่วไปของการวัด วิเคราะห์และปรับปรุง 8.2 การเฝ้าระวังและการวัด 8.3 การควบคุมผลผลิต ผลิตภัณฑ์และบริการที่ไม่เป็น ไปตามข้อกำหนด 8.4 การวิเคราะห์ข้อมูล 8.5 การปรับปรุง ระบบประกันคุณภาพ ISO 9001:2008

  17. เอกสารคุณภาพของระบบISO 9001:2008 • คู่มือคุณภาพ(Quality Manual : QM) • คู่มือขั้นตอนการทำงาน(Procedure Manual : PM) 1. วัตถุประสงค์ 5. คำจำกัดความ 2. ขอบข่าย 6.ขั้นตอนการทำงาน (ระบบ) 3. เอกสารอ้างอิง (SD) 7. บันทึกคุณภาพ 4. เอกสารแนบ (FC,WI,A,FM) 8. เอกสารหลักฐาน • เป้าหมายคุณภาพ ประจำปี 1. ตัวบ่งชี้ สกอ., ก.พ.ร., สมศ. (KPI เชิงคุณภาพ)/(CHE online เชิงปริมาณ) 2. ตัวบ่งชี้ตามยุทธศาสตร์การพัฒนามหาวิทยาลัย (KPI เชิงปริมาณ) KPI

  18. คู่มือขั้นตอนการทำงาน (PM) KPI

  19. เป้าหมายคุณภาพ ประจำปี KPI

  20. ระบบ ISO 9001:2008มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน Business Flows

  21. วิเคราะห์ปัญหาปีที่ผ่านมาวิเคราะห์ปัญหาปีที่ผ่านมา แผนการบริหารนโยบาย สภาพแวดล้อมทีมีผลต่อระบบ วิสัยทัศน์ / ภารกิจ / กลยุทธ์ นโยบายคณะกรรมการ QMRC จุดควบคุมและเอกสารนโยบาย นโยบายของฝ่ายต่าง ๆ ทำเอกสารของแผนดำเนินการ จุดควบคุมและแผนดำเนินการ ดำเนินการตามแผนที่วางไว้ ตรวจสอบผลดำเนินการตามแผนที่วางไว้ ป้อนกลับไปสู่นโยบายปีต่อไป ปกติ ผิดปกติ วิเคราะห์หาปัจจัย ทำให้เกิดมาตรฐาน วินิจฉัยโดยคณะกรรมการ QMRC (ปีละ4 ครั้ง) แผนปรับปรุงตามข้อเสนอ QMRC วิเคราะห์ปัญหาทั้งหมดของปัจจุบัน ( รอบ 1 ปี ) ระบบการบริหารนโยบาย PLAN 1. ประชุมประจำเดือน 2.กราฟควบคุม DO CHECK ACTION

  22. โครงร่างมหาวิทยาลัย : สภาพแวดล้อม ความสัมพันธ์และความท้าทาย 5. การมุ่งเน้นบุคลากร 2. การวางแผนเชิงกลยุทธ์ 1. การนำองค์กร 7. ผลลัพธ์ 3. การมุ่งเน้น ลูกค้าและตลาด 6. การจัดการกระบวนการ 4. การวัด การวิเคราะห์และการจัดการ Public Management Quality Assurance : PMQA

  23. Public Management Quality Assurance : PMQA ลักษณะสำคัญขององค์กร สภาพแวดล้อม ความสัมพันธ์ และความท้าทาย การวางแผนเชิงยุทธศาสตร์ และกลยุทธ์ (พรฎ. หมวด 2, 3) [ISO 5.4] การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล (พรฎ. หมวด 3, 5, 6, 8) [ISO 6.2, 6.4, 7.2] ผลลัพธ์การดำเนินการ (พรฎ. หมวด 3, 4, 8) [ISO 8.2, 8.4] การนำองค์กร (พรฎ. หมวด 2, 5, 7, 8) [ISO 5.1, 5.3, 5.5, 5.6, 8.5] การให้ความสำคัญกับผู้รับ บริการ/ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย (พรฎ. หมวด 2, 5, 6, 7) [ISO 5.2, 7.2] การจัดการกระบวนการ (พรฎ. หมวด 3,5,7,8) [ISO 7.2, 7.3, 7.4, 7.5] การวัด การวิเคราะห์ และการจัดการความรู้ (พรฎ. หมวด 3, 5, 7, 8) [ISO 8.4]

