1 / 21

Basic Translation 01 – 324 – 205

Basic Translation 01 – 324 – 205. By Aj. Somboon Sammatchani. Chapter 3. Translation Process. Why study translation?. Translation process. Source language (SL) ภาษาไป ภาษาต้นทาง ภาษาต้นฉบับ. Target language (TL) ภาษามา ภาษาปลายทาง ภาษาฉบับแปล (ภาษาเป้าหมาย).

ayame
Télécharger la présentation

Basic Translation 01 – 324 – 205

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. Basic Translation01 – 324 – 205 By Aj. Somboon Sammatchani

  2. Chapter 3 Translation Process

  3. Why study translation?

  4. Translationprocess • Source language (SL) • ภาษาไป • ภาษาต้นทาง • ภาษาต้นฉบับ • Target language (TL) • ภาษามา • ภาษาปลายทาง • ภาษาฉบับแปล (ภาษาเป้าหมาย)

  5. Translation process Source text Target language Re-encoding Decoding Meaning

  6. Good-bye ลาก่อน ถ่ายทอดความหมาย ค้นหาความหมาย คำอำลาเมื่อจากกัน

  7. Model of translation processEugene A. Nida & Charles R. Taber Source Language Text Receptor language Text Restructuring Analysis Transfer

  8. ภาษาฉบับแปล ภาษาต้นฉบับ Good morning อรุณสวัสดิ์ครับ วิเคราะห์ว่าเป็นคำทักทายในตอนเช้า เลือกคำและโครงสร้างที่เหมาะที่สุดในภาษาฉบับแปล เปลี่ยนจากภาษาหนึ่งเป็นอีกภาษาหนึ่ง

  9. Translate into Thai Victims flock to 'Mother Teresa' • ผู้ตกทุกข์พากันหลั่งไหลมาหา"คุณแม่เทเรซา" 1. She's branded an enemy by Burma's military rulers, but to the thousands who flock to her clinic - many of them victims of the country's harsh regime - Dr Cynthia Maung is the gentle healer in a world of torched villages, squalid refugee camps and sweatshops. รัฐบาลทหารของพม่าตราหน้าเธอว่าเป็นศัตรู แต่กับอีกหลายพันหลายหมื่นคนที่หลั่งไหลมาที่คลินิกของเธอ ซึ่งในประดานี้มีไม่น้อยที่ตกเป็นเหยื่อของคณะผู้ปกครองประเทศที่ไร้ความปราณี คุณหมอซินเธีย ม็อง คือแพทย์ผู้อ่อนโยนในโลกของหมู่บ้านที่โดนลอบวางเพลิง ค่ายผู้อพยพที่สกปรกทรุดโทรม และโรงงานนรกทั้งหลาย

  10. 2. After she fled her homeland, the medic known simply as Dr Cynthia set up her clinic in a barn in Mae Sot, sterilising syringes in a rice cooker. Eighteen years later, it is a medical centre that treats more than 50,000 each year. Four Burmese and foreign doctors along with 150 medics and nurses wrestle with the daily influx of patients with nowhere else to turn. Some have reached the Thai border town after journeys of up to two weeks. Others come from within Thailand, where an estimated two million legal and illegal migrants work as cheap workers. หลังจากที่เธอหนีออกจากบ้านเกิดเมืองนอนมา แพทย์หญิงผู้ที่ใครๆรู้จักแต่เพียงว่าชื่อ หมอซินเธีย มาอาศัยยุ้งข้าวที่แม่สอดเปิดเป็นคลินิก ใช้หม้อหุงข้าวเป็นเครื่องมือต้มเข็มฉีดยาเพื่อฆ่าเชื้อ สิบแปดปีต่อมา สถานที่แห่งนี้กลายเป็นศูนย์แพทย์ที่ให้การรักษาคนปีละกว่า 50,000 คน ที่นี่มีแพทย์ชาวพม่าและชาวต่างประเทศรวม 4 คน บุคลากรทางการแพทย์และพยาบาลอีก 150 คน ทั้งหมดนี้ต้องรับมือกับคนไข้ที่ไม่รู้จะหันหน้าไปพึ่งใครและต่างพากันหลั่งไหลมายังศูนย์แพทย์แห่งนี้ทุกวัน บางคนต้องเดินทางถึง 2 สัปดาห์จึงจะมาถึงจังหวัดชายเขตแดนของไทยที่นี่ หลายคนมาจากภายในประเทศไทยซึ่งประมาณว่ามีแรงงานราคาถูกของผู้อพยพทั้งที่ถูกและไม่ถูกกฎหมายราวๆ 2 ล้านคน

