1 / 33

Chapter 4

Chapter 4. Knowledge Management in Action. ความยากของการจัดการความรู้. (1) ความรู้เป็นเรื่องที่พูดง่าย แต่ทำให้ชัดเจนได้ยาก (2) ความรู้ที่สำคัญที่สุด เป็นสิ่งที่แลกเปลี่ยนได้ยาก (3) วัดคุณค่าที่แท้จริงของทรัพย์สินด้านความรู้ (Knowledge Asset) ได้ยาก. วัดความรู้ได้ยาก.

Télécharger la présentation

Chapter 4

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. Chapter 4 Knowledge Management in Action

  2. ความยากของการจัดการความรู้ความยากของการจัดการความรู้ (1) ความรู้เป็นเรื่องที่พูดง่ายแต่ทำให้ชัดเจนได้ยาก (2) ความรู้ที่สำคัญที่สุดเป็นสิ่งที่แลกเปลี่ยนได้ยาก (3) วัดคุณค่าที่แท้จริงของทรัพย์สินด้านความรู้ (Knowledge Asset) ได้ยาก Knowledge Management

  3. วัดความรู้ได้ยาก • เมื่อวัดยากจับต้องยากก็จับผิดจุดได้ง่ายการจัดการความรู้ภายในองค์การจึงจัดการผิดที่ได้ง่ายคือเข้าไปเอาใจใส่ที่เปลือกหรือรูปแบบ....มากกว่า......ที่แก่นหรือสาระที่แท้จริง • มีศักยภาพในการเผชิญอนาคตที่ไม่แน่นอนได้ดีเพียงใด • การประเมินคุณภาพด้านการเรียนรู้ • นวัตกรรมขององค์การ • ตัวชี้วัดอย่างหนึ่งคือการจัดการความรู้ขององค์การ Knowledge Management

  4. อุปสรรคต่อการแลกเปลี่ยนความรู้อุปสรรคต่อการแลกเปลี่ยนความรู้ • (1) ระบบความดีความชอบ อาจไม่ส่งเสริมการแลกเปลี่ยนความรู้ หากพนักงานมองว่าความรู้นั้นเป็นอาวุธส่วนตัวสำหรับใช้ในการต่อสู้แข่งขันกับเพื่อนร่วมงาน • (2) สถานะที่ไม่เท่าเทียมกันอาจปิดกั้นการแลกเปลี่ยนเช่นพยาบาลส่วนใหญ่ลำบากใจที่จะเสนอแนะวิธีรักษาผู้ป่วยต่อแพทย์ • (3) ความห่างทั้งในเชิงระยะทางและในด้านเวลาทำให้การแลกเปลี่ยนเกิดได้ยาก • (4) ในคนบางกลุ่มการแลกเปลี่ยนความรู้ในลักษณะข้อสนเทศจะไม่ได้รับความสนใจถ้าไม่มีผลการวิเคราะห์แนบด้วย • (5) คนบางคนไม่เชื่อว่าจะสามารถนำเสนอความรู้ที่ฝังลึกได้ Knowledge Management

  5. ขีดความสามารถหลัก 4 ประการ(Core Capabilities) • ที่มีผลต่อความสามารถในการแข่งขันขององค์การได้แก่ (1) ความรู้และทักษะของพนักงาน (2) ระบบเทคโนโลยีเชิงกายภาพ (เครื่องมือ, software, database) (3) ระบบการจัดการ (4) ระบบคุณค่าและวัฒนธรรมองค์การที่มีอิทธิพลต่อการส่งเสริมหรือขัดขวางการสั่งสมความรู้ด้านต่างๆ Knowledge Management

  6. เครื่องมือชุดธารปัญญาเครื่องมือชุดธารปัญญา • 1ตารางแห่งอิสระภาพ • 2 ธารปัญญา (River Diagram) • 3บันไดแห่งการแลกเปลี่ยน (Ladder Diagram) • 4คลังความรู้ • 5พื้นที่ประเทืองปัญญา Knowledge Management