  24. ทิศทางในการพัฒนา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน

  25. แผนที่ยุทธศาสตร์ (Strategy Map) มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน ประจำปี พ.ศ.2553-2556 วิสัยทัศน์ : มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสานเป็นมหาวิทยาลัยด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีคุณภาพชั้นนำในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ที่มุ่งเน้นการผลิตนักปฏิบัติด้านวิชาชีพ เพื่อพัฒนาชุมชนและสังคม ม.เทคโนโลยีชั้นนำในอีสาน บัณฑิตนักปฏิบัติ ชุมชน/สังคมสร้าง งานด้านวิชาชีพ ที่สามารถแข่งขันได้ เป็นแหล่งวิชาชีพ ด้านวิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยีเชิงบูรณาการ เน้นการถ่ายทอด เทคโนโลยีสู่สังคม ประสิทธิผล Stakeholder พึงพอใจ การให้บริการของมหาวิทยาลัย ให้บริการสิ่งอำนวย ความสะดวก/สบาย ยึดหลักธรรมาภิบาล คุณภาพ • ศูนย์กลางการศึกษาและความรู้ (Hub) ด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี • สร้างโอกาสทางการศึกษาให้ประชาชน • ส่งเสริมและสนับสนุนการพัฒนาด้าน S&T • พัฒนาบุคลากรภายใต้หลักธรรมาภิบาล • ส่งเสริมการสร้างงานอาชีพ การเรียนรู้ตลอดชีวิต • ศูนย์ถ่ายทอดความรู้ด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีเชิงบูรณาการ • เพิ่มขีดความสามารถด้านงานวิจัยฯ • ต่อยอดงานวิจัยบนพื้นฐาน S&T • สร้างเครือข่ายงานวิจัย/สิ่งประดิษฐ์ • พัฒนาระบบฐานข้อมูลงานวิจัยฯ • ส่งเสริมงานวิจัยเพื่อพัฒนาสถาบัน • สร้างคนดีคนเก่งที่มีทักษะในการทำงาน ทำให้เป็นทุนมนุษย์ของประเทศ • สร้างบัณฑิตนักปฏิบัติที่เป็นคนดี คนเก่ง • พัฒนาบุคลากรตามเกณฑ์มาตรฐาน • พัฒนาคุณธรรมจริยธรรม/การทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรมและสิ่งแวดล้อม • บริหารจัดการทรัพยากรทางการศึกษา • จัดระบบคุณภาพและมาตรฐานการศึกษา ประสิทธิภาพ พัฒนาระบบบริหารความรู้ พัฒนาระบบคุณภาพ การบริหารงาน พัฒนาบุคลากร พัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ พัฒนาองค์กร

  26. เตรียมโครง สร้างพื้นฐาน พัฒนาระบบบริหารจัดการ มาตรฐานมหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยชั้นนำในอีสาน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน ปี 2556 พ.ศ.2553 พ.ศ.2554 พ.ศ.2555 พ.ศ.2556 -แผนพัฒนา 15 ปี -แผนแม่บททุกภารกิจ -ระบบพัฒนาบุคลากร -เครื่องมือ/ครุภัณฑ์ -อาคารสถานที่/ภูมิทัศน์ -สภาฯ กำกับนโยบาย -วัฒนธรรมองค์กร -การเงินอุดมศึกษา -ระบบเครือข่าย IT -ระบบการประเมินผล -ด้านกายภาพ -ด้านการผลิตบัณฑิต -ด้านการวิจัย -ด้านบริการวิชาการ -ด้านทำนุบำรุงศิลปะฯ -Top 3 ในภาคอีสาน -มีมาตรฐาน TQF:HEd -ประเมินผล กพร. 4.5 -ประเมินผล สมศ. 4.5 -ประเมินผล สกอ. 4.5