  11. 3. Dr Cynthia, a Christian from Burma's Karen ethnic minority, accepts everyone. "We are not only helping people but trying to change the system in Burma, to seek to build a new generation. The vision and mission have become clear - a political solution in Burma," she said, like all opponents of the regime shunning the junta-imposed name for her country - Myanmar. • คุณหมอซินเธียเป็นชาวกระเหรี่ยงคริสต์ซึ่งเป็นชนกลุ่มน้อยในพม่า เธอรักษาให้กับทุกคนโดยไม่เลือกหน้า "เราไม่ได้แค่ช่วยเขาเท่านั้น แต่พยายามจะเปลี่ยนระบบในพม่า หาวิธีสร้างคนรุ่นใหม่ อันเป็นวิสัยทัศน์และภารกิจที่ชัดเจนอยู่แล้วนั่นคือการแก้ปัญหาทางการเมืองในพม่า" เธอกล่าวโดยเลี่ยงไม่ยอมเรียกชื่อประเทศของเธอตามชื่อที่พวกรัฐบาลทหารยัดเยียดให้ นั่นคือเมียนมาร์ เช่นเดียวกับบรรดาคนที่ต่อต้านคณะผู้ปกครองประเทศทั้งหลาย

  12. 4. In the government-run language newspaper The New Light of Myanmar, an article from 2001 singles out Dr Cynthia among "expatriates, absconders, insurgents and opium smuggling terrorists who, after breaching the laws, causing unrest and launching armed insurgencies in Burma, are taking refuge in Thailand and enjoying the aids provided to them by Thailand and the West to cause disturbances in Burma". "เมื่อปี 2001 มีบทความชิ้นหนึ่งใน The New Light of Myanmar ซึ่งเป็นหนังสือพิมพ์ของรัฐบาล กล่าวถึงคุณหมอซินเธียโดยเฉพาะว่าเป็นคนหนึ่งในพวกหัวแข็งที่ก่อการกบฏล้มล้างรัฐบาลและเป็นผู้ก่อการร้ายที่ลักลอบขนฝิ่นไปขายหลังจากที่ทำผิดกฎหมาย สร้างความวุ่นวายและก่อตั้งกลุ่มติดอาวุธที่กระด้างกระเดื่องต่อรัฐบาลพม่าแล้วได้หนีออกจากประเทศลี้ภัยไปอาศัยอยู่ในประเทศไทย รับความช่วยเหลือจากประเทศไทยและประเทศตะวันตกเพื่อให้มาสร้างความวุ่นวายในพม่า

  13. 5. Elsewhere, her renown has spread. The 46-year-old doctor is backed by two dozen foreign aid agencies and had won the Ramon Magsaysay Award, Asia's equivalent of the Nobel Prize. She has beendubbed the "Mother Teresa of Burma". แต่ในที่อื่นๆ ชื่อเสียงของเธอขจรขจายออกไป คุณหมอวัย 46 ปีผู้นี้ได้รับการสนับสนุนจากองค์กรต่างประเทศที่ให้ความช่วยเหลือยี่สิบสี่องค์กร ได้รับรางวัลรามอน แมกไซไซ ซึ่งเป็นรางวัลของเอเชียที่เทียบได้กับรางวัลโนเบล นอกจากนั้นเธอยังได้รับการขนานนามว่า "คุณแม่เทเรซาแห่งพม่า" อีกด้วย

