290 likes | 500 Vues
ระบบสารสนเทศ 563 251 พื้นฐานสาธารณสุข ( SLIDE TIME 90 MIN. ). ผศ.ดนิตา ภาณุจรัส. วัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรม. 1. บอกความสำคัญของเนื้อหาหัวข้อนี้ กับหัวข้ออื่นในวิชานี้ 2 .บอกความหมายของสารสนเทศ 3 .บอกประเภทของสารสนเทศ 4 .บอกประโยชน์ของสารสนเทศแต่ละชนิด 5 .อธิบายการสืบค้นสารสนเทศ.
E N D
ระบบสารสนเทศ563 251 พื้นฐานสาธารณสุข(SLIDE TIME 90 MIN.) ผศ.ดนิตา ภาณุจรัส
วัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรมวัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรม 1.บอกความสำคัญของเนื้อหาหัวข้อนี้ กับหัวข้ออื่นในวิชานี้ 2.บอกความหมายของสารสนเทศ 3.บอกประเภทของสารสนเทศ 4.บอกประโยชน์ของสารสนเทศแต่ละชนิด 5.อธิบายการสืบค้นสารสนเทศ
REFERENCES 1.แหล่งสารนิเทศทางสังคมศาสตร์ มนุษยศาสตร์ และวิทยาศาสตร์, 2533 2.สารนิเทศลักษณะพิเศษ, 2533 3.How to Find Information in Sciences & Technology, 1986 4.วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร,2541 5.American Journal of Health-System Pharmacy, 1999 6.British Medical Journal, 2000
สารสนเทศ (Information) • สารสนเทศ หมายถึง ความรู้ เรื่องราว ข้อมูล ข่าวสาร ซึ่งมีการบันทึก และ จัดตามหลักวิชาการ เพื่อเผยแพร่ และ เพื่อประโยชน์ ในการพัฒนา ทั้งบุคคล และ สังคม
ทานไข่วันละ 1 ฟอง ไม่อันตราย
สารสนเทศสุขภาพ (Health Information) • สารสนเทศสุขภาพ หมายถึง ความรู้ เรื่องราว ข้อมูล ข่าวสาร ที่เกี่ยวกับสุขภาพอนามัยของประชาชนซึ่งเป็นข้อมูลที่เป็นเนื้อหาความรู้จากตำรา หรือมาจากงานวิจัย • ตัวอย่าง สารสนเทศ เช่น หนังสือ วารสาร นิตยสาร ไมโครฟิล์มไมโครฟิชซีดีรอม ข้อมูลออนไลน์
วารสารวิชาการ • ตีพิมพ์เป็นระยะสม่ำเสมอ • นำเสนอผลงานค้นคว้าวิจัยใหม่หรือความเห็นทางวิชาการใหม่ๆ • เนื้อหาสาระในวารสาร • บทความบรรณาธิการ • บทความปฐมนิพนธ์ หรือ นิพนธ์ต้นฉบับ(ORIGINAL ARTICLE) • บทความปริทัศน์(REVIEWS)
วารสารวิชาการ แบ่งเป็น • วารสารผ่านการทบทวน(PEER-REVIEWED JOURNAL)ตรวจสอบบทความโดยผู้รู้ซึ่งเป็นบุคคลภายนอก ทั่วไปมีจำนวน 3 คน บทความใช้เวลานานนับเดือน หรืออาจถึงปีนับจากวันที่ บรรณาธิการได้รับบทความ • วารสารทางวิชาการและวิชาชีพที่ไม่มีการตรวจรับคุณภาพเรียกโดยทั่วไปว่า นิตยสารวิชาชีพ(PROFESSINAL MAGAZINE)
ประเภท และ ประโยชน์ของสารสนเทศ
ประเภทของสารสนเทศแบ่งเป็น 3 ประเภท 1.แหล่งของสารสนเทศที่เป็นเนื้อหาความรู้ ระดับตติยภูมิ(TERTIARY DATA SOURCES) 2.แหล่งของสารสนเทศที่เป็นงานวิจัยระดับปฐมภูมิ (PRIMARY DATA SOURCES) 3.แหล่งของสารสนเทศที่ทำหน้าที่เป็นสื่อกลาง ระดับทุติยภูมิ (SECONDARY DATA SOURCES)