  27. ยุทธศาสตร์การพัฒนา 1.ด้านการจัดการศึกษา มหาวิทยาลัยแห่ง การเรียนรู้ 2.ด้านงานวิจัยสิ่งประดิษฐ์ วิสัยทัศน์ 3.ด้านการบริการวิชาการ มหาวิทยาลัยแห่งเทคโนโลยี 4.ด้านการทำนุบำรุงศิลปะ 5.ด้านการพัฒนาบุคลากร มหาวิทยาลัยแห่งคุณภาพ 6.ด้านการพัฒนานักศึกษา 7.ด้านการบริหารจัดการ ยุทธศาสตร์การพัฒนามหาวิทยาลัย

  28. วิสัยทัศน์ วข.กาฬสินธุ์ พันธกิจ (Mission) วิสัยทัศน์ วข.ขอนแก่น วิสัยทัศน์ศูนย์กลาง วิสัยทัศน์ วข.สุรินทร์ ประเด็นยุทธศาสตร์ วิสัยทัศน์ วข.สกลนคร การขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ มทร.อีสาน วิสัยทัศน์ (Vision)

  29. ศูนย์กลางมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน เป็นผู้นำจัดการศึกษาในภาคตะวันออกเฉียง เหนือ มุ่งผลิตนักปฏิบัติเพื่อพัฒนาชุมชนและสังคม ภายใต้การบริหารจัดการตามหลักธรรมาภิบาลเน้นความเป็นเลิศด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีสารสนเทศ วัสดุและพลังงาน วิสัยทัศน์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน เป็นมหาวิทยา ลัยด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีคุณภาพชั้นนำในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ที่มุ่งเน้นการผลิตนักปฏิบัติด้านวิชาชีพ เพื่อพัฒนาชุม ชนและสังคม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล วิทยาเขตสุรินทร์ เป็นผู้นำจัดการศึกษาและบริการวิชาชีพ เป็นเลิศด้านเกษตรอินทรีย์และอุตสาหกรรมบริการ ผลิตกำลังคนที่มีคุณธรรม นำความรู้สู่สังคม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตขอนแก่น เป็นผู้นำในการผลิตบัณฑิต ที่มีความเป็นเลิศด้านทักษะวิชาชีพ งานวิจัยและบริการวิชาการเพื่อสร้างคุณค่าแก่สังคม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตกาฬสินธุ์ มุ่งมั่นจัดการศึกษาด้วยการบริหารจัดการตามมาตรฐานสากล เพื่อสร้างบัณฑิตนักปฏิบัติด้านเทคโนโลยีอุตสาหกรรมเกษตรและอุตสาหกรรมบริการที่มีคุณภาพ นำความรู้สู่สังคม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตสกลนคร เป็นสถานศึกษาที่มีความเข้มแข็งด้านผลิตภัณฑ์อาหารและเครื่องดื่ม วิทยาศาสตร์สุขภาพ อุตสาหกรรมเกษตร อุตสาหกรรมบริการ และเทคโนโลยีพลังงาน วิสัยทัศน์ พันธกิจและประเด็นยุทธศาสตร์ หน่วยงาน

