1 / 20

การเขียนโปรแกรมกับ Control

การเขียนโปรแกรมกับ Control. Method หมายถึง คำสั่งเฉพาะตัวของ Object ซึ่งมีทั้งที่เป็น Object ใด Object หนึ่งเฉพาะและที่ใช้ได้กับหลาย Object รูปแบบดังนี้ Object.method [defindevalue] โดยที่ Object หมายถึง Object ที่เป็นเจ้าของ Method Method หมายถึง ชื่อ Method ที่ต้องการใช้

Télécharger la présentation

การเขียนโปรแกรมกับ Control

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การเขียนโปรแกรมกับ Control

  2. Methodหมายถึง คำสั่งเฉพาะตัวของ Object ซึ่งมีทั้งที่เป็น Object ใด Object หนึ่งเฉพาะและที่ใช้ได้กับหลาย Object รูปแบบดังนี้ Object.method [defindevalue] โดยที่ Object หมายถึง Object ที่เป็นเจ้าของ Method Method หมายถึง ชื่อ Method ที่ต้องการใช้ Defindevalue หมายถึง ค่าที่ใช้กำหนดคู่กับ Method เพื่อกำหนดการทำงาน แต่ในบาง Method ไม่มีในส่วนนี้

  3. การเขียนโปรแกรมให้กับ Form ประเภทของ Form แบ่งเป็น 3 ประเภท • Single Document Interface (SDI) เป็น Form ที่สามารถวาด Control ต่างๆลงบน Form ได้ • Multiple Document Interface(MDI) เป็น Form ที่ไม่สามารถวาด Control ลงบน Form ได้แต่จะใช้สำหรับเรียก Form อื่นขึ้นมาทำงานแทน สำหรับ Form ที่จะถูกเรียกใช้จะต้องกำหนดให้ Property“MDIChild” ของ Form นั้นมีค่าเป็น True • Form Main จะไม่มีภาพของ Form ประเภทนี้ปรากฏอยู่บนจอภาพ แต่จะอยู่ในรูปของ Procudure แทน

  4. ตัวอย่าง การกำหนด Form • เปิด Project ใหม่แล้ว Add Form2 เข้ามาใน Project • Add MDI Form เข้ามาใน Project โดยเลือกจากเมนู Project และ Add MDI Form ตามลำดับ • กำหนด Property “MDIChild” ของ Form1 และ Form2 ให้มีค่าเป็น True • กำหนดให้ MDIForm1 เป็น Form แรกที่ใช้ในการ Run โดยเลือกจากเมนู Project และ Project Properties • พิมพ์คำสั่งลงใน MDIForm1 ดังนี้…. • ทำการ Run

  5. เหตุการณ์ที่เกี่ยวข้องกับ Form • Load • Activate • Unload • Deactivate

  6. คำสั่งและ Method ในการเปิดและปิด Form • Load และ Show ใช้ในการเรียก Form แต่ต่างกันที่ Load จะอ่าน Form มาเก็บในหน่วยความจำไม่ปรากฏในจอภาพจะเรียกดูโดยใช้ Method “Show” รูปแบบดังนี้ Load object/object.Show[style][,ownerform] โดยที่ Object หมายถึง ชื่อ Form Style หมายถึง รูปแบบการเปิดForm Owneform หมายถึงชื่อย่อที่ใช้แทน Form ที่เปิด

  7. คำสั่งและ Method ในการเปิดและปิด Form • UnLoad และ Hide ใช้ในการยกเลิกการทำงานของ Form รูปแบบ Unload object/object.Hide • End ใช้ยกเลิกการทำงานของ Form แต่จะใช้ใน Form สุดท้ายของการทำงาน เนื่องจากใช้เลิกงานของทุก Form ที่เปิดไว้ ตัวอย่าง การเขียนโปรแกรมให้กับ Form(ทำตามในVB)