  7. 1 ตารางแห่งอิสระภาพ • ตารางแสดงระดับ “ขีดความสามารถหลัก”(Core Competency) เพื่อบรรลุเป้าหมายตามวิสัยทัศน์ • ใช้ประเมินตนเอง พัฒนาตนเอง • มีการกำหนดเกณฑ์แต่ละระดับเอง เช่นมี 5 ระดับ (1. พื้นฐาน ... 5. สูง) ต้องการความเป็นเลิศ ตารางขีดความสามารถ ด้านการเงินการคลัง ... คณะที่ 1 ความสามารถหลัก 1 2 3 4 5 การบริการลูกค้า การบริการฝ่ายการบริหาร การมีระบบข้อมูล การพัฒนาระบบ การพัฒนาบุคลากร Knowledge Management

  8. 2ธารปัญญา ระดับความสามารถ 5 4 3 2 1 คณะที่ 1 ความสารถ หลักที่ 1 หลักที่ 2 หลักที่ 3 หลักที่ 4 หลักที่ 5 Knowledge Management

  9. 2ธารปัญญา • แสดงการกระจายของระดับขีดความสามารถหลักของกลุ่ม ...ตาม...ระดับความสามารถ • เป็นรูปธรรมที่ช่วยให้มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ Knowledge Management

  10. คณะที่ 2 คณะที่ 3 คณะที่ 1 2ธารปัญญา เปรียบเทียบในแต่ละความสามารถหลัก ระดับความสามารถ 5 4 3 2 1 ความสารถ หลักที่ 1 หลักที่ 2 หลักที่ 3 หลักที่ 4 หลักที่ 5 Knowledge Management

  11. ฝั่งบน ฝั่งล่าง คณะที่ 3 2ธารปัญญา Outside ?? คณะที่ 2 Best Practice คณะที่ 1 ระดับความสามารถ 5 4 3 2 1 Need Improvement ความสารถ หลักที่ 1 หลักที่ 2 หลักที่3 หลักที่ 4 หลักที่ 5 Knowledge Management

  12. 2ธารปัญญา ระดับความสามารถ เลือกที่จะพัฒนา 5 4 3 2 1 คณะที่ 1 ความสารถ หลักที่ 1 หลักที่ 2 หลักที่ 3 หลักที่ 4 หลักที่ 5 • การประเมินตนเอง (self Assessment)แต่ละหน่วยงานประเมินตนเอง ตั้งเป้าของตนเอง Knowledge Management

  13. ตามระดับขีดความสามารถปัจจุบันตามระดับขีดความสามารถปัจจุบัน 0 1 2 3 4 3 บันไดแห่งการแลกเปลี่ยน • แสดงการกระจายความสามรถหลักขององค์กรสมาชิก ตามระดับขีดความสามารถปัจจุบัน กับ ความปรารถนาเพิ่มระดับ • เป็นรูปธรรมของ “ผู้เรียนรู้”กับ “ผู้แลกเปลี่ยน” 5 4 3 2 1 คณะ2 คณะที่ 1..ปัจจุบันอยู่ที่ระดับ 1 แต่อยากเปลี่ยนแปลง.. เพิ่มอีก 2 ระดับ คณะ3 คณะ1 ความปรารถนาเพิ่มระดับ ไม่ต้องการ เปลี่ยนแปลง ความสามารถหลักที่ 5 : การพัฒนาบุคลากร Knowledge Management

  14. ตามระดับขีดความสามารถปัจจุบันตามระดับขีดความสามารถปัจจุบัน 0 1 2 3 4 3 บันไดแห่งการแลกเปลี่ยน ความสามารถหลักที่ 5 : การพัฒนาบุคลากร พร้อมให้ 5 4 3 2 1 คณะ2 คณะ8,9, 10 คณะ3 ใฝ่รู้ คณะ4,6 คณะ5,8 คณะ7 คณะ1 ความปรารถนาเพิ่มระดับ Knowledge Management

  15. 4 คลังความรู้ คลังความรู้ learn during ใช้ความรู้ บุคคล ทีม เป้าหมาย ผลสัมฤทธิ์ learn after learn before Knowledge Management