  30. วิสัยทัศน์และพันธกิจ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสานเป็นมหาวิทยาลัยด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี คุณภาพชั้นนำในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ที่มุ่งเน้นการผลิตนักปฏิบัติด้านวิชาชีพ เพื่อ พัฒนาชุมชนและสังคม วิสัยทัศน์ 1. จัดการศึกษาระดับอุดมศึกษาบนพื้นฐานด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ที่มีคุณภาพตามมาตรฐาน สอดคล้องกับความต้องการของผู้รับบริการ พันธกิจ 2. สร้างงานวิจัย สิ่งประดิษฐ์และนวัตกรรม บนพื้นฐานของวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สู่การผลิต การ บริการและการสร้างมูลค่าเพิ่มให้ประเทศ 3. มุ่งบริการวิชาการและถ่ายทอดเทคโนโลยีสู่สังคม 4. ทำนุบำรุงศาสนา อนุรักษ์ศิลปวัฒนธรรมและรักษาสิ่งแวดล้อม 5. บริหารจัดการด้วยระบบธรรมาภิบาลเพื่อเพิ่มศักยภาพการทำงานขององค์กร 1.เป้าประสงค์ 1.มทร.อีสาน เป็นแหล่งการศึกษาด้านวิชาชีพทางเทคโนโลยีเชิงบูรณาการที่มีความเข็มแข็งด้านวิชาการเป็นที่พึ่งของประชาชนในทุกพื้นที่ให้สามารถเรียนรู้ได้ตลอดชีวิต กลยุทธ์ (หลัก) 1.สร้างโอกาสทางการศึกษาให้ประชาชนได้รับการพัฒนาความรู้ไปสู่การศึกษาในระดับสูงขึ้น 2.ส่งเสริมและสนับสนุนการพัฒนาด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 3.พัฒนาบุคลากรทุกระดับภายใต้หลักธรรมาภิบาล 4.ส่งเสริมการสร้างงานอาชีพ การเรียนรู้ตลอดชีวิตให้กับประชาชน และสังคมผู้ประกอบการ ตัวชี้วัด 1.มทร.อีสาน 19 ตัว 2.ผลผลิต 8 ตัว 3.ก.พ.ร. 4 มิติ 4.สกอ.9 องค์ประกอบ 5.สมศ.7 มาตรฐาน 1. ประเด็นยุทธศาสตร์ 1.ศูนย์กลางการศึกษาและความรู้ (Hub) ด้านวิทยาศาสตร์และเทค โนโลยีที่มีความเข็มแข็ง

  31. วิสัยทัศน์และพันธกิจ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสานเป็นมหาวิทยาลัยด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี คุณภาพชั้นนำในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ที่มุ่งเน้นการผลิตนักปฏิบัติด้านวิชาชีพ เพื่อ พัฒนาชุมชนและสังคม วิสัยทัศน์ 1. จัดการศึกษาระดับอุดมศึกษาบนพื้นฐานด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ที่มีคุณภาพตามมาตรฐาน สอดคล้องกับความต้องการของผู้รับบริการ พันธกิจ 2. สร้างงานวิจัย สิ่งประดิษฐ์และนวัตกรรม บนพื้นฐานของวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สู่การผลิต การ บริการและการสร้างมูลค่าเพิ่มให้ประเทศ 3. มุ่งบริการวิชาการและถ่ายทอดเทคโนโลยีสู่สังคม 4. ทำนุบำรุงศาสนา อนุรักษ์ศิลปวัฒนธรรมและรักษาสิ่งแวดล้อม 5. บริหารจัดการด้วยระบบธรรมาภิบาลเพื่อเพิ่มศักยภาพการทำงานขององค์กร 2. เป้าประสงค์ 2.ผลิตบัณฑิตทางวิชาชีพ ที่มีความ สามารถในการใช้เทคโนโลยีมีคุณภาพและปฏิบัติงานได้อย่างมืออาชีพ กลยุทธ์ (หลัก) 1.จัดการศึกษาเพื่อสร้างบัณฑิตนักปฏิบัติที่เป็นคนดี คนเก่ง 2.พัฒนาศักยภาพบุคลากรทางการศึกษาให้เป็นตามเกณฑ์มาตรฐาน 3.ส่งเสริมและสนับสนุนการพัฒนา คุณธรรมจริยธรรม การทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรมและสิ่งแวดล้อม 4.บริหารจัดการทรัพยากรทางการศึกษาภายใต้ระบบธรรมาภิบาล 5.จัดระบบคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาที่มีประสิทธิภาพ ตัวชี้วัด 1.มทร.อีสาน 12 ตัว 2.ผลผลิต 4 ตัว 3.ก.พ.ร. 4 มิติ 4.สกอ.9 องค์ประกอบ 5.สมศ.7 มาตรฐาน 2. ประเด็นยุทธศาสตร์ 2.สร้างคนดี คนเก่ง ที่มีทักษะในการทำงาน ทำให้เป็นทุนมนุษย์ (Human Capital) ของประเทศ