  8. การเขียนโปรแกรมกับ TextBox เหตุการณ์ที่เกี่ยวกับ TextBox • Change เป็น Event ที่เกิดขึ้นเมื่อข้อมูลใน TextBoxs มีการเปลี่ยนแปลง • GotFocus เป็น Event ที่เกิดขึ้นเมื่อ TextBox เริ่มทำงาน ซึ่งอาจเกิดขึ้นจากการกด Tab หรือคลิกที่ TextBox • LostFocus เป็น Event ที่เกิดขึ้นเมื่อเลิกงานออกจาก TextBox เช่น กรณีป้อนข้อมูลเสร็จ ตัวอย่าง การเขียนโปรแกรมกับ TextBox (ทำพร้อมกันในVB)

  9. การเขียนโปรแกรมกับ ListBox และ ComboBox

  10. การเขียนโปรแกรมกับ Timer Timer เป็น Control ที่จะทำงานได้จะต้องมีการเขียนโปรแกรมขึ้นควบคุม ซึ่ง Event ที่มักใช้ได้แก่ Event “Timer” ตัวอย่าง การเขียนโปรแกรมกับ Timer

  11. การเขียนโปรแกรมกับ HscrollBar และ VscrollBar ทั้ง 2 Control นี้จะเป็นแถบ Scroll Bar ซึ่งการเลื่อนไปมาจะ ให้ค่าออกมาผ่านทาง Property “Value” โดยที่ค่าที่ได้นี้จะต้อง อยู่ระหว่างค่าที่กำหนดใน Property “Min” และ “Max” ตัวอย่าง การเขียนโปรแกรมกับ HscrollBar และ VscrollBar

  12. การเขียนโปรแกรมกับ DriveListBox, DirListBox และ FileListBox เมื่อเราเลือก Drive ใน DriveListBox จะต้องส่งผลให้ Directory ใน DirListBoxs เปลี่ยนแปลงตาม และเมื่อเลือก Directory ใน DirListBox จะต้องส่งผลให้รายชื่อ File ใน FileListBox เปลี่ยนแปลงตามไปด้วย ตัวอย่างการเขียนโปรแกรมกับ DriveListBox, DirListBox และ FileListBox

  13. การเขียนโปรแกรมกับ Image และ PictureBox ทั้ง 2 Control นี้เราจะต้องระบุชื่อ File รูปภาพใน Property “Picture” ในกรณีที่สามารถเปลี่ยนรูปภาพได้จะต้องใช้ฟังก์ชัน LoadPicture LoadPicture ([Filename],[size],[colordepth],[x,y]) โดยที่ Filename หมายถึงชื่อไฟล์รูปภาพที่ต้องการอ่าน ถ้าไม่ระบุ จะเป็นการลบรูปภาพแทน Size หมายถึง ขนาดของภาพ (ระบุหรือไม่ก็ได้) Colordepth หมายถึงรูปแบบของสีที่ต้องการใช้ X,Y หมายถึง ความยาว (x) และความกว้าง (y) ของภาพ ตัวอย่าง การเขียนโปรแกรมกับ Image และ PictureBox

  14. การเพิ่ม Control เข้ามาไว้ใน ToolBox - เลือกเมนู Project และ Components ตามลำดับ ใน Tab “Controls” นี้จะปรากฎรายชื่อ OCX File ที่เก็บ Control ต่างๆ ไว้ให้เลือกชื่อ File ที่ต้องการ คลิกปุ่ม OK ตัวอย่าง การเรียกใช้ CommonDialog Control แบ่งเป็น -Input Box เป็นจอภาพที่ใช้สำหรับรับข้อมูลเข้ามา เรียกใช้ฟังก์ชัน InputBox(prompt[,title][,default][,xpos][,ypos][,helpfile,context]) โดยที่ prompt หมายถึง ข้อความที่ต้องการให้ปรากฎในจอภาพ title หมายถึง ข้อความที่ต้องการให้ปรากฎในส่วน Title default หมายถึง ค่าdefault ที่ต้องการให้ปรากฎใน TexBox