ประโยชน์ของสารสนเทศ ฐานข้อมูลสารสนเทศของคณะกรรมการอาหารและยา มีประโยชน์คือ • 1.ผู้บริหารจัดการ ใช้ประกอบการตัดสินใจ • 2.ผู้ให้บริการ เสนอข้อมูลให้ผู้บริโภค • 3.ผู้ประกอบการ เตรียมผลิต หรือนำเข้า และวางจำหน่ายอย่าง เป็นทางการ • 4.ผู้บริโภค ทราบข่าวสารเกี่ยวกับ สิ่งบริโภค และสามารถตรวจสอบผลิตภัณฑ์ที่สงสัย • 5.นักวิชาการ และประชาชนทั่วไป สามารถใช้ข้อมูลที่ต้องการ
การค้นหาคำตอบอย่างมีระบบการค้นหาคำตอบอย่างมีระบบ • 1.ค้นสารสนเทศที่เป็นเนื้อหาความรู้ ระดับตติยภูมิ (TERTIARY DATA SEARCHING) • 2.กำหนดคำสำคัญ และ คำพ้อง(KEYWORD AND SYNONYM FINDING) • 3.ค้นสารสนเทศที่ทำหน้าที่เป็นสื่อกลาง ระดับทุติยภูมิ(SECONDARY DATA SEARCHING) ช่วยค้นบทความปริทัศน์ • 4.ค้นสารสนเทศที่เป็นงานวิจัย ระดับปฐมภูมิ(PRIMARY DATA SEARCHING) • 5.DRUG COMPANY DATA SEARCHING • 6.SEARCH ENGINE SEARCHING เช่น GOOGLE • 7.EXPERT COUNSELLING สอบถามผู้เชี่ยวชาญ
การสืบค้นสารสนเทศที่เป็นเนื้อหาความรู้ ระดับตติยภูมิ (TERTIARY DATA SEARCHING)
1.ค้นสารสนเทศที่เป็นเนื้อหาความรู้1.ค้นสารสนเทศที่เป็นเนื้อหาความรู้ • การค้น พจนานุกรม สารานุกรม • มักเป็นเอกสารอ้างอิง ห้ามนำออกจากห้องสมุด • การค้น มักค้นเรียงตามตัวอักษร • ค้นจาก หนังสือเล่มสุดท้ายของชุด กรณีที่เป็นหนังสือชุด เช่น สารานุกรม
1.การค้นสารสนเทศระดับตติยภูมิ1.การค้นสารสนเทศระดับตติยภูมิ • 1.1.พจนานุกรม,สารานุกรม • Dorland's illustrated medical dictionary • Britanica encyclopedia • ใช้กำหนดความหมายของหัวข้อเรื่องเพื่อทราบขอบเขตของข้อมูลหาคำบัญญัติศัพท์ภาษาไทย ชื่อพ้อง • 1.2.หนังสือ หรือ ตำรา
แหล่งสารสนเทศประเภทหนังสือหรือ ตำรา • 1. หนังสือนำความรู้จากการวิจัย มารวบรวม ประเมินวิจารณ์ เรียบเรียงเขียนเป็นบท แบบกระทัดรัด อ่านง่ายกว่างานวิจัยฉบับจริง • 2.ให้ความรู้ ครอบคลุมเนื้อหากว้าง นำเสนอในรูปแบบที่กระทัดรัดหรือใช้ตรวจสอบความถูกต้องของข้อมูล • 3.เรียงลำดับเนื้อหาเป็นบทมีแบบแผน มีดรรชนีค้นหาสะดวกรวดเร็ว • 4.มีราคาถูก • 5.มีส่วนอ้างอิง (บรรณานุกรม หรือREFERENCES) ซึ่งอาจเป็นงานวิจัย หรือสิ่งพิมพ์ประเภทอื่น
การค้นหนังสือ หรือ ตำราจาก ดรรชนีท้ายเล่มของหนังสือ ดรรชนีหัวเรื่องภาษาไทย กล้วยน้ำว้า 69, 70 กล้วยอ่อง 69 กลัยโคไซด์ 15 กลาก 40, 44, 58
การค้นหนังสือ หรือ ตำรา หรือ หนังสืออ้างอิงจาก ตู้บัตรรายการ
LIBRARY OF CONGRESS Q SCIENCES • QD CHEMISTRY • QK BOTANY • QMHUMAN ANATOMY R MEDICINE • RA PUBLIC ASPECTS OF MEDICINE • RB PATHOLOGY • RM THERAPEUTIC PHARMACOLOGY • RM139PRESCRIPTION WRITING
สารสนเทศทางยา ในตำรา ระดับตติยภูมิ มีตัวอย่างดังนี้ • 1.ชื่อสามัญของยา : Martindale - AHFS - Drug Fact & comparision - MIMS • 2.ประโยชน์ หรือ ข้อบ่งใช้ในการรักษา : Martindale - AHFS - Drug Fact & comparision - MIMS • 3.ขนาดยา และ วิธีใช้ยา : Martindale - AHFS - Drug Fact & comparision - MIMS • 4.อาการข้างเคียง ข้อห้ามใช้ และข้อควรระวัง :AHFS - Drug Fact & comparision - MIMS • 5.ประสิทธิภาพของยา :- Pharmacotherapy -Applied Therapeutic • 6.วิธีการเก็บรักษายา : Drug Fact & comparision
1.3.ข้อมูลสุขภาพใน WEBSITES • WEBSITES ที่เผยแพร่ข้อมูลด้านสุขภาพและการแพทย์ มี 2 ประเภท ได้แก่ • 1.MEDICAL JOURNAL WEBSITES ซึ่งจะมี PEER REVIEWED ช่วยประเมินบทความ เช่น www.bmj.com • 2.COMMERCIAL WEBSITES
การประเมินข้อมูลสุขภาพใน WEBSITESWWW.DRUGDIGEST.GOV และ WWW.HHS.GOV
MEDLINE PLUS- www.medlineplus.gov • From NLM (National Library of Medicine) • Drug & supplement information (หนังสือUSPDI)
MEDICINE INFORMATIONhttp://www.rxlist.com • ประโยชน์ของยา • การดูดซึมยา ระดับยาในเลือด การสลายตัวของยา การออกฤทธิ์ของยา • ข้อควรระวังในการใช้ยา • ข่าวจาก FDA (www.fda.gov ของสหรัฐอเมริกา) ยาลดน้ำมูก ทานร่วมกับยาแก้ไอ ได้หรือไม่
CANCER INFORMATION • National Cancer Institute http://www.cancer.gov • American Cancer Society http://www.cancer.org • University of Pennsylvania’s Oncolink http://www.oncolink.org ญาติคนหนึ่งเป็นมะเร็งปากมดลูก ระยะ 2 หมายถึงอะไร ท่านควรจะได้รับการรักษาอย่างไร?”
LAB TEST INFORMATIONhttp://www.labtestsonline.org ค่า cholesterol 210 หมายถึงอะไร ?
การค้นหาคำตอบอย่างมีระบบการค้นหาคำตอบอย่างมีระบบ • 2.กำหนดคำสำคัญ และ คำพ้อง (KEYWORD AND SYNONYM FINDING) ใช้ค้นสารสนเทศที่ทำหน้าที่เป็นสื่อกลาง • 2.1)Keyword ที่เหมาะสม เช่น Child, Children, Childrens หรือ Child* บางครั้งอาจเป็นชื่อโรค เช่น HeadacheและHeadมีความหมายที่ต่างกัน ใช้คำเชื่อม AND, OR หรือ ‘NOT’ LOGIC มีความเสี่ยงในการตัดข้ออ้างอิงที่เกี่ยวข้องออกไป เช่น Amphetamine in adults มี Key concept terms คือ AmphetamineANDadult ใช้ประเภทกลุ่มของเนื้อเรื่องเช่นแอมเฟตามีนสารกระตุ้นประสาท (Nerve Stimulation) • 2.2)การกำหนดคำพ้องในหนังสือ MARTINDALE