  32. วิสัยทัศน์และพันธกิจ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสานเป็นมหาวิทยาลัยด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี คุณภาพชั้นนำในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ที่มุ่งเน้นการผลิตนักปฏิบัติด้านวิชาชีพ เพื่อ พัฒนาชุมชนและสังคม วิสัยทัศน์ 1. จัดการศึกษาระดับอุดมศึกษาบนพื้นฐานด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ที่มีคุณภาพตามมาตรฐาน สอดคล้องกับความต้องการของผู้รับบริการ พันธกิจ 2. สร้างงานวิจัย สิ่งประดิษฐ์และนวัตกรรม บนพื้นฐานของวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สู่การผลิต การ บริการและการสร้างมูลค่าเพิ่มให้ประเทศ 3. มุ่งบริการวิชาการและถ่ายทอดเทคโนโลยีสู่สังคม 4. ทำนุบำรุงศาสนา อนุรักษ์ศิลปวัฒนธรรมและรักษาสิ่งแวดล้อม 5. บริหารจัดการด้วยระบบธรรมาภิบาลเพื่อเพิ่มศักยภาพการทำงานขององค์กร 3. เป้าประสงค์ 3.มทร.อีสาน เป็นแหล่งการศึกษาด้านวิชาชีพทางเทคโนโลยีเชิงบูรณาการที่มีความเข็มแข็งด้านวิชาการเป็นที่พึ่งของประชาชนในทุกพื้นที่ให้สามารถเรียนรู้ได้ตลอดชีวิต กลยุทธ์ (หลัก) 1.เพิ่มขีดความสามารถด้านงานวิจัย สิ่งประดิษฐ์และนวัตกรรม 2.สนับสนุนงานวิจัยถ่ายทอดเทคโนโลยีตลอดจนงานวิจัยสร้างองค์ความรู้และงานวิจัยต่อยอดบนพื้นฐานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 3.สนับสนุนการสร้างเครือข่ายงานวิจัย สิ่งประดิษฐ์และนวัตกรรม 4.พัฒนาระบบฐานข้อมูลที่สามารถเชื่อมโยงเครือข่ายงานวิจัยต่างๆ 5.สนับสนุนงานวิจัยเพื่อพัฒนาสถาบัน ตัวชี้วัด 1.มทร.อีสาน 8 ตัว 2.ผลผลิต 4 ตัว 3.ก.พ.ร. 4 มิติ 4.สกอ.9 องค์ประกอบ 5.สมศ.7 มาตรฐาน 3. ประเด็นยุทธศาสตร์ 3.ศูนย์ส่งเสริมการเรียนรู้ ตลอด จนการถ่ายทอดความรู้ด้านวิทยา ศาสตร์และเทคโนโลยีเชิงบูรณา การที่ได้มาตรฐาน เพื่อความเป็น อยู่ที่ดีของคนไทย

  33. การขับเคลื่อนยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัยการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 1 ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 2 ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 3 กลยุทธ์ กลยุทธ์ กลยุทธ์ เป้าประสงค์ 1 เป้าประสงค์ 2 เป้าประสงค์ 3 KPI KPI KPI กิจกรรม /โครงการ กิจกรรม /โครงการ กิจกรรม /โครงการ

  34. การขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ มทร.อีสาน คณะ (KPI) สำนักงานอธิการบดี (KPI) ยุทธศาสตร์ของมหาวิทยาลัย (KPI) สำนักงานวิทยาเขต (KPI) กอง (KPI) งาน (KPI) คณะ (KPI) สถาบัน / สำนัก (KPI) 10/5/2014

  35. A P C D RMUTI QA ระบบ 5 ส ISO 9001:2008 ระบบบริหารนโยบาย การแก้ไขปรับปรุง ทำให้เกิดมาตรฐาน SAR (มหาวิทยาลัย/สมศ.) SAR (กพร.) DATA

  36. ระบบพัสดุ ระบบบัญชี ระบบจัดซื้อจัดจ้าง Enterprise Resource Planning : ERP • ระบบจัดซื้อจัดจ้าง (Purchasing module) • ระบบพัสดุ (Inventory module) • ระบบครุภัณฑ์ (Fixed Asset module) • ระบบการเงิน (Financial module) • ระบบบัญชี (Account module) • ระบบงบประมาณ (Budget)