  15. Xpos,ypos หมายถึงตำแหน่งเริ่มต้นในแนวแกน x และ y ที่ต้องการให้จอภาพปรากฎ helpfile,context หมายถึงชื่อของ Help File ที่ต้องการใช้ ซึ่งเป็นหมายเลขของ Help File นั้น - File เป็นจอภาพที่ใช้สำหรับเปิด File ในการเรียกใช้จะใช้ Method “ShowFonts” - Font เป็นจอภาพที่ใช้สำหรับกำหนด Font ในการเรียกใช้จะใช้ Method “ShowFonts”และต้องกำหนดให้ Property “Flags” มีค่าเท่ากับ 3 - Color เป็นจอภาพที่ใช้สำหรับกำหนดสี ในการเรียกใช้จะใช้ Method “ShowColor” - Print เป็นจอภาพที่ใช้สำหรับเลือก Printer และตั้งค่ากระดาษ

  16. Dialog Box การพัฒนาโปรแกรมโดยทั่วไปมักจะมีการโต้ตอบระหว่างผู้ใช้กับโปรแกรมเพื่อให้ผู้ใช้สามารถทำงานได้ตามต้องการ และเป็นการควบคุมการทำงานของโปรแกรมได้อีกทางหนึ่ Dialog Box ใน Visual Basic มีหลายประเภท ได้แก่ 1. Message Box (MsgBox) 2. Input Box(InputBox) 3. คอนโทรล Common Dialog ได้แก่ Open Dialog, Save As Dialog และ Print Dialog 4. การสร้าง Dialog Box เพื่อใช้งานเอง

  17. MsgBox(Message Box) รูปแบบของ MsgBox ปรกติ MsgBox prompt[,button][,title][,helpfile,context] รูปแบบขของ MsgBox ที่ใช้เป็นฟังก์ชัน Variable = MsgBox(prompt[,button][,title][,helpfile,context]) โดยที่ Prompt เป็นข้อความที่ต้องการแสดงผลภายใน MsgBox Button เป็นการกำหนดชนิดของปุ่มที่ต้องการแสดงภายใน MsgBox ซึ่งสามารถกำหนดให้แสดงปุ่มและไอคอนต่างๆได้โดยการกำหนดผลรวมของค่าของปุ่ม หรือไอคอนต่างๆที่ต้องการแสดงแล้วนำผลรวมที่ได้มาใช้ใน MsgBox ซึ่งมีรายละเอียด ดังนี้

  18. Constant ValueDescription VbOKonly 0 Display OK button only VbOKCancel 1 Display OK,Cancel Buttons VbAbortRetryIgnor 2 Display Abort,Retry,Ignore VbYesNoCancel 3 Display Yes,No,Cancel VbYesNo 4 Display Yes,No Buttons VbRetryCancel 5 Display Retry,Cancel VbCritical 16 Display Critical Message icon VbExclamation 48 Display Warning Message icon VbInformation 64 Display Information Message icon

  19. การใช้คำสั่ง MsgBox ในรูปแบบของฟังก์ชัน จะมีการส่งค่าของปุ่มคำสั่งที่ผู้ใช้เลือกหรือใช้เมาส์คลิก กลับคืนมายังส่วนที่เรียกใช้ฟังก์ชัน MsgBox() ซึ่งค่าของปุ่มและตัวแปรค่าคงที่ต่างๆที่ส่งกลับมา มีค่าดังนี้ Constant Value Description VbOK 1 เมื่อผู้ใช้เลือกปุ่มคำสั่ง OK VbCancel 2 เมื่อผู้ใช้เลือกปุ่มคำสั่ง Cancel VbAbort 3 เมื่อผู้ใช้เลือกปุ่มคำสั่ง Abort VbRetry 4 เมื่อผู้ใช้เลือกปุ่มคำสั่ง Retry VbIgnore 5 เมื่อผู้ใช้เลือกปุ่มคำสั่ง Ignore VbYes 6 เมื่อผู้ใช้เลือกปุ่มคำสั่ง Yes VbNo 7 เมื่อผู้ใช้เลือกปุ่มคำสั่ง No

  20. ตัวอย่าง การใช้งานในรูปแบบของฟังก์ชัน

More Related