  16. เพิ่ม เพิ่ม เพิ่ม สรุปเพิ่ม สรุปบทเรียน 4 คลังความรู้ • มีบริบทและรายละเอียด ตามกาละเทศะ ที่ต้องการความรู้นั้นๆ • สิบเรื่องสำคัญที่สุดที่จะต้องรู้ • หารายละเอียดเพิ่มเติมได้จากที่ไหน • เอามาปรับใช้ได้อย่างไร • ควรปรึกษาใคร ความสามารถหลักที่ 5 : การพัฒนาบุคลากร Knowledge Management

  17. ประชุม Web site ศึกษา ดูงาน พื้นที่จริง พื้นที่เสมือน Web board เพื่อนช่วยเพื่อน 5 พื้นที่ประเทืองปัญญา Knowledge Management

  18. พื้นที่จริง • เทียบเคียงสมรรถนะ (Benchmarking : BMK) • ทีละ“ขีดความสามารถหลัก”(Core Competency) • เรียนรู้ขีดความสามารถหลัก จากคณะที่ พร้อมให้ เกี่ยวกับวิธีคิด วิธีปฏิบัติ ความเชื่อ เอามาทดลองปฏิบัติหมุนเป็นวงจรของเราเอง • ถ้าไม่มี เรียนรู้จาก Best Practice (BP)ภายนอก • เพื่อนช่วยเพื่อน (Peer Assist) • ขอให้เล่า หัวใจของการปฏิบัติ 10 อย่าง • วิธีปฏิบัติ...ที่ไม่ได้ผลดี • คุยจากประสบการณ์ เป็นทฤษฎีที่ได้จากประสบการณ์ไม่ใช่ตำราล้วนๆ • ซักถามได้ตลอด บรรยากาศเป็นกันเอง • ศึกษาดูงาน Knowledge Management

  19. พื้นที่เสมือน • ชุมชนปฏิบัติ CoP • กระดานสนทนา • มีผู้ประสานงาน อำนวยความสะดวกประจำเรื่อง • สมาชิกรายบุคคล Knowledge Management

  20. ผู้จัดการความรู้ ข้อคิดภาษิตจีนความรู้มาก แต่ไร้ผู้สืบถอดร่วมเรียนศาสตร์ลุ่มลึก แต่ไร้ทิศทางสนใจไขว่คว้ากว้างขวาง หากไม่รู้ตนย่อมไร้ซึ่งบุคคลแซ่ซ้อง สรรเสริญ • ปลาตัวใหญ่ คือ องค์กร • ปลาตัวเล็ก คือ โครงการ มีลูกปลาจำนวนมาก • ต้องสอดคล้องไปในทางเดียวกัน • โครงการใดไม่ตอบสนองต่อเป้าหมายหลัก ถือว่าสิ่งที่ทำนั้น ไม่เกิด “ประสิทธิผล” Knowledge Management

  21. 1 Chief Knowledge Officer(CKO) • Knowledge Vision (KV) • ส่วนหัว ส่วนตา มองว่ากำลังจะไปทางไหน • ต้องตอบได้ว่า “ทำ KM ไปเพื่ออะไร” • 2 Knowledge Facilitator (คุณอำนวย) • Knowledge Sharing (KS) • ส่วนกลางลำตัว ส่วนที่เป็น หัวใจ • ให้ความสำคัญกับการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ช่วยเหลือเกื้อกูลซึ่งกันและกัน(Share and Learn) • 3 Knowledge Practitioner (คุณกิจ) • Knowledge Asset • ส่วนหาง สร้างคลังความรู้ เชื่อมโยงเครือข่าย • ประยุกต์ใช้ IT • สร้างพลังจาก CoPs Knowledge Management

  22. หน้าที่ CKO (1) ส่งเสริมการจัดการความรู้การดำเนินการและการใช้ (2) ให้การศึกษาหรือฝึกอบรมผู้ใช้ (3) ให้การศึกษาหรือฝึกอบรมทีมบริหารขององค์การ (4) วัดผลกระทบจากการจัดการความรู้ (5) ทำแผนที่ (mapping) ความรู้ที่มีอยู่ในปัจจุบัน (6) จัดหมวดหมู่ความรู้ลดสภาพแยกส่วน (7) สร้าง “ถนนความรู้” (8) เชื่อมโยงกิจกรรมทางธุรกิจขององค์การเข้ากับระบบการจัดการความรู้ Knowledge Management