  37. ระบบ Admission ระบบงานทะเบียน ระบบ Payroll ระบบ KPI ระบบประกันคุณภาพ ระบบบุคลากร Education Service System : ESS • ระบบ E-Admission • ระบบ KPI • ระบบ Payroll • ระบบบุคลากร • ระบบกองทุนกู้ยืมฯ • ระบบประกันคุณภาพ • ระบบฐานข้อมูล EIS • ระบบงานทะเบียน • ระบบงานบริการทั่วไป • ระบบอาจารย์ที่ปรึกษา

  38. ระบบสารบรรณอิเล็กทรอนิกส์ระบบสารบรรณอิเล็กทรอนิกส์

  39. Scan Station Viewer /Display Stations Scan Station Scanner Fujistu fi-5220c Network Line Viewer /Display Stations ระบบสารบรรณอิเล็กทรอนิกส์ Web Server/Database Server - MS Windows 2003 Server - MS SQL Server 2000 - IIS - ระบบงานสารบรรณอิเล็กทรอนิกส์ (INFOMA: WebFlow) - ฐานข้อมูลสารบรรณ

  40. ระบบสารบรรณอิเล็กทรอนิกส์ระบบสารบรรณอิเล็กทรอนิกส์

  41. การจัดระบบสารสนเทศเพื่อการบริหารการจัดระบบสารสนเทศเพื่อการบริหาร

  42. ผู้บริหารระดับสูง ผู้บริหารระดับกลาง ผู้บริหารระดับล่าง พนักงาน/ปฏิบัติงาน การบริหารระบบฐานข้อมูลสารสนเทศ

  43. Data Warehouse • การทำคลังข้อมูลเป็นขบวนการในการรวบรวมข้อมูลต่างๆของหน่วยงาน ไว้ในแหล่งข้อมูลเดียว ช่วยให้ผู้ใช้สามารถสืบค้นข้อมูล สร้างรายงาน และทำการวิเคราะห์ข้อมูลได้สะดวกขึ้น • คลังข้อมูลเป็นสภาพแวดล้อมที่สนับสนุนการตัดสินใจ คือมีการเก็บข้อมูลจากแหล่งต่างๆ และทำการจัดการข้อมูลเหล่านั้น ช่วยให้ผู้ตัดสินใจสามารถนำข้อมูลไปใช้ได้อย่างง่ายดาย • ดังนั้น สรุปได้ว่า Data Warehousing คือ เทคโนโลยีที่ใช้ในการจัดการและวิเคราะห์ข้อมูลนั่นเอง

  44. Data Warehouse Architecture

  45. War Room • เป็นห้องประชุมที่ใช้สำหรับระดมพลังความคิดจากบุคลากรทุกฝ่าย เพื่อหาแนวทางในการดำเนินกิจกรรมของมหาวิทยาลัยให้มีประสิทธิภาพสูงสุด และเป็นสถานที่ที่ใช้ในการระดมพลังแหล่งข้อมูลและข่าวสารที่ดีทั้งภายในและภายนอกองค์กร เพื่อเป็นฐานในการตัดสินใจที่ถูกต้องและแม่นยำ

  46. ระบบประเมินการประกันคุณภาพการศึกษาระบบประเมินการประกันคุณภาพการศึกษา

  47. ระบบประเมินการประกันคุณภาพการศึกษาระบบประเมินการประกันคุณภาพการศึกษา

  48. ระบบประเมินการประกันคุณภาพการศึกษาระบบประเมินการประกันคุณภาพการศึกษา

  49. การดำเนินการใช้จ่าย งปม.(PART)

  50. การพิจารณาความดีความชอบการพิจารณาความดีความชอบ • พิจารณาจากกรอบภาระงาน(60%) 1. ภารกิจปกติ เช่น การสอน, วิจัย, บริการวิชาการ, ทำนุบำรุงฯ (45%) 2. หัวหน้าหน่วยงานประเมิน สายผู้สอน (5%), สายสนับสนุน (10%) 3. นักศึกษาประเมินครูผู้สอน (5%) (PM-13) (ระบบ QA) 4. ผู้ร่วมงานประเมินกันเองแบบ 360 องศา (5%) (PM-37) (ระบบ QA) • ผลสัมฤทธิ์ตามตัวบ่งชี้ (KPI)(20%) • ประเมินสมรรถนะ (Competency) (ตามกฎหมาย)(20%) KPI

More Related