  14. 6. Although she says she isn't directly involved in politics, she echoes Aung San Suu Kyi, Burma's detained pro-democracy leader, in advocating change through peaceful dialogue, and keeps Suu Kyi's portrait on her office wall. • แม้จะกล่าวว่าไม่เกี่ยวข้องกับการเมืองโดยตรง แต่เธอก็เห็นด้วยกับนางอองซาน ซูจี ผู้นำที่ฝักใฝ่ประชาธิปไตย ซึ่งถูกกักบริเวณอยู่ เธอสนับสนุนอย่างเปิดเผยในเรื่องการเปลี่ยนแปลงทางการเมืองด้วยการเจรจาโดยสันติวิธี และที่ผนังห้องทำงานของเธอยังแขวนภาพนางซูจีไว้ด้วย

  15. Translate into English • สุขสันต์วันคริสต์มาสค่ะ ป้าสม • Paa Som, Merry Christmas! • ให้ป้าค่ะ ของขวัญคริสต์มาส • (This is) for you, a Christmas present. • ให้ป้าเหรอ ขอบใจมากจ้ะหนู ขอบใจ • For me? Thank you very much. Thanks! • ขอให้พระรักษาหนูนะจ๊ะ • May Buddha’s goodness protect you.

  16. แต่ป้าไม่มีของขวัญให้หนูเลย • But I don’t have anything to give you. • ไม่เป็นไรค่ะ ป้า หนูเห็นป้าดีใจก็พอแล้วค่ะ • Please don’t worry paa. I only want to see you happy. • ฝรั่งนี่ใจดีจริงๆ นะ • Farang are very kind! • ช่วงนี้เป็นเทศกาลคริสต์มาสค่ะ เรามีประเพณีให้ของขวัญกัน • Now it’s Christmas season, and we have a tradition of gift giving. • ทำไมฝรั่งจึงให้ของขวัญกันในวันคริสต์มาสล่ะหนู • Why do farang give presents at Christmas?

  17. บางคนเชื่อว่า เพื่อระลึกถึงวันประสูติของพระเยซู • Some people believe that it’s to remember the birth of Jesus. • ตอนที่นักปราชญ์สามท่านนำของขวัญสามอย่าง • It’s the part where three wise men brought the three presents, • ไปถวายแด่พระกุมารเยซู • and presented them to infant Jesus • อ้อ! แสดงว่าประเพณีมีมานานแล้วซินะ • I see. That means this tradition came about a long time ago.

  18. ใช่ คงจะอย่างนั้นแหละค่ะ ป้า • Yeah, I would think so, paa. • แล้วนักปราชญ์ถวายอะไรแก่พระกุมารเยซูล่ะหนู • What did the wise men present to infant Jesus? • ทองคำ มดยอบและกำยาน • Gold, myrrh and frankincense. • ป้ารู้จักทองคำ และกำยาน • I know gold and frankincense, • แต่ป้าไม่รู้จักมดยอบ มันคืออะไรจ๊ะ • but I don’t know myrrh. What is it?

  19. เป็นยางไม้ เหมือนกำยาน ใช้ทำเครื่องหอม • It’s a kind of resin, like frankincense. It’s used to make incense. • ในสมัยพระเยซู มดยอบมีค่าสูงมาก • In Jesus’ time, it was extremely valuable. • ทองคำ มดยอบและกำยานจึงเป็นของขวัญชิ้นแรก • So gold, myrrh and frankincense were the first presents. • และคนได้ปฏิบัติตามกันจนเป็นประเพณี • And people kept up the practice until it became a tradition.

  20. ประเพณีนี้ดีนะ ทำให้คนเรารู้จัก”การให้” • This is a good tradition, making people learn the practice of ‘giving’. • ใช่ค่ะ “การให้” ทำให้ทั้งคนให้และคนรับมีความสุข • That’s right, ‘giving’ makes both the givers and receivers happy. • ป้าคิดว่า “การให้” เหมือน "การทำบุญ”ในศาสนาพุทธนะ • I think “giving” is (something) like “merit making” in Buddhism.

More Related