  23. ตัวอย่างการประชุม CKO Knowledge Management

  24. การจัดการผู้ปฏิบัติงานความรู้การจัดการผู้ปฏิบัติงานความรู้ • การจัดการความรู้จะได้ผลต้องมีการจัดการการเปลี่ยนวัฒนธรรมและเปลี่ยนโครงสร้างการตอบแทนเพื่อให้ได้ทั้งใจและสมองของสมาชิกองค์การ • หากมีการจัดการความรู้อย่างถูกต้องและได้ผล • จะเกิดสภาพที่มีการสร้างและความเคลื่อนไหวถ่ายเทความรู้อย่างเป็นธรรมชาติจนแทบจะไม่รู้สึกว่าต้องใช้ความพยายาม • การแลกเปลี่ยนความรู้เกิดขึ้นเองอย่างเป็นธรรมชาติ หากเกิด“ความเป็นชุมชน”Community of Practice ขึ้นในที่ทำงานเป็นชุมชนแห่งการทำงานและแลกเปลี่ยนเรียนรู้อย่างไม่เป็นทางการ • คำแนะนำในภาคปฏิบัติได้แก่ 1. กิจกรรมเพื่อส่งเสริมการสร้างความรู้ 2. กิจกรรมเพื่อส่งเสริมการแลกเปลี่ยนความรู้ Knowledge Management

  25. 1 กิจกรรมเพื่อส่งเสริมการสร้างความรู้ • ช่วยพนักงานให้เข้าใจทิศทางเชิงกลยุทธ์ขององค์การและเกี่ยวข้องกับงานของตนอย่างไร • จัดเวลาให้พนักงานนำความคิดของตนมาทบทวนแลกเปลี่ยนกัน • ผู้บริหารรับฟังอย่างสนใจฟังแบบ“active listening”จะทำให้ความคิดของผู้นั้นยิ่งเจริญเติบโตและก้าวหน้าขึ้น • เมื่อมั่นใจว่าความคิดใดใช้ไม่ได้ก็ฆ่ามันเสีย • อย่าลงโทษความล้มเหลวที่เกิดจากความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ • ทำตนเป็นตัวอย่างในการยอมรับความผิดพลาดหรือล้มเหลว Knowledge Management

  26. 2 กิจกรรมเพื่อส่งเสริมการแลกเปลี่ยนความรู้ • เชิญผู้เชี่ยวชาญภายนอก....มาพูดให้กลุ่มฟัง • ส่งเสริมให้เกิดการแลกเปลี่ยนกับกลุ่มอื่นภายในองค์การหรือแลกเปลี่ยนกับภายนอกองค์การด้วย • จ่ายค่าสมาชิกสมาคมให้แก่พนักงาน • อนุญาตให้พนักงานใช้เวลาส่วนหนึ่งทำงานให้แก่สมาคม • สนับสนุนกิจกรรมของสมาคมที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ขององค์การโดยอาจสนับสนุนเป็นเงินหรือการสนับสนุนรูปแบบอื่นก็ได้ • สนับสนุนค่ากาแฟหรืออาหารเที่ยงแก่กลุ่มแลกเปลี่ยนเรียนรู้เป็นครั้งคราว • สร้าง“ศูนย์แห่งความเป็นเลิศ”ในองค์การเพื่อสร้างบรรยากาศของการแข่งขันกับภายนอก “ดีที่สุดในประเทศไทย” “”world class”และเพื่อเปิดโอกาสให้กลุ่มแลกเปลี่ยนเรียนรู้ได้หาทางปรับเป้าการทำงานของกลุ่มให้บางส่วนตรงกับเป้าหมายขององค์กร..... Knowledge Management

  27. ชุมชนแห่งการเรียนรู้ • รับถ่ายทอดความรู้จากภายนอกโดยมีเป้าหมายการใช้งานโดยตรงและใช้ทันที • สร้างวัฒนธรรม......ยอมรับความผิดพลาดหรือล้มเหลว....ถ้าความผิดพลาดหรือล้มเหลวนั้นเกิดจากความพยายามทำงานให้ดีขึ้นวัฒนธรรมดังกล่าวจะทำให้คนไม่กลัวความล้มเหลวและกล้าทดลองหาแนวทางใหม่ๆใช้ความรู้เพื่อทำสิ่งใหม่ๆวิธีการใหม่ๆ.... • ขจัดความกลัวอำนาจหรือผู้มีอำนาจโดยการแสดงให้เห็นว่าสิ่งที่สำคัญที่สุดขององค์การคือคนและสร้างบรรยากาศภายในองค์การให้เป็นบรรยากาศแนวราบ....หรือเครือข่ายไม่ใช่บรรยากาศของการควบคุมสั่งการ • ส่งเสริมความร่วมมือไม่ใช่การแข่งขันภายในองค์การ • วัดช่องว่างระหว่างความรู้กับการกระทำ • สร้างวัฒนธรรมองค์การที่เห็นคุณค่าของความรู้โดยเฉพาะอย่างยิ่งการนำความรู้มาประยุกต์ใช้ในองค์การ Knowledge Management

  28. กิจกรรมการจัดการความรู้ KM • (1) การพัฒนาฐานข้อมูลเกี่ยวกับลูกค้าปัญหาที่พบบ่อยและแนวทางแก้ปัญหา • (2) กำหนดผู้เชี่ยวชาญด้านใดด้านหนึ่งที่เป็นคนภายในองค์กรทำตารางรายชื่อและวิธีติดต่อ • (3) ดึงเอาความรู้ออกมาจากผู้เชี่ยวชาญเหล่านี้และกระจายความรู้ให้แก่ผู้อื่น • (4) จัดทำโครงสร้างความรู้เพื่อให้ข้อมูลเป็นระบบเข้าถึงง่ายและนำไปใช้ได้ง่าย • (5) จัดให้มีการประชุมแลกเปลี่ยนประสบการณ์และความคิดเห็นโดยอาจเป็นการประชุมตามปกติหรือผ่านการสื่อสารทางไกลรูปแบบต่างๆ • (6) จัดกระบวนการกลุ่มให้คนจากต่างพื้นที่ได้ทำงานแก้ปัญหาร่วมกันและผลัดกันทำหน้าที่ผู้จัดการความรู้ Knowledge Management

  29. กิจกรรมการจัดการความรู้กิจกรรมการจัดการความรู้ • (7) ค้นหาและส่งเสริมผู้มีความสามารถพิเศษในความรู้และทักษะที่เป็นหัวใจของความสำเร็จขององค์การและหาทางให้ได้อยู่ในองค์การไปนานๆ • (8) ออกแบบการฝึกอบรมและกิจกรรมเพื่อการพัฒนาคนในรูปแบบต่างๆเพื่อประเมินและพัฒนาความรู้ของแต่ละคนในองค์การ • (9) ส่งเสริมให้รางวัลหรือยกย่องปฏิบัติการที่นำไปสู่การแบ่งปันข้อมูลและดำเนินการเพื่อป้องกันไม่ให้มีการปิดบังข้อมูล • (10) สร้างเครื่องอำนวยความสะดวกในการค้นหาและประยุกต์ใช้ความรู้ • (11) วัด“ต้นทุนทางปัญญา”เพื่อหาทางจัดการความรู้ให้ดีขึ้น • (12) ทำความเข้าใจแนวโน้มของลูกค้าโดยศึกษาข้อมูลจากจุดให้บริการเกี่ยวกับความต้องการความพึงพอใจและรสนิยมของลูกค้า Knowledge Management

  30. KM รพ.ศิริราช • http://www.si.mahidol.ac.th/km/ Knowledge Management

  31. KMรพ.ภาคเหนือตอนล่าง http://www.hkm.nu.ac.th/ Knowledge Management

  32. KMรพ.มอ. • http://medinfo.psu.ac.th/KM/KM.htm Knowledge Management

  33. Great ideasoften have three stages of reaction : • “It’s crazy and don’t waste my time.”.......... • “It’s possible, but it’s not worth to doing.”.. • I’ve always said it was a good idea.”.......... Arthur C. Clarke

More Related