1 / 26

ปัจจัยเสี่ยง เพศ อายุ โรคเดิม ระยะเวลาการใส่ cath การดูแลสาย cath

งานวิจัยเรื่อง ระยะเวลาและอัตราการติดเชื้อในระบบทางเดินปัสสาวะในผู้ป่วยที่คาสายสวนปัสสาวะของโรงพยาบาลพุทธชินราช.

zihna
Télécharger la présentation

ปัจจัยเสี่ยง เพศ อายุ โรคเดิม ระยะเวลาการใส่ cath การดูแลสาย cath

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. งานวิจัยเรื่องระยะเวลาและอัตราการติดเชื้อในระบบทางเดินปัสสาวะในผู้ป่วยที่คาสายสวนปัสสาวะของโรงพยาบาลพุทธชินราชงานวิจัยเรื่องระยะเวลาและอัตราการติดเชื้อในระบบทางเดินปัสสาวะในผู้ป่วยที่คาสายสวนปัสสาวะของโรงพยาบาลพุทธชินราช

  2. ทบทวนวรรณกรรม จาก Principle and practice of infection disease โดย Mandell ( 4 th edition, 1995 ) พบว่า UTI เป็น most common infection ที่พบในโรงพยาบาล ประมาณ 80% ของ nosocromial UTI จะเกิดกับ ผู้ป่วยที่คาสายสวนปัสสาวะ

  3. ปัจจัยเสี่ยงเพศ อายุ โรคเดิม ระยะเวลาการใส่ cathการดูแลสาย cath

  4. @ พบว่า ผู้ป่วย 15 -25 % ขอแงผู้ป่วยโรคทั่วไปที่ได้รับการใส่สายสวนปัสสาวะ ส่วนใหญ่เป็นแบบ short term ( mean = 2 วัน )@ 10 -30 % ของผู้ป่วยที่คาสายสวนปัสสาวะเป็น UTI@ Short term เชื้อที่พบบ่อย คือ E. Coli@ Long term เชื้อที่พบบ่อย คือ P. aeruginosa & P. mirabilis

  5. จาก Color Atlas & Text of Clinical Medicine โดย Jackson ( 2 nd edition , 1997 )พบว่าอุบัติการณ์การเกิด UTI # ในเพศหญิงจะเพิ่มขึ้นตามอายุ # เพศชายพบสูงใน Neonatal periodพบน้อยใน Childhood & Adult # เพศหญิง > เพศชาย # พบมากใน Advancing age

  6. จากการศึกษาระยะเวลาและอัตราการติดเชื้อในระบบทางเดินปัสสาวะในผู้ป่วยที่คาสายสวนปัสสาวะระบบปิดโรงพยาบาลบุรีรัมย์ 2539 พบว่า $ อุบัติการณ์พบร้อยละ 33.18 $ ระยะเวลาเฉลี่ยที่พบ UTI คือ 6.5 วัน $ จำนวนวันที่คาสายสวนปัสสาวะ และมีการเกิด UTI สูงสุด คือ 6 วัน $ อัตราการเกิด UTI ระหว่าง ชาย:หญิง = 1:2

  7. คำถามหลักอุบัติการณ์การติดเชื้อในระบบทางเดินปัสสาวะในผู้ป่วยที่คาสายสวนปัสสาวะระบบปิดเป็นอย่างไรคำถามรอง1. ชนิดของเชื้อที่เป็นสาเหตุที่ทำให้เกิด UTI คืออะไร2. ระยะเวลาเฉลี่ยของการคาสายสวนปัสสาวะต่อ การติดเชื้อ แยกตามเพศอายุเป็นอย่างไร

  8. 3. ความแตกต่างในอุบัติการณ์การเกิด UTI ในแต่ละแผนกเป็นอย่างไร4. โรคเดิมของผู้ป่วยมีความสัมพันธ์กับการเกิด UTI ในผู้ป่วยที่คาสายสวนปัสสาวะหรือไม่5. อัตราการเกิด UTIมีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมการใส่สายสวนของบุคลากรหรือไม่

  9. วัตถุประสงค์ของการวิจัยเพื่อศึกษาระยะเวลาอุบัติการณ์การติดเชื้อและชนิดของเชื้อที่เป็นสาเหตุของ UTIในผู้ป่วยที่คาสายสวนปัสสาวะระบบปิด ของโรงพยาบาลพุทธชินราช

  10. METHODDescriptive Retrospective Studyระยะเวลา กรกฎาคม -สิงหาคม 2543การเลือกกลุ่มตัวอย่างInclusion Criteria1. Pt. ที่คาสายสวนปัสสาวะใน Med , Surg , Obs , Gyne , Ped2. Pt. ที่ไม่ได้รับการ Dx. UTI , UA แรกรับปกติ

  11. Exclusion Criteria 1. Pt.ที่มีไข้ก่อนใส่สายสวนปัสสาวะ 2. Abnormal UA at admissionSampling technique Perposive samplingSample size * Pt. ทุกรายที่มีการคาสายสวนปัสสาวะตั้งแต่ เดือน ก.ค. - ส.ค. 2543

  12. * การสังเกตการทำหัตถการการใส่สายสวนปัสสาวะตามหอผู้ป่วยต่างๆ หอละ 20 ครั้งเกณฑ์การวินิจฉัย UTI ตามเกณฑ์ของ CDC 19881. Temp. > 38 C ร่วมกับ พบเชื้อในปัสสาวะ > 10 52. Temp. > 38 C ร่วมกับ Pyuria ( WBC > 3 / HPF )3. Gram strain positive4.U/C พบเชื้อ

  13. RESULT

  14. Discussionจำนวน Pt. ที่คาสาย cath =446 ราย จำนวน Pt. ที่เกิด UTI = 52 ราย คิดเป็นอุบัติการณ์ร้อยละ 11.66

  15. อุบัติการณ์การติดเชื้อเพศหญิง = 5.6 เพศชาย = 6.05แผนกอายุรกรรม =8.74แผนกศัลยกรรม = 2.91

  16. @ ระยะเวลาเฉลี่ยของการคาสายสวนปัสสาวะ=6.9 วัน@ วันที่เกิด UTI มากที่สุด = วันที่ 3 ของการคา Cath@ ช่วงอายุที่พบ UTI มากที่สุด = 70-79 ปี ( 23.08 %)@ เชื้อที่พบมากที่สุด = E. Coli ( 26.92 % )@ Underlying disease ที่พบมากที่สุด คือ โรคที่เกี่ยวกับ ระบบประสาท ( 34.62 % )

  17. Recomendation

  18. THE END